SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 80
Baixar para ler offline
11
การใช้ Social Media สาหรับ
บุคลากรทางการแพทย์
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
รองคณบดีฝ่ายปฏิบัติการ และอาจารย์
ภาควิชาระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
SlideShare.net/Nawanan
16 มกราคม 2563
22
Social Media
• “A group of Internet-based applications that build
on ideological and technological foundations of
Web 2.0, and that allow the creation and
exchange of user-generated content”
(Andreas Kaplan & Michael Haenlein)
Kaplan Andreas M., Haenlein Michael (2010). "Users of the world, unite! The
challenges and opportunities of social media". Business Horizons 53 (1). p. 61.
33
Types of Social Media & Examples
• Collaborative projects (Wikipedia)
• Blogs & microblogs (Twitter)
• Social news networking sites (Digg)
• Content communities (YouTube)
• Social networking sites (Facebook)
• Virtual game-worlds (World of Warcraft)
• Virtual social worlds (Second Life)
Kaplan Andreas M., Haenlein Michael (2010). "Users of the world, unite! The
challenges and opportunities of social media". Business Horizons 53 (1). p. 61.
44
The Age of User-Generated Content
Time’s Person
of the Year 2006:
You
55
Social Media Case Study #1: พฤติกรรมไม่เหมาะสม
Disclaimer (นพ.นวนรรน):
นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้
เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี
เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด
องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย
โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
66
Social Media Case Study #1: พฤติกรรมไม่เหมาะสม
Disclaimer (นพ.นวนรรน):
นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้
เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี
เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด
องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย
โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
77
http://news.mthai.com/hot-news/world-news/453842.html
Social Media Case Study #2: Selfie มีประเด็น
88
http://pantip.com/topic/33678081
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=971229119583658&set=a.37957656541558
6.90794.100000897364762&type=1&theater
Social Media Case Study #3: Selfie มีประเด็น
99
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1429341430
Social Media Case Study #4: ดูหมิ่นผู้ป่วย
1010
Social Media Case Study #5: ละเมิดผู้รับบริการ
Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็น
กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media
เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด
เสียหาย และไม่มีเจตนาสร้างประเด็นทาง
การเมือง
ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล
หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม
เพื่อการทาความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่
การใส่ความว่าผู้นั้นกระทาการใด อันจะทาให้
ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง
โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
1111
Lessons Learned จาก Case Study #5
• องค์กรไม่มีทางห้ามพนักงานไม่ให้โพสต์ข้อมูลได้
– ช่องทางการโพสต์มีมากมาย ไม่มีทางห้ามได้ 100%
– นโยบายที่เหมาะสม คือการกาหนดกรอบไว้ให้พนักงานโพสต์ได้ตามความ
เหมาะสม ภายในกรอบที่กาหนด
• พนักงานย่อมสวมหมวกขององค์กรอยู่เสมอ (แม้จะโพสต์เป็นการส่วนตัว
แต่องค์กรก็เสียหายได้)
– คิดก่อนโพสต์, สร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร
• การรักษาความลับขององค์กรและข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า
• มีนโยบายให้ระบุตัวตนและตาแหน่งให้ชัดเจน
• องค์กรควรยอมรับปัญหาอย่างตรงไปตรงมาและทันท่วงที
http://www.siamintelligence.com/social-media-policy-cathay-pacific-case/
1212
Social Media Case Study #6: Professionalism
1313
http://manager.co.th/Entertainment/View
News.aspx?NewsID=9580000076405
Social Media Case Study #7: ละเมิดผู้รับบริการ
1414
Social Media Case Study #8: Privacy Risks
ข้อความจริง บน
• "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไป
แล้ว มา ฉายรังสีต่อที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้
ฝากขอบคุณอาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่างคนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้
ไป กทม. บอกว่าถ้าพร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ครับ"
1515
Image Source: Facebook Page “ล่า”
Social Media Case Study #9: Professionalism & Privacy
1616
Social Media Case Study #10: ไม่แยก Account
1717
Social Media Case Study #11: ไม่ตรวจสอบข้อมูล
Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็น
กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media
เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด
เสียหาย
ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล
หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม
เพื่อการทาความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่
การใส่ความว่าผู้นั้นกระทาการใด อันจะทาให้
ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง
โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
1818
Social Media Case Study #12: ไม่ตรวจสอบข้อมูล
Source: Facebook Page โหดสัส V2 อ้างอิงภาพจากหน้า 7 นสพ.ไทยรัฐ วันที่ 6 พ.ค. 2557 และ
http://www.reuters.com/article/2013/10/16/us-philippines-quake-idUSBRE99E01R20131016
1919
Social Media Case Study #13: ไม่ตรวจสอบข้อมูล
2020
From a forwarded message in “LINE” in
early July, 2015
Social Media Case Study #14:
ความรับผิดในการให้คาปรึกษาออนไลน์
2121
Social Media Case Study #15:
PR Nightmare & Response
http://new.khaosod.co.th.khaosod.online/dek3/win.html (อันตราย! ไม่ควรเข้าเว็บนี้)
2222
Social Media Case Study #15:
PR Nightmare & Response
2323
Social Media Case Study #16: Digital Marketing
2424
Social Media Case Study #17: Relevance?
2525
Social Media Case Study #18: Organizations as
Facebook Profile (Rather than Facebook Page)
2626
Social Media Case Study #18: Organizations as
Facebook Profile (Rather than Facebook Page)
• เพศ, วันเกิด, Relationship status เป็นคุณสมบัติของ
“คน” ไม่ใช่ “หน่วยงาน”
• การ like, share, comment ของ profile ในชื่อหน่วยงาน
อาจถูกตีความเป็นจุดยืนทางการ (official position) หรือ
endorsement ของหน่วยงานต่อเรื่องนั้นๆ ได้
• เกิดการแสดงตนผิด (misrepresentation) หรือเสีย
ภาพพจน์/credibility ของหน่วยงานได้
2727http://c2.likes-media.com/img/c88376b3e79ac46a289879d2178e9b41.600x.jpg
Social Media Case Study #19: Security Awareness
2828
โจทย์สาหรับ รพ.: การถ่ายภาพหรือบันทึกเสียงใน รพ.
2929
http://www.thairath.co.th/content/413776
Social Media Best Practice Resources
3030
Maslow's Hierarchy of Needs
Image Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Maslow's_hierarchy_of_needs
3131
Why People Use Social Media?
• To seek & to share information/knowledge
• To seek & to share valued opinion
• To seek & to give friendship/relationship
• To seek & to give mental support, respect, love,
acceptance
• In simplest terms: To “socialize”
3232
Some Social Media in Healthcare: PatientsLikeMe
PatientsLikeMe.com
3333
Why People Use Social Media in Healthcare?
• To seek & to share health information/knowledge
– Information asymmetry in healthcare
– Information could be general or personalized
• To seek & to share health-related valued opinion
• To seek & to give friendship/relationship
• To seek & to give mental support, respect, love,
acceptance during medical journeys
• To consult/socialize/give support among colleagues
3434
แล้วเราควรใช้ Social media อย่างไร?
3535
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ
• พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
• มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
ผู้ใดจะนาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหาย
ไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของ
บุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่า
ด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร
เกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
3636
ประมวลกฎหมายอาญา
• มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้า
พนักงานผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คน
จาหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ
หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว
เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้ง
ปรับ
• ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของ
ผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิด
ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
3737
คาประกาศสิทธิผู้ป่วย
• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ
พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้
1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ
การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย
3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ
ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จาเป็น
4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจาเป็นแก่กรณี โดยไม่คานึงว่า
ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่
5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน
6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้
7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่
ตามกฎหมาย
8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทาวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ
ส่วนตัวของบุคคลอื่น
10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง
ได้
7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่
จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่
ตามกฎหมาย
3838
คาประกาศสิทธิและข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วย
3939
ตัวอย่างนโยบายด้าน Social Media ขององค์กร/มหาวิทยาลัย
4040
• ข้อความบน Social Network สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ
ผู้เผยแพร่ต้องรับผิดชอบ ทั้งทางสังคมและกฎหมาย และอาจ
ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง การทางาน และวิชาชีพของตน
• ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการเผยแพร่ประเด็นที่ Controversial
เช่น การเมือง ศาสนา
• ไม่ได้ห้าม แต่ให้ระวัง เพราะอาจส่งผลลบต่อตนหรือองค์กรได้
MU Social Network Policy
4141
• ความรับผิดชอบทางกฎหมาย
– ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดฐานหมิ่นประมาท
– พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
– ข้อบังคับสภาวิชาชีพ เกี่ยวกับจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยจรรยาบรรณของบุคลากรและ
นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล
– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยวินัยนักศึกษา
MU Social Network Policy
4242
• ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น อ้างถึงแหล่งที่มาเสมอ
(Plagiarism = การนาผลงานของคนอื่นมานาเสนอเสมือนหนึ่ง
เป็นผลงานของตนเอง)
• แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกับหน้าที่การงาน/การเรียน
– แยก Account ของหน่วยงาน/องค์กร ออกจาก Account บุคคล
– Facebook Profile (ส่วนตัว) vs. Facebook Page (องค์กร/หน่วยงาน)
• ในการโพสต์ที่อาจเข้าใจผิดได้ว่าเป็นความเห็นจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ให้
ระบุ Disclaimer เสมอว่าเป็นความเห็นส่วนตัว
MU Social Network Policy
4343
• ห้ามเผยแพร่ข้อมูล sensitive ที่ใช้ภายในมหาวิทยาลัยก่อนได้รับอนุญาต
• บุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ให้บริการสุขภาพ
– ระวังการใช้ Social Network ในการปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย (ความลับผู้ป่วย และการ
แยกแยะเรื่องส่วนตัวจากหน้าที่การงาน)
– ปฏิบัติตามจริยธรรมของวิชาชีพ
– ระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว (Privacy) และความลับของข้อมูลผู้ป่วย
– การเผยแพร่ข้อมูล/ภาพผู้ป่วย เพื่อการศึกษา ต้องขออนุญาตผู้ป่วยก่อนเสมอ และลบ
ข้อมูลที่เป็น identifiers ทั้งหมด (เช่น ชื่อ, HN, ภาพใบหน้า หรือ ID อื่นๆ) ยกเว้น
ผู้ป่วยอนุญาต (รวมถึงกรณีการโพสต์ใน closed groups ด้วย)
• ตั้งค่า Privacy Settings ให้เหมาะสม
MU Social Network Policy
4444
ตัวอย่างนโยบายด้านการให้ข้อมูลผ่านสื่อของวิชาชีพ
4545
Example Professional Code of Conduct
4646
Example Professional Code of Conduct
4747
จัดทาโดย นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 24 มี.ค. 2560
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
Social Media Best Practices
4848
• หลักการเคารพกฎหมาย
• หลักการเคารพในจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
• หลักการเคารพในกฎระเบียบและนโยบายขององค์กร
• หลักการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และการหลีกเลี่ยง
การทาให้ผู้อื่นเสียหาย
• หลักการรายงานพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
• หลักเสรีภาพทางวิชาการ
Social Media Guidelines: หลักทั่วไป
4949
• หลักการป้องกันอันตรายต่อผู้อื่น (Protection
from Harms)
• หลักการมุ่งประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นสาคัญ
(Beneficence)
Social Media Guidelines:
หลักจริยธรรมทั่วไปของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
5050
• หลักการรักษา Professionalism ตลอดเวลา
• หลัก “คิดก่อนโพสต์”
• หลักการมีพฤติกรรมออนไลน์อย่างเหมาะสม
• หลักการตั้งค่า Privacy อย่างเหมาะสมและแยก
เรื่องส่วนตัวกับวิชาชีพ
• หลักการตรวจสอบเนื้อหาออนไลน์ของตนอยู่เสมอ
Social Media Guidelines:
ความเป็นวิชาชีพ (Professionalism)
5151
• หลักการกาหนดขอบเขตความเป็นวิชาชีพกับ
ผู้ป่วย (Professional Boundaries with
Patients)
• หลักการกาหนดขอบเขตความเป็นวิชาชีพกับผู้อื่น
Social Media Guidelines:
ความเป็นวิชาชีพ (Professionalism)
5252
• หลักการรักษา Security และ Privacy ของข้อมูล
ผู้ป่วย
• หลัก Informed Consent (สาหรับการเก็บ
รวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของ
ผู้ป่วย)
Social Media Guidelines:
การคุ้มครอง Patient Privacy
5353
• หลักการไม่โฆษณา
• หลักการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน
(Full Disclosure)
• หลักการระบุวิชาชีพและความรู้ความชานาญของตน
(Self-Identification)
• หลักการหลีกเลี่ยงการสาคัญผิดว่าเป็นผู้แทนองค์กร
(Avoiding Misrepresentation)
• หลัก “เช็คก่อนแชร์”
Social Media Guidelines: Integrity
(การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม)
5454
• หลักการปฏิบัติด้วยความระมัดระวังในการให้
คาปรึกษาออนไลน์
• หลักการบันทึกการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
หน้าที่ในวิชาชีพ
Social Media Guidelines:
การให้คาปรึกษาออนไลน์ (Online Consultation)
5555
S: Social Media and Communication
S 1 Security and Privacy of Information
S 2 Social Media and Communication
Professionalism
Personnel Safety Goals: S in SIMPLE
5656
S 2: Social Media: Why?
• การใช้งานและการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)
และสื่ออื่นๆ อย่างไม่เหมาะสมหรือไม่เป็นมืออาชีพ
(Unprofessional Conduct) อาจทาให้บุคลากรทางการแพทย์
ถูกดาเนินการทางจริยธรรมหรือทางวินัย และอาจสร้างความ
เสียหายต่อตนเอง สถานพยาบาล วิชาชีพ หรือเกิดผลกระทบต่อ
ผู้ป่วยได้
5757
S 2: Social Media: Process
• สถานพยาบาลมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media
และสื่ออื่นๆ ของบุคลากร ทั้งที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่มีกฎหมาย
ควบคุม และบุคลากรอื่นของสถานพยาบาล (ทั้งที่ใช้งานในนาม
ส่วนตัวหรือในนามองค์กร) ที่เหมาะสมกับบริบทขององค์กร โดย
อาจนาแนวทางปฏิบัติที่เป็น Best Practices มาปรับใช้
• สถานพยาบาลมีการสื่อสารทาความเข้าใจแนวทางปฏิบัติดังกล่าว
ภายในองค์กรอย่างทั่วถึง
5858
S 2: Social Media: Process
แนวทางปฏิบัติ ควรครอบคลุมถึง
• ความเชื่อมโยงกับจริยธรรมวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
• การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และหลีกเลี่ยง Cyber-bullying
• Appropriate Conduct
• การคานึงถึงความปลอดภัย (Safety) และ Privacy ของบุคคลอื่น โดยเฉพาะผู้ป่วย
• การห้ามบุคลากรทาการโฆษณาที่ผิดกฎหมายหรือจริยธรรม
• แนวทางการใช้งานที่ไม่เป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือเป็นอันตราย เช่น ความรู้
ทางการแพทย์ที่ผิดๆ
• ขอบเขตและแนวทางการใช้งานเพื่อการปรึกษา ให้คาปรึกษา ติดตาม สั่งการรักษา หรือ
ให้คาแนะนาเกี่ยวกับสุขภาพ (Online Consultation) ไม่ว่าจะระหว่างบุคลากรด้วย
กันเอง หรือกับผู้ป่วยหรือบุคคลภายนอก ที่เหมาะสมขององค์กร
5959
S 2: Social Media: Process
สถานพยาบาลมีการเฝ้าระวังและกระบวนการสื่อสารใน
ภาวะวิกฤต (Crisis Communication) ซึ่งรวมถึงการ
ตอบสนองในกรณีที่มีเหตุที่อาจส่งผลกระทบด้านลบต่อ
ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และความเชื่อมั่นขององค์กรในวงกว้าง
ที่เหมาะสม คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ
6060
S 2: Social Media: Indicators
• มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media
• สัดส่วนของบุคลากรที่มีความตระหนักต่อการใช้งานสื่อ
สังคมออนไลน์และสื่อต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีความ
เป็นมืออาชีพ
• จานวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านการใช้งานสื่อสังคม
ออนไลน์ที่ส่งผลกระทบต่อบุคลากรหรือองค์กรที่สามารถ
ป้องกันได้
6161
S 2: Social Media: Pitfalls
• แนวทางปฏิบัติไม่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร หรือมีความยุ่งยากซับซ้อนจนเกินไป
• แนวทางปฏิบัติจากัดสิทธิเสรีภาพของบุคลากรจนเกินไป หรือมีปัญหาการยอมรับโดย
บุคลากร
• องค์กรเองไม่เข้าใจธรรมชาติของสื่อสังคมออนไลน์ เช่น สร้างปัญหาความสัมพันธ์กับ
ผู้ป่วยมากกว่าเดิม ละเมิดสิทธิของผู้ป่วย หรือส่งผลเสียต่อความเชื่อมั่นต่อองค์กรเอง
• องค์กรมุ่งเน้นแต่เรื่องการถ่ายภาพหรืออัดเสียงในโรงพยาบาลหรือการโพสต์ข้อความบน
สื่อสังคมออนไลน์ของผู้ป่วยและญาติมากจนเกินไป จนเป็นการละเมิดสิทธิของผู้ป่วยเกิน
สมควรหรือสร้างปัญหาความสัมพันธ์กับผู้ป่วย แต่ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการใช้งานสื่อ
สังคมออนไลน์ของบุคลากรที่เป็นปัญหาเสียเองและส่งผลกระทบด้านลบต่อองค์กรและ
บุคลากรเองด้วย
• การเฝ้าระวัง ติดตาม หรือแก้ไขปัญหาบนสื่อสังคมออนไลน์ขององค์กรไม่ทันท่วงทีหรือ
ขาดประสิทธิภาพ
6262
Crisis Communication Strategies
More Strategies: Silence, Combinations
6363
https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1708103
Social Media Case Study
6464
Discussion
• ที่มาและรายละเอียดของดราม่านี้คืออะไร
• หากเราเป็นผู้โดยสารในสายการบินนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร
• ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร
• หากเราเป็นผู้โดยสาร เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร
จากการบินไทย
• หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง
อย่างไรจากการบินไทย
6565
Social Media Case Study
https://www.matichon.co.th/economy/news_1185531
6666
Social Media Case Study
https://www.facebook.com/ThaiAirways.TH/photos/a.629441047162126/1652336818205872/
6767
Discussion
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ
ดราม่านี้
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราคาดหวังการ
ตอบสนองของผู้บริหารการบินไทยอย่างไร
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะแสดงออกอย่างไร
ต่อดราม่านี้
6868
Social Media Case Study
6969
Social Media Case Study
7070
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_1721068
Social Media Case Study
7171
Discussion
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ
การแสดงออกของเพื่อนนักบินนี้
• หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราจะรู้สึกอย่างไรต่อการ
แสดงออกของนักบินการบินไทย
• หากเราเป็นพนักงานอื่นๆ ของการบินไทย เราจะรู้สึก
อย่างไรต่อการแสดงออกของนักบิน
7272
http://www.komchadluek.net/news/local/348788
Social Media Case Study
7373
http://www.komchadluek.net/news/local/348788
Social Media Case Study
• เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 61 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีหญิงสาวเกิดอาการปวดหัวอย่างหนัก
ไปที่โรงพยาบาลกลางดึก แต่เจอไล่กลับให้มาใหม่พรุ่งนี้ โดยแพทย์บอกว่า รพ.นะ
ไม่ใช่เซเว่นฯ นั้น กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อเวลา 21.00 น. วันที่ 18 ต.ค. ที่ผ่านมา
• น.ส.เยาวลักษณ์ (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 24 ปี ระบุว่า ตนเองมีอาการปวดศีรษะ
มาก จึงไปซื้อยาจากร้านขายยามากิน แต่อาการไม่ดีขึ้น จึงเดินทางไปโรงพยาบาล
อรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว แต่พอตนเองถูกส่งเข้าไปพบแพทย์ในห้อง
ฉุกเฉิน ปรากฏว่า ถูกแพทย์เวรซึ่งเป็นผู้ชายไล่และต่อว่า ว่านี่มันโรงพยาบาลนะ
ไม่ใช่เซเว่นฯ นึกจะมาเวลาไหนก็ได้ ให้มาใหม่ในวันพรุ่งนี้
• น.ส.เยาวลักษณ์ ระบุด้วยว่า ด้วยที่ตนเองมีอาการปวดหัวมาก เมื่อมาเจอหมอไล่อีก
จึงไม่รู้จะไปทางไหน ปวดหัวก็ปวด เสียความรู้สึกมาก ซึ่งหลังจากถูกไล่ก็มีพยาบาล
ได้ออกมาพูดคุยสอบถามเนื่องจากเห็นว่ามีอาการหนักและจะให้เข้าไปตรวจและขอ
คุยกับแพทย์ แต่สุดท้ายก็ไม่ได้มีการตรวจแต่อย่างใด
7474
Discussion
• หากเราเป็นผู้ป่วยคนนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร
• ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร
• หากเราเป็นผู้ป่วย เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร
จากโรงพยาบาล
• หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง
อย่างไรจากโรงพยาบาล
7575
Discussion
• หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ
ดราม่านี้
• หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราคาดหวังการตอบสนอง
ของผู้บริหารโรงพยาบาลอย่างไร
• หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะแสดงออกอย่างไรต่อ
ดราม่านี้
7676
Discussion
• ถ้าแพทย์/บุคลากรทางการแพทย์แสดงความเห็นต่อดราม่านี้ ใน
ทานองบ่น/ตัดพ้อว่างานเยอะ เหนื่อย เครียด ทางานหนัก ไม่ได้
นอน ค่าตอบแทนน้อย คนไข้คาดหวังสูง เราในฐานะบุคลากรทาง
การแพทย์ด้วยกันจะรู้สึกอย่างไร
• แล้วคิดว่า ผู้ป่วย/ประชาชน จะรู้สึกต่อความเห็นดังกล่าวอย่างไร
7777
http://www.komchadluek.net/news/local/348788
Social Media Case Study
• ล่าสุด ภายหลังผู้บริหารโรงพยาบาลอรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ทราบเรื่องตั้งแต่หลังเกิดเหตุการณ์เมื่อ
เวลา 21.00 น. โดยช่วงเช้าวันนี้ (19 ต.ค.) ทีมงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลคลองน้าใส ได้ลงไปที่บ้าน
ของผู้ป่วยหญิงคนดังกล่าว เพื่อดูแลสภาพจิตใจ อาการของโรค เพื่อทาความเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เบื้องต้น ทราบ
ว่าป่วยเป็นไข้หวัดธรรมดา
• ต่อมาเวลา 10.00 น. นายสวนิต สุริยกุล ณ อยุธยา นายอาเภออรัญประเทศ พร้อมด้วย นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รอง
ผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ นายอดุลย์ หาญชิงชัย สาธารณสุขอาเภออรัญประเทศ และ
คณะ ได้ลงพื้นที่เพื่อสอบถามข้อเท็จจริง
• นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ทางโรงพยาบาลยอมรับว่าได้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้นจริง โดยเมื่อคืนวันที่ 18 ต.ค. เวลาประมาณ 21.00 น. ที่ห้อง
ฉุกเฉินของโรงพยาบาลมีคนไข้วิกฤติฉุกเฉินมารับบริการหลายราย เช่น คนไข้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง2 ราย
ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ , คนไข้โรคหัวใจขาดเลือด 1 ราย , คนไข้ป่วยกระดูกต้นคอทับเส้นประสาทจนเป็นอัมพาตทั้งตัว
1 ราย คนไข้มีแผลเปิด 2 ราย และคนไข้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เร่งด่วนแต่ไม่วิกฤติ 4 - 5 ราย
• นายแพทย์สรวิศ กล่าวอีกว่า ขณะเกิดเหตุมีแพทย์เวรปฏิบัติงาน 2 คน ซึ่งกาลังวุ่นกับการให้การรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินอยู่
ในขณะที่มีผู้ป่วยหญิงรายที่เป็นข่าวเข้ามารักษาด้วยอาการปวดศีรษะ ไอมา 2 - 3 วัน ทาให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น
และจากการสอบถามทีหลังพบว่า ก่อนหน้านี้แพทย์เวรมีอาการป่วยอยู่ ประกอบกับกาลังเครียดกับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มา
รับบริการพร้อมกันจานวนมาก เลยทาให้ปฏิบัติงานไม่เต็มประสิทธิภาพและเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น
7878
Exercise: Social Media Case Study
7979
• ใช้ social media อย่างเหมาะสมและรับผิดชอบต่อตนเอง
และสังคม ถูกต้องตามหลักจริยธรรมของวิชาชีพ
• คานึงถึงมุมมองที่แตกต่างจากจุดยืนของเราด้วย
(ต้อง “เข้าใจ” จึงจะ “เข้าถึง” และอยู่ร่วมกันได้)
• การจัดการ Crisis Communication ใน Social Media
อย่างเหมาะสม มีความสาคัญต่อ Outcome ของ Crisis
สรุป
8080
คาถาม?

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...
เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...
เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Mais procurados (20)

Social Media for Dental Students (June 15, 2016)
Social Media for Dental Students (June 15, 2016)Social Media for Dental Students (June 15, 2016)
Social Media for Dental Students (June 15, 2016)
 
Social Media & Health Literacy: A Policy Brief for Thailand's National Reform...
Social Media & Health Literacy: A Policy Brief for Thailand's National Reform...Social Media & Health Literacy: A Policy Brief for Thailand's National Reform...
Social Media & Health Literacy: A Policy Brief for Thailand's National Reform...
 
Health Information Exchange & Interoperability for Better Health Outcomes, an...
Health Information Exchange & Interoperability for Better Health Outcomes, an...Health Information Exchange & Interoperability for Better Health Outcomes, an...
Health Information Exchange & Interoperability for Better Health Outcomes, an...
 
Social Media in Healthcare
Social Media in HealthcareSocial Media in Healthcare
Social Media in Healthcare
 
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
ความเห็นทางวิชาการต่อประเด็นเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Telemedicine (July 2...
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
Social Media for Dental Professionals (September 3, 2021)
 
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareInformation Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
 
Health IT, Digital Transformation and Security/Privacy for Hospital Executive...
Health IT, Digital Transformation and Security/Privacy for Hospital Executive...Health IT, Digital Transformation and Security/Privacy for Hospital Executive...
Health IT, Digital Transformation and Security/Privacy for Hospital Executive...
 
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
 
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
 
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
 
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
 
Social Networking in Healthcare
Social Networking in HealthcareSocial Networking in Healthcare
Social Networking in Healthcare
 
Research Agenda for Thailand's eHealth
Research Agenda for Thailand's eHealthResearch Agenda for Thailand's eHealth
Research Agenda for Thailand's eHealth
 
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
 
เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...
เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...
เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อ...
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 
Challenges of Smart Healthcare Transformation (December 21, 2018)
Challenges of Smart Healthcare Transformation (December 21, 2018)Challenges of Smart Healthcare Transformation (December 21, 2018)
Challenges of Smart Healthcare Transformation (December 21, 2018)
 

Semelhante a Social Media for Medical Professionals (January 16, 2020)

Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or ThreatsSocial Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Semelhante a Social Media for Medical Professionals (January 16, 2020) (20)

Social Media Communication (July 26, 2019)
Social Media Communication (July 26, 2019)Social Media Communication (July 26, 2019)
Social Media Communication (July 26, 2019)
 
Physicians & Social Media in the 4.0 Era
Physicians & Social Media in the 4.0 EraPhysicians & Social Media in the 4.0 Era
Physicians & Social Media in the 4.0 Era
 
IT and Social Network Ethical Awareness and AI (April 22, 2019)
IT and Social Network Ethical Awareness and AI (April 22, 2019)IT and Social Network Ethical Awareness and AI (April 22, 2019)
IT and Social Network Ethical Awareness and AI (April 22, 2019)
 
Social Media in Health: Opportunities and Threats (Suan Dusit, July 9, 2015)
Social Media in Health: Opportunities and Threats (Suan Dusit, July 9, 2015)Social Media in Health: Opportunities and Threats (Suan Dusit, July 9, 2015)
Social Media in Health: Opportunities and Threats (Suan Dusit, July 9, 2015)
 
Social Media in Health: Help or Harm?
Social Media in Health: Help or Harm?Social Media in Health: Help or Harm?
Social Media in Health: Help or Harm?
 
Social Media & Everyday Life
Social Media & Everyday LifeSocial Media & Everyday Life
Social Media & Everyday Life
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
 
Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or ThreatsSocial Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
 
Ethical, Legal and Social Issues of IT Use (July 5, 2017)
Ethical, Legal and Social Issues of IT Use (July 5, 2017)Ethical, Legal and Social Issues of IT Use (July 5, 2017)
Ethical, Legal and Social Issues of IT Use (July 5, 2017)
 
Social Media in Health: Opportunities and Threats (June 24, 2015)
Social Media in Health: Opportunities and Threats (June 24, 2015)Social Media in Health: Opportunities and Threats (June 24, 2015)
Social Media in Health: Opportunities and Threats (June 24, 2015)
 
Social Media and Threats to Patient Data Privacy
Social Media and Threats to Patient Data PrivacySocial Media and Threats to Patient Data Privacy
Social Media and Threats to Patient Data Privacy
 
Social Media Threats to Patient Privacy and Hospitals
Social Media Threats to Patient Privacy and HospitalsSocial Media Threats to Patient Privacy and Hospitals
Social Media Threats to Patient Privacy and Hospitals
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Social Media Conflict: Ethical Concern (July 15, 2019)
Social Media Conflict: Ethical Concern (July 15, 2019)Social Media Conflict: Ethical Concern (July 15, 2019)
Social Media Conflict: Ethical Concern (July 15, 2019)
 
Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)
Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)
Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)
 
Social Media Guidelines for Healthcare Practitioners
Social Media Guidelines for Healthcare PractitionersSocial Media Guidelines for Healthcare Practitioners
Social Media Guidelines for Healthcare Practitioners
 
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
 
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social MediaSIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
 
Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...
Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...
Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...
 
Social Media and Corporate Communication
Social Media and Corporate CommunicationSocial Media and Corporate Communication
Social Media and Corporate Communication
 

Mais de Nawanan Theera-Ampornpunt

Mais de Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

Social Media for Medical Professionals (January 16, 2020)

  • 1. 11 การใช้ Social Media สาหรับ บุคลากรทางการแพทย์ นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ รองคณบดีฝ่ายปฏิบัติการ และอาจารย์ ภาควิชาระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล SlideShare.net/Nawanan 16 มกราคม 2563
  • 2. 22 Social Media • “A group of Internet-based applications that build on ideological and technological foundations of Web 2.0, and that allow the creation and exchange of user-generated content” (Andreas Kaplan & Michael Haenlein) Kaplan Andreas M., Haenlein Michael (2010). "Users of the world, unite! The challenges and opportunities of social media". Business Horizons 53 (1). p. 61.
  • 3. 33 Types of Social Media & Examples • Collaborative projects (Wikipedia) • Blogs & microblogs (Twitter) • Social news networking sites (Digg) • Content communities (YouTube) • Social networking sites (Facebook) • Virtual game-worlds (World of Warcraft) • Virtual social worlds (Second Life) Kaplan Andreas M., Haenlein Michael (2010). "Users of the world, unite! The challenges and opportunities of social media". Business Horizons 53 (1). p. 61.
  • 4. 44 The Age of User-Generated Content Time’s Person of the Year 2006: You
  • 5. 55 Social Media Case Study #1: พฤติกรรมไม่เหมาะสม Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
  • 6. 66 Social Media Case Study #1: พฤติกรรมไม่เหมาะสม Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
  • 9. 99 http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1429341430 Social Media Case Study #4: ดูหมิ่นผู้ป่วย
  • 10. 1010 Social Media Case Study #5: ละเมิดผู้รับบริการ Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็น กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด เสียหาย และไม่มีเจตนาสร้างประเด็นทาง การเมือง ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม เพื่อการทาความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่ การใส่ความว่าผู้นั้นกระทาการใด อันจะทาให้ ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
  • 11. 1111 Lessons Learned จาก Case Study #5 • องค์กรไม่มีทางห้ามพนักงานไม่ให้โพสต์ข้อมูลได้ – ช่องทางการโพสต์มีมากมาย ไม่มีทางห้ามได้ 100% – นโยบายที่เหมาะสม คือการกาหนดกรอบไว้ให้พนักงานโพสต์ได้ตามความ เหมาะสม ภายในกรอบที่กาหนด • พนักงานย่อมสวมหมวกขององค์กรอยู่เสมอ (แม้จะโพสต์เป็นการส่วนตัว แต่องค์กรก็เสียหายได้) – คิดก่อนโพสต์, สร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร • การรักษาความลับขององค์กรและข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า • มีนโยบายให้ระบุตัวตนและตาแหน่งให้ชัดเจน • องค์กรควรยอมรับปัญหาอย่างตรงไปตรงมาและทันท่วงที http://www.siamintelligence.com/social-media-policy-cathay-pacific-case/
  • 12. 1212 Social Media Case Study #6: Professionalism
  • 13. 1313 http://manager.co.th/Entertainment/View News.aspx?NewsID=9580000076405 Social Media Case Study #7: ละเมิดผู้รับบริการ
  • 14. 1414 Social Media Case Study #8: Privacy Risks ข้อความจริง บน • "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไป แล้ว มา ฉายรังสีต่อที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้ ฝากขอบคุณอาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่างคนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้ ไป กทม. บอกว่าถ้าพร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ครับ"
  • 15. 1515 Image Source: Facebook Page “ล่า” Social Media Case Study #9: Professionalism & Privacy
  • 16. 1616 Social Media Case Study #10: ไม่แยก Account
  • 17. 1717 Social Media Case Study #11: ไม่ตรวจสอบข้อมูล Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็น กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด เสียหาย ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม เพื่อการทาความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่ การใส่ความว่าผู้นั้นกระทาการใด อันจะทาให้ ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
  • 18. 1818 Social Media Case Study #12: ไม่ตรวจสอบข้อมูล Source: Facebook Page โหดสัส V2 อ้างอิงภาพจากหน้า 7 นสพ.ไทยรัฐ วันที่ 6 พ.ค. 2557 และ http://www.reuters.com/article/2013/10/16/us-philippines-quake-idUSBRE99E01R20131016
  • 19. 1919 Social Media Case Study #13: ไม่ตรวจสอบข้อมูล
  • 20. 2020 From a forwarded message in “LINE” in early July, 2015 Social Media Case Study #14: ความรับผิดในการให้คาปรึกษาออนไลน์
  • 21. 2121 Social Media Case Study #15: PR Nightmare & Response http://new.khaosod.co.th.khaosod.online/dek3/win.html (อันตราย! ไม่ควรเข้าเว็บนี้)
  • 22. 2222 Social Media Case Study #15: PR Nightmare & Response
  • 23. 2323 Social Media Case Study #16: Digital Marketing
  • 24. 2424 Social Media Case Study #17: Relevance?
  • 25. 2525 Social Media Case Study #18: Organizations as Facebook Profile (Rather than Facebook Page)
  • 26. 2626 Social Media Case Study #18: Organizations as Facebook Profile (Rather than Facebook Page) • เพศ, วันเกิด, Relationship status เป็นคุณสมบัติของ “คน” ไม่ใช่ “หน่วยงาน” • การ like, share, comment ของ profile ในชื่อหน่วยงาน อาจถูกตีความเป็นจุดยืนทางการ (official position) หรือ endorsement ของหน่วยงานต่อเรื่องนั้นๆ ได้ • เกิดการแสดงตนผิด (misrepresentation) หรือเสีย ภาพพจน์/credibility ของหน่วยงานได้
  • 30. 3030 Maslow's Hierarchy of Needs Image Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Maslow's_hierarchy_of_needs
  • 31. 3131 Why People Use Social Media? • To seek & to share information/knowledge • To seek & to share valued opinion • To seek & to give friendship/relationship • To seek & to give mental support, respect, love, acceptance • In simplest terms: To “socialize”
  • 32. 3232 Some Social Media in Healthcare: PatientsLikeMe PatientsLikeMe.com
  • 33. 3333 Why People Use Social Media in Healthcare? • To seek & to share health information/knowledge – Information asymmetry in healthcare – Information could be general or personalized • To seek & to share health-related valued opinion • To seek & to give friendship/relationship • To seek & to give mental support, respect, love, acceptance during medical journeys • To consult/socialize/give support among colleagues
  • 35. 3535 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ • พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 • มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหาย ไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของ บุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่า ด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร เกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
  • 36. 3636 ประมวลกฎหมายอาญา • มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้า พนักงานผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คน จาหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ • ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของ ผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิด ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
  • 37. 3737 คาประกาศสิทธิผู้ป่วย • เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย 3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จาเป็น 4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจาเป็นแก่กรณี โดยไม่คานึงว่า ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่ 5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน 6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมาย 8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทาวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ 9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ ส่วนตัวของบุคคลอื่น 10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง ได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่ จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมาย
  • 39. 3939 ตัวอย่างนโยบายด้าน Social Media ขององค์กร/มหาวิทยาลัย
  • 40. 4040 • ข้อความบน Social Network สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ ผู้เผยแพร่ต้องรับผิดชอบ ทั้งทางสังคมและกฎหมาย และอาจ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง การทางาน และวิชาชีพของตน • ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการเผยแพร่ประเด็นที่ Controversial เช่น การเมือง ศาสนา • ไม่ได้ห้าม แต่ให้ระวัง เพราะอาจส่งผลลบต่อตนหรือองค์กรได้ MU Social Network Policy
  • 41. 4141 • ความรับผิดชอบทางกฎหมาย – ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดฐานหมิ่นประมาท – พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ – ข้อบังคับสภาวิชาชีพ เกี่ยวกับจริยธรรมแห่งวิชาชีพ – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยจรรยาบรรณของบุคลากรและ นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล – ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยวินัยนักศึกษา MU Social Network Policy
  • 42. 4242 • ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น อ้างถึงแหล่งที่มาเสมอ (Plagiarism = การนาผลงานของคนอื่นมานาเสนอเสมือนหนึ่ง เป็นผลงานของตนเอง) • แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกับหน้าที่การงาน/การเรียน – แยก Account ของหน่วยงาน/องค์กร ออกจาก Account บุคคล – Facebook Profile (ส่วนตัว) vs. Facebook Page (องค์กร/หน่วยงาน) • ในการโพสต์ที่อาจเข้าใจผิดได้ว่าเป็นความเห็นจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ให้ ระบุ Disclaimer เสมอว่าเป็นความเห็นส่วนตัว MU Social Network Policy
  • 43. 4343 • ห้ามเผยแพร่ข้อมูล sensitive ที่ใช้ภายในมหาวิทยาลัยก่อนได้รับอนุญาต • บุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ให้บริการสุขภาพ – ระวังการใช้ Social Network ในการปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย (ความลับผู้ป่วย และการ แยกแยะเรื่องส่วนตัวจากหน้าที่การงาน) – ปฏิบัติตามจริยธรรมของวิชาชีพ – ระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว (Privacy) และความลับของข้อมูลผู้ป่วย – การเผยแพร่ข้อมูล/ภาพผู้ป่วย เพื่อการศึกษา ต้องขออนุญาตผู้ป่วยก่อนเสมอ และลบ ข้อมูลที่เป็น identifiers ทั้งหมด (เช่น ชื่อ, HN, ภาพใบหน้า หรือ ID อื่นๆ) ยกเว้น ผู้ป่วยอนุญาต (รวมถึงกรณีการโพสต์ใน closed groups ด้วย) • ตั้งค่า Privacy Settings ให้เหมาะสม MU Social Network Policy
  • 47. 4747 จัดทาโดย นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 24 มี.ค. 2560 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF Social Media Best Practices
  • 48. 4848 • หลักการเคารพกฎหมาย • หลักการเคารพในจริยธรรมแห่งวิชาชีพ • หลักการเคารพในกฎระเบียบและนโยบายขององค์กร • หลักการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และการหลีกเลี่ยง การทาให้ผู้อื่นเสียหาย • หลักการรายงานพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม • หลักเสรีภาพทางวิชาการ Social Media Guidelines: หลักทั่วไป
  • 49. 4949 • หลักการป้องกันอันตรายต่อผู้อื่น (Protection from Harms) • หลักการมุ่งประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นสาคัญ (Beneficence) Social Media Guidelines: หลักจริยธรรมทั่วไปของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
  • 50. 5050 • หลักการรักษา Professionalism ตลอดเวลา • หลัก “คิดก่อนโพสต์” • หลักการมีพฤติกรรมออนไลน์อย่างเหมาะสม • หลักการตั้งค่า Privacy อย่างเหมาะสมและแยก เรื่องส่วนตัวกับวิชาชีพ • หลักการตรวจสอบเนื้อหาออนไลน์ของตนอยู่เสมอ Social Media Guidelines: ความเป็นวิชาชีพ (Professionalism)
  • 51. 5151 • หลักการกาหนดขอบเขตความเป็นวิชาชีพกับ ผู้ป่วย (Professional Boundaries with Patients) • หลักการกาหนดขอบเขตความเป็นวิชาชีพกับผู้อื่น Social Media Guidelines: ความเป็นวิชาชีพ (Professionalism)
  • 52. 5252 • หลักการรักษา Security และ Privacy ของข้อมูล ผู้ป่วย • หลัก Informed Consent (สาหรับการเก็บ รวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของ ผู้ป่วย) Social Media Guidelines: การคุ้มครอง Patient Privacy
  • 53. 5353 • หลักการไม่โฆษณา • หลักการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน (Full Disclosure) • หลักการระบุวิชาชีพและความรู้ความชานาญของตน (Self-Identification) • หลักการหลีกเลี่ยงการสาคัญผิดว่าเป็นผู้แทนองค์กร (Avoiding Misrepresentation) • หลัก “เช็คก่อนแชร์” Social Media Guidelines: Integrity (การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม)
  • 55. 5555 S: Social Media and Communication S 1 Security and Privacy of Information S 2 Social Media and Communication Professionalism Personnel Safety Goals: S in SIMPLE
  • 56. 5656 S 2: Social Media: Why? • การใช้งานและการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) และสื่ออื่นๆ อย่างไม่เหมาะสมหรือไม่เป็นมืออาชีพ (Unprofessional Conduct) อาจทาให้บุคลากรทางการแพทย์ ถูกดาเนินการทางจริยธรรมหรือทางวินัย และอาจสร้างความ เสียหายต่อตนเอง สถานพยาบาล วิชาชีพ หรือเกิดผลกระทบต่อ ผู้ป่วยได้
  • 57. 5757 S 2: Social Media: Process • สถานพยาบาลมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media และสื่ออื่นๆ ของบุคลากร ทั้งที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่มีกฎหมาย ควบคุม และบุคลากรอื่นของสถานพยาบาล (ทั้งที่ใช้งานในนาม ส่วนตัวหรือในนามองค์กร) ที่เหมาะสมกับบริบทขององค์กร โดย อาจนาแนวทางปฏิบัติที่เป็น Best Practices มาปรับใช้ • สถานพยาบาลมีการสื่อสารทาความเข้าใจแนวทางปฏิบัติดังกล่าว ภายในองค์กรอย่างทั่วถึง
  • 58. 5858 S 2: Social Media: Process แนวทางปฏิบัติ ควรครอบคลุมถึง • ความเชื่อมโยงกับจริยธรรมวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ • การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และหลีกเลี่ยง Cyber-bullying • Appropriate Conduct • การคานึงถึงความปลอดภัย (Safety) และ Privacy ของบุคคลอื่น โดยเฉพาะผู้ป่วย • การห้ามบุคลากรทาการโฆษณาที่ผิดกฎหมายหรือจริยธรรม • แนวทางการใช้งานที่ไม่เป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือเป็นอันตราย เช่น ความรู้ ทางการแพทย์ที่ผิดๆ • ขอบเขตและแนวทางการใช้งานเพื่อการปรึกษา ให้คาปรึกษา ติดตาม สั่งการรักษา หรือ ให้คาแนะนาเกี่ยวกับสุขภาพ (Online Consultation) ไม่ว่าจะระหว่างบุคลากรด้วย กันเอง หรือกับผู้ป่วยหรือบุคคลภายนอก ที่เหมาะสมขององค์กร
  • 59. 5959 S 2: Social Media: Process สถานพยาบาลมีการเฝ้าระวังและกระบวนการสื่อสารใน ภาวะวิกฤต (Crisis Communication) ซึ่งรวมถึงการ ตอบสนองในกรณีที่มีเหตุที่อาจส่งผลกระทบด้านลบต่อ ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และความเชื่อมั่นขององค์กรในวงกว้าง ที่เหมาะสม คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ
  • 60. 6060 S 2: Social Media: Indicators • มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media • สัดส่วนของบุคลากรที่มีความตระหนักต่อการใช้งานสื่อ สังคมออนไลน์และสื่อต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีความ เป็นมืออาชีพ • จานวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านการใช้งานสื่อสังคม ออนไลน์ที่ส่งผลกระทบต่อบุคลากรหรือองค์กรที่สามารถ ป้องกันได้
  • 61. 6161 S 2: Social Media: Pitfalls • แนวทางปฏิบัติไม่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร หรือมีความยุ่งยากซับซ้อนจนเกินไป • แนวทางปฏิบัติจากัดสิทธิเสรีภาพของบุคลากรจนเกินไป หรือมีปัญหาการยอมรับโดย บุคลากร • องค์กรเองไม่เข้าใจธรรมชาติของสื่อสังคมออนไลน์ เช่น สร้างปัญหาความสัมพันธ์กับ ผู้ป่วยมากกว่าเดิม ละเมิดสิทธิของผู้ป่วย หรือส่งผลเสียต่อความเชื่อมั่นต่อองค์กรเอง • องค์กรมุ่งเน้นแต่เรื่องการถ่ายภาพหรืออัดเสียงในโรงพยาบาลหรือการโพสต์ข้อความบน สื่อสังคมออนไลน์ของผู้ป่วยและญาติมากจนเกินไป จนเป็นการละเมิดสิทธิของผู้ป่วยเกิน สมควรหรือสร้างปัญหาความสัมพันธ์กับผู้ป่วย แต่ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการใช้งานสื่อ สังคมออนไลน์ของบุคลากรที่เป็นปัญหาเสียเองและส่งผลกระทบด้านลบต่อองค์กรและ บุคลากรเองด้วย • การเฝ้าระวัง ติดตาม หรือแก้ไขปัญหาบนสื่อสังคมออนไลน์ขององค์กรไม่ทันท่วงทีหรือ ขาดประสิทธิภาพ
  • 62. 6262 Crisis Communication Strategies More Strategies: Silence, Combinations
  • 64. 6464 Discussion • ที่มาและรายละเอียดของดราม่านี้คืออะไร • หากเราเป็นผู้โดยสารในสายการบินนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร • ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร • หากเราเป็นผู้โดยสาร เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร จากการบินไทย • หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง อย่างไรจากการบินไทย
  • 65. 6565 Social Media Case Study https://www.matichon.co.th/economy/news_1185531
  • 66. 6666 Social Media Case Study https://www.facebook.com/ThaiAirways.TH/photos/a.629441047162126/1652336818205872/
  • 67. 6767 Discussion • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ ดราม่านี้ • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราคาดหวังการ ตอบสนองของผู้บริหารการบินไทยอย่างไร • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะแสดงออกอย่างไร ต่อดราม่านี้
  • 71. 7171 Discussion • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ การแสดงออกของเพื่อนนักบินนี้ • หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราจะรู้สึกอย่างไรต่อการ แสดงออกของนักบินการบินไทย • หากเราเป็นพนักงานอื่นๆ ของการบินไทย เราจะรู้สึก อย่างไรต่อการแสดงออกของนักบิน
  • 73. 7373 http://www.komchadluek.net/news/local/348788 Social Media Case Study • เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 61 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีหญิงสาวเกิดอาการปวดหัวอย่างหนัก ไปที่โรงพยาบาลกลางดึก แต่เจอไล่กลับให้มาใหม่พรุ่งนี้ โดยแพทย์บอกว่า รพ.นะ ไม่ใช่เซเว่นฯ นั้น กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อเวลา 21.00 น. วันที่ 18 ต.ค. ที่ผ่านมา • น.ส.เยาวลักษณ์ (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 24 ปี ระบุว่า ตนเองมีอาการปวดศีรษะ มาก จึงไปซื้อยาจากร้านขายยามากิน แต่อาการไม่ดีขึ้น จึงเดินทางไปโรงพยาบาล อรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว แต่พอตนเองถูกส่งเข้าไปพบแพทย์ในห้อง ฉุกเฉิน ปรากฏว่า ถูกแพทย์เวรซึ่งเป็นผู้ชายไล่และต่อว่า ว่านี่มันโรงพยาบาลนะ ไม่ใช่เซเว่นฯ นึกจะมาเวลาไหนก็ได้ ให้มาใหม่ในวันพรุ่งนี้ • น.ส.เยาวลักษณ์ ระบุด้วยว่า ด้วยที่ตนเองมีอาการปวดหัวมาก เมื่อมาเจอหมอไล่อีก จึงไม่รู้จะไปทางไหน ปวดหัวก็ปวด เสียความรู้สึกมาก ซึ่งหลังจากถูกไล่ก็มีพยาบาล ได้ออกมาพูดคุยสอบถามเนื่องจากเห็นว่ามีอาการหนักและจะให้เข้าไปตรวจและขอ คุยกับแพทย์ แต่สุดท้ายก็ไม่ได้มีการตรวจแต่อย่างใด
  • 74. 7474 Discussion • หากเราเป็นผู้ป่วยคนนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร • ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร • หากเราเป็นผู้ป่วย เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร จากโรงพยาบาล • หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง อย่างไรจากโรงพยาบาล
  • 75. 7575 Discussion • หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ ดราม่านี้ • หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราคาดหวังการตอบสนอง ของผู้บริหารโรงพยาบาลอย่างไร • หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะแสดงออกอย่างไรต่อ ดราม่านี้
  • 76. 7676 Discussion • ถ้าแพทย์/บุคลากรทางการแพทย์แสดงความเห็นต่อดราม่านี้ ใน ทานองบ่น/ตัดพ้อว่างานเยอะ เหนื่อย เครียด ทางานหนัก ไม่ได้ นอน ค่าตอบแทนน้อย คนไข้คาดหวังสูง เราในฐานะบุคลากรทาง การแพทย์ด้วยกันจะรู้สึกอย่างไร • แล้วคิดว่า ผู้ป่วย/ประชาชน จะรู้สึกต่อความเห็นดังกล่าวอย่างไร
  • 77. 7777 http://www.komchadluek.net/news/local/348788 Social Media Case Study • ล่าสุด ภายหลังผู้บริหารโรงพยาบาลอรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ทราบเรื่องตั้งแต่หลังเกิดเหตุการณ์เมื่อ เวลา 21.00 น. โดยช่วงเช้าวันนี้ (19 ต.ค.) ทีมงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลคลองน้าใส ได้ลงไปที่บ้าน ของผู้ป่วยหญิงคนดังกล่าว เพื่อดูแลสภาพจิตใจ อาการของโรค เพื่อทาความเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เบื้องต้น ทราบ ว่าป่วยเป็นไข้หวัดธรรมดา • ต่อมาเวลา 10.00 น. นายสวนิต สุริยกุล ณ อยุธยา นายอาเภออรัญประเทศ พร้อมด้วย นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รอง ผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ นายอดุลย์ หาญชิงชัย สาธารณสุขอาเภออรัญประเทศ และ คณะ ได้ลงพื้นที่เพื่อสอบถามข้อเท็จจริง • นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทางโรงพยาบาลยอมรับว่าได้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้นจริง โดยเมื่อคืนวันที่ 18 ต.ค. เวลาประมาณ 21.00 น. ที่ห้อง ฉุกเฉินของโรงพยาบาลมีคนไข้วิกฤติฉุกเฉินมารับบริการหลายราย เช่น คนไข้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง2 ราย ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ , คนไข้โรคหัวใจขาดเลือด 1 ราย , คนไข้ป่วยกระดูกต้นคอทับเส้นประสาทจนเป็นอัมพาตทั้งตัว 1 ราย คนไข้มีแผลเปิด 2 ราย และคนไข้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เร่งด่วนแต่ไม่วิกฤติ 4 - 5 ราย • นายแพทย์สรวิศ กล่าวอีกว่า ขณะเกิดเหตุมีแพทย์เวรปฏิบัติงาน 2 คน ซึ่งกาลังวุ่นกับการให้การรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินอยู่ ในขณะที่มีผู้ป่วยหญิงรายที่เป็นข่าวเข้ามารักษาด้วยอาการปวดศีรษะ ไอมา 2 - 3 วัน ทาให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น และจากการสอบถามทีหลังพบว่า ก่อนหน้านี้แพทย์เวรมีอาการป่วยอยู่ ประกอบกับกาลังเครียดกับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มา รับบริการพร้อมกันจานวนมาก เลยทาให้ปฏิบัติงานไม่เต็มประสิทธิภาพและเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น
  • 79. 7979 • ใช้ social media อย่างเหมาะสมและรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม ถูกต้องตามหลักจริยธรรมของวิชาชีพ • คานึงถึงมุมมองที่แตกต่างจากจุดยืนของเราด้วย (ต้อง “เข้าใจ” จึงจะ “เข้าถึง” และอยู่ร่วมกันได้) • การจัดการ Crisis Communication ใน Social Media อย่างเหมาะสม มีความสาคัญต่อ Outcome ของ Crisis สรุป