SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
Baixar para ler offline
การบํารุงรักษาแม่ พิมพ์ฉีดพลาสติก

โดยปกติสามารถแบ่ งชินส่วนของแม่ พมพ์ออกเป็ น 2 กลุ่มเพือความง่ายต่อการวางแผนในการซ่อมบํ ารุง
                                 ิ
   1. กลุ่มทีเกิดการสึกหรอตามปกติ เช่ น บู ช สลัก คอร์ เป็ นต้น
   2. กลุ่มทีเกิดการแตกหักตามปกติ เช่ น Ejector pin, Slide ต่างๆ เป็ นต้น

 ั
ปจจัยทีก่ อให้เ กิดความเสียหายแก่ แม่พมพ์ได้แก่
                                      ิ
   1. การออกแบบโครงสร้างของแม่ พม พ์    ิ
   2. วัสดุทีใช้ทํ าแม่ พมพ์
                          ิ
   3. กระบวนการผลิตแม่พิมพ์ ยกตัวอย่ างเช่ น การ Machining การอบชุ บแข็ง การเจียรไน
       เป็ นต้น
   4. การใช้งานแม่พม พ์ ิ
   5. การบํ ารุงรักษาแม่พม พ์ิ

 ั
ปญหาทีพบมาก
   1. วัสดุทีใช้ใ นการผลิตแม่พม พ์ไม่ได้ต ามมาตรฐานทีกําหนดไว้
                              ิ
   2. การออกแบบทีไม่ถูกต้อง
   3. การใช้งานทีไม่ถูกต้องและขาดการบํ ารุงรักษาอย่ างถูกวิธ ี

ตําแหน่ งทีเกิด ความเสียหายบ่ อยในแม่ พม พ์ฉีด
                                         ิ
    1. บริเวณ Parting line
    2. ผิวหน้าแม่พิมพ์เป็ น สนิม รอยขีดข่วนหรือรอยยุ บ
    3. ผิวของ Cavity หรือ Core เกิด การแตกร้าว
    4. รูทางเข้า (Gate) เกิด การอุดตัน
    5. การเคลือนตํา แหน่ งของ Insert หรือ Slide core
    6. เข็มกระทุ ้ง (Ejector pin) เกิด การโค้งงอ หรือแตกหัก
    7. ท่ อนํ าหล่อเย็นเกิดการอุดตัน

ข้อแนะนํ าในการดูแลรัก ษาแม่พม พ์
                             ิ
    1. ใช้สมุดบันทึกการใช้งานเพือระบุรายละเอียดในการใช้งานแต่ละครัง ตลอดจนระบุ ความผิดปกติที
       เกิด ขึน
    2. ตรวจสอบระบบท่ อนํ าหล่อเย็นอย่ างสมําเสมอ
    3. ตรวจสอบและหมันทํ าความสะอาดผิวหน้าแม่ พม พ์และช่ องระบายอากาศ
                                                 ิ
รายละเอียดทีควรบันทึกลงในสมุดประวัตแม่ พม พ์
                                    ิ ิ
   1. เบอร์หรือรหัสของแม่พิมพ์
   2. ชือหรือประเภทของชินงาน
   3. วัสดุทีใช้ใ นการฉีดขึนรูป
   4. นํ าหนักหรือปริมาตรของการฉีด
   5. จํานวน Cavity
   6. นํ าหนักหรือปริมาตรของชิ นงานทีฉีด ได้
   7. เงือนไขในการฉีดขึ นรูป
   8. ประวัตในการใช้งาน
                ิ
   9. ประวัตในการซ่ อม
              ิ
   10. อืนๆ

การเก็บ รักษาแม่พม พ์
                 ิ

   ในกรณีทีแม่ พมพ์ตด ตังอยู่ บนเครืองฉีด
                ิ ิ
   1. ใช้ผาสะอาดเช็ดถูแม่พิมพ์ให้ทัวถึง
           ้
   2. พ่นสเปรย์ป้องกันสนิม (Mold guard) บางๆลงบนหน้าแม่พิมพ์
   3. ปิ ดแม่พม พ์ดวยแรงปิ ดทีตํา
               ิ ้
   4. เมือจะเริมใช้งานหรือทํ าการฉีด ให้ใช้ผา สะอาดเช็ดถูบ ริเวณด้า นหน้าของแม่พม พ์อย่ างทัวถึง
                                            ้                                   ิ

   ในกรณีถอดแม่พิมพ์ลงจากเครือง
   1. เมือทํ าการถอดแม่ พม พ์ลงจากเครืองฉีด แล้ว ให้ทําการเป่าไล่ นําหล่อเย็นทีค้างอยู่ ในท่ อออกให้หมด
                         ิ
   2. ถอดสายยางส่งนํ าออกจากแม่ พมพ์และแยกเก็บ ไว้ต่างหาก
                                   ิ
   3. ใช้กระดาษกาวหรือเทปปิ ดทีบริเวณ Locating ring และ รูฉีด เพือป้องกันเศษผงหรือ นํ าเข้า

   ในกรณีทีไม่ ได้ใช้งานแม่ พม พ์นั นหรือยังไม่ ใช้งานในช่ วงเวลานั น
                             ิ
   1. วางแม่พม พ์ตวผูและตัวเมียแยกกันบนพืน ทําการตรวสสอบความเรียบร้อย เป่าลมเพือ
                ิ ั ้
      ไล่นํา และทํ าการล้างคราบนํ ามันโดยใช้ นํายาล้าง โดยเฉพาะทีบริเวณด้านหน้าของ
      แม่พม พ์ ตลอดจนทีตําแหน่ งรูและบริเวณมุม อับต่างๆ
             ิ
   2. ใช้ผาสะอาดเช็ดถูอย่ างทัวถึง
           ้
   3. ใช้นํายาป้ องกัน สนิ มทาหรือพ่ นอย่ างทัวถึง (เลือกใช้นํ ายาทีใช้เฉพาะกับแม่พม พ์ฉีด )
                                                                                   ิ
สถานทีเก็บ รักษา
   1. ควรเก็บแม่พมพ์ไว้ในที แห้ง (หากความชืนสัมพันธ์เกินกว่า 70% จะทํ าให้แม่พมพ์เกิด สนิม ได้ง่าย)
                  ิ                                                              ิ
   2. เก็บ บนชันวางซึงมีป้ายระบุ อย่ างชัด เจน หรือในกรณีไม่มชั นเก็บให้วางลงบน Pallet ทีทํ าจากไม้
                                                             ี
       (ห้ามวางลงบนพืนคอนกรีต )


                            ตารางการดูแลรักษาแม่พิมพ์ฉีด

 ระดับการตรวจสอบ                            วิธีการ                     ช่วงเวลาการตวจสอบ


                           1. ล้างคราบนํ ามัน และทํ าความสะอาดที
                              บริเวณด้านหน้าของแม่ พม พ์อย่ าง
                                                          ิ
       ระดับปกติ              ทัวถึง                                    ภายหลังจากการ
                           2. ใช้ลมเป่าเพือไล่ นําทีค้างอยู่ ทีบริเวณ   ปฏิบัตงานฉีดประจําวัน
                                                                              ิ
                              ท่ อนํ าหล่อเย็น ให้แห้งทุ กครังเพือ
                              ป้องกันการเกิดสนิม
                           3. พ่นนํ ายากัน สนิมทีบริเวณด้า นหน้า
                              ของแม่พม พ์ิ


                           ปฏิบัตเิ ช่ นเดียวกับ ขันตอนปกติ เพิม        ตามกํ าหนดเวลาในการ
                      การถอดชินส่ว นทีมีการเสียดสีและชินส่วน            ซ่อมบํ ารุง ซึงอาจ
ระดับตามเวลาการใช้งาน ทีมีการเคลือนที เช่น บู ช เข็มกระทุ ้ง และ        กํ าหนดตามระยะเวลา
                      Slide core เป็ นต้น ออกมาทํ าความสะอาด            หรือจํานวนครังของการ
                      และตรวจสอบขนาดของการสึกหรอหรือ                    ฉีดก็ได้
                      เสียหาย หากมีการชํารุดให้ทําการเปลียน
                      ทดแทน
การบํารุงรักษาเครืองฉี ดพลาสติก

                            ตารางการดูแลรั กษาเครื อง Injection Molding Machine

ชัวโมงการทํางาน                                                 การดูแลรั กษา
                    * ตรวจสอบอุปกรณ์นิรภัยทุกครังทีเปลียนแม่พ ิมพ์ และก่อนเริมใช้ ง านทุกครัง หรื ออาทิตย์ละ 1 ครัง
      ประจํ า        หากใช้ งานเครื องจักรอย่า งต่อเนือง
                    * ตรวจความดันในระบบลม ว่ามีความชืนอยู่หรื อไม่ถ้ามีให้ ไล่ลมออกให้ หมด
                    ตรวจท่อสายไฮดรอลิก
   ทุก 3 เดือน
                    ตรวจดูว่ามีการรัวซึมของนํามันไฮดรอลิกหรื อไม่
                    ตรวจดูว่ามีน ํารัวทีตู้ หล่อเย็น หรือไม่
   ทุก 6 เดือน      ตรวจดูว่ามีการหมุนเวียนของระบบนําหรื อไม่ ถ้าจํ าเป็ นให้ทํา
                    ความสะอาดหัวฉีดในกระแสไหลกลับ
   ทุก 12 เดือน     เปลียนไส้ กรองทีตู้ค วบคุมระบบหล่อเย็น
                    ทําความสะอาด Tie Bar และชุด ฉีด และเช็ดส่วนต่างๆ ด้ วยนํามัน (ในชินส่วนทีเคลือนไหวบ่อยๆ ให้ ชโลม
  ทุก 200 ชัวโมง
                    นํามันเยอะขึน)
                    * ทําความสะอาด ราวรางประตูนิรภัย ด้ วยการเช็ดด้วยนํามัน
                    * ชโลมนํามันที Guide bushing ทีระบบดันออกไฮดรอลิกด้วย
  ทุก 500 ชัวโมง
                    * หล่อลืนตัวเพลท ทีเคลือนที Movable plate ด้ วยนํามันหล่อลืน อย่าเติมนํามันล้ น หมันตรวจบ่อยๆ
                    เมือทํางานด้วยอุณหภูมิสูง อย่างน้อย 3 เดือนต่อครัง
                 * เปลียนตัวไส้ กรองนํามัน อย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง
                 * ทําความสะอาดตัวหล่อเย็นนํามันซึงมีนําหมุนเวียน
 ทุก 5000 ชัวโมง
                 * ตรวจดูไส้ กรองอากาศในแทงก์ และเปลียนถ้ าจําเป็ นตามข้ อแนะนําของผู้ผลิตเครืองจักร
                 * สายไฮดรอลิก ต้องตรวจสอบโดยบุค ลากรทีมีความรู้ และคํา นึงถึงระบบนิรภัยด้ วย
                    * เปลียนนํามันไฮดรอลิกและควรทําความสะอาดถังนํามัน หรื อควรตรวจเช็คโดยบริษ ัทนํ ามัน หลัง จาก 1 ปี
 ทุก 10000 ชัวโมง
                    * เปลียนตัวกรองนํามัน / ทําความสะอาดระบบหล่อเย็นนํามัน
 ทุก 20000 ชัวโมง * สังเกตุ/ตรวจดูสภาพของฟันเฟื อง ในส่วนของระบบขับเคลือนเมือเปลียนนํามัน
 ทุก 20000 ชัวโมง * เปลียนนํามันในเฟื องของระบบขับเคลือนระบบไฟฟา สําหรับชนิดและปริ มาณของนํ ามัน ให้ ดทีบนเฟื อง
                                                                 ้                                        ู
                   อย่าให้นํามันหลายชนิดปนกันเด็ดขาด เปลียนนํามันโดยปฏิบต ิตามคู่มือของผู้ผลิต นํามันอย่างเคร่ง ครัด
                                                                         ั
     ทุก 6 ปี       เช็ค สายไฮดรอลิก โดยเปลียนถ้ าชํารุด (สายไฮดรอลิกมีอายุการใช้ งานสูง สุด 6 ปี )

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)wiriya kosit
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4juckit009
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำBengelo
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวTeetut Tresirichod
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินบทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินTeetut Tresirichod
 

Mais procurados (20)

Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
401
401401
401
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินบทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
 

Semelhante a พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก

1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติANCHITTHA Thammapunyo
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
งานคอมม่อน
งานคอมม่อนงานคอมม่อน
งานคอมม่อน'Ibanez Fender
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmpkhunrit
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmpkhunrit
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยCake WhiteChocolate
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยyaowalakdaw
 
งานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบงานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบAphinya Tantikhom
 
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาpong27
 
ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16 ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16 palmpannawat
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าDuangsuwun Lasadang
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9msntomon2
 
ใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุล
ใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุลใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุล
ใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุลDp' Warissara
 
ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16Apisit Chaiya
 
ใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ดใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ดNoot Ting Tong
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 

Semelhante a พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก (20)

1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
 
งานคอมม่อน
งานคอมม่อนงานคอมม่อน
งานคอมม่อน
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
 
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลยO net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
O net การงานอาชีพและเทคโนโลยี พร้อมเฉลย
 
งานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบงานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบ
 
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
 
ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16 ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16
 
ใบงาน11
ใบงาน11ใบงาน11
ใบงาน11
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่าง
 
ใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้า
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9
 
ใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุล
ใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุลใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุล
ใบงานที่ 9-15 น.ส.วริศรา บุญเจริญตั้งสกุล
 
ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16
 
ใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ดใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ด
 
Ppe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnelPpe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnel
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 

พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. การบํารุงรักษาแม่ พิมพ์ฉีดพลาสติก โดยปกติสามารถแบ่ งชินส่วนของแม่ พมพ์ออกเป็ น 2 กลุ่มเพือความง่ายต่อการวางแผนในการซ่อมบํ ารุง ิ 1. กลุ่มทีเกิดการสึกหรอตามปกติ เช่ น บู ช สลัก คอร์ เป็ นต้น 2. กลุ่มทีเกิดการแตกหักตามปกติ เช่ น Ejector pin, Slide ต่างๆ เป็ นต้น ั ปจจัยทีก่ อให้เ กิดความเสียหายแก่ แม่พมพ์ได้แก่ ิ 1. การออกแบบโครงสร้างของแม่ พม พ์ ิ 2. วัสดุทีใช้ทํ าแม่ พมพ์ ิ 3. กระบวนการผลิตแม่พิมพ์ ยกตัวอย่ างเช่ น การ Machining การอบชุ บแข็ง การเจียรไน เป็ นต้น 4. การใช้งานแม่พม พ์ ิ 5. การบํ ารุงรักษาแม่พม พ์ิ ั ปญหาทีพบมาก 1. วัสดุทีใช้ใ นการผลิตแม่พม พ์ไม่ได้ต ามมาตรฐานทีกําหนดไว้ ิ 2. การออกแบบทีไม่ถูกต้อง 3. การใช้งานทีไม่ถูกต้องและขาดการบํ ารุงรักษาอย่ างถูกวิธ ี ตําแหน่ งทีเกิด ความเสียหายบ่ อยในแม่ พม พ์ฉีด ิ 1. บริเวณ Parting line 2. ผิวหน้าแม่พิมพ์เป็ น สนิม รอยขีดข่วนหรือรอยยุ บ 3. ผิวของ Cavity หรือ Core เกิด การแตกร้าว 4. รูทางเข้า (Gate) เกิด การอุดตัน 5. การเคลือนตํา แหน่ งของ Insert หรือ Slide core 6. เข็มกระทุ ้ง (Ejector pin) เกิด การโค้งงอ หรือแตกหัก 7. ท่ อนํ าหล่อเย็นเกิดการอุดตัน ข้อแนะนํ าในการดูแลรัก ษาแม่พม พ์ ิ 1. ใช้สมุดบันทึกการใช้งานเพือระบุรายละเอียดในการใช้งานแต่ละครัง ตลอดจนระบุ ความผิดปกติที เกิด ขึน 2. ตรวจสอบระบบท่ อนํ าหล่อเย็นอย่ างสมําเสมอ 3. ตรวจสอบและหมันทํ าความสะอาดผิวหน้าแม่ พม พ์และช่ องระบายอากาศ ิ
  • 21. รายละเอียดทีควรบันทึกลงในสมุดประวัตแม่ พม พ์ ิ ิ 1. เบอร์หรือรหัสของแม่พิมพ์ 2. ชือหรือประเภทของชินงาน 3. วัสดุทีใช้ใ นการฉีดขึนรูป 4. นํ าหนักหรือปริมาตรของการฉีด 5. จํานวน Cavity 6. นํ าหนักหรือปริมาตรของชิ นงานทีฉีด ได้ 7. เงือนไขในการฉีดขึ นรูป 8. ประวัตในการใช้งาน ิ 9. ประวัตในการซ่ อม ิ 10. อืนๆ การเก็บ รักษาแม่พม พ์ ิ ในกรณีทีแม่ พมพ์ตด ตังอยู่ บนเครืองฉีด ิ ิ 1. ใช้ผาสะอาดเช็ดถูแม่พิมพ์ให้ทัวถึง ้ 2. พ่นสเปรย์ป้องกันสนิม (Mold guard) บางๆลงบนหน้าแม่พิมพ์ 3. ปิ ดแม่พม พ์ดวยแรงปิ ดทีตํา ิ ้ 4. เมือจะเริมใช้งานหรือทํ าการฉีด ให้ใช้ผา สะอาดเช็ดถูบ ริเวณด้า นหน้าของแม่พม พ์อย่ างทัวถึง ้ ิ ในกรณีถอดแม่พิมพ์ลงจากเครือง 1. เมือทํ าการถอดแม่ พม พ์ลงจากเครืองฉีด แล้ว ให้ทําการเป่าไล่ นําหล่อเย็นทีค้างอยู่ ในท่ อออกให้หมด ิ 2. ถอดสายยางส่งนํ าออกจากแม่ พมพ์และแยกเก็บ ไว้ต่างหาก ิ 3. ใช้กระดาษกาวหรือเทปปิ ดทีบริเวณ Locating ring และ รูฉีด เพือป้องกันเศษผงหรือ นํ าเข้า ในกรณีทีไม่ ได้ใช้งานแม่ พม พ์นั นหรือยังไม่ ใช้งานในช่ วงเวลานั น ิ 1. วางแม่พม พ์ตวผูและตัวเมียแยกกันบนพืน ทําการตรวสสอบความเรียบร้อย เป่าลมเพือ ิ ั ้ ไล่นํา และทํ าการล้างคราบนํ ามันโดยใช้ นํายาล้าง โดยเฉพาะทีบริเวณด้านหน้าของ แม่พม พ์ ตลอดจนทีตําแหน่ งรูและบริเวณมุม อับต่างๆ ิ 2. ใช้ผาสะอาดเช็ดถูอย่ างทัวถึง ้ 3. ใช้นํายาป้ องกัน สนิ มทาหรือพ่ นอย่ างทัวถึง (เลือกใช้นํ ายาทีใช้เฉพาะกับแม่พม พ์ฉีด ) ิ
  • 22. สถานทีเก็บ รักษา 1. ควรเก็บแม่พมพ์ไว้ในที แห้ง (หากความชืนสัมพันธ์เกินกว่า 70% จะทํ าให้แม่พมพ์เกิด สนิม ได้ง่าย) ิ ิ 2. เก็บ บนชันวางซึงมีป้ายระบุ อย่ างชัด เจน หรือในกรณีไม่มชั นเก็บให้วางลงบน Pallet ทีทํ าจากไม้ ี (ห้ามวางลงบนพืนคอนกรีต ) ตารางการดูแลรักษาแม่พิมพ์ฉีด ระดับการตรวจสอบ วิธีการ ช่วงเวลาการตวจสอบ 1. ล้างคราบนํ ามัน และทํ าความสะอาดที บริเวณด้านหน้าของแม่ พม พ์อย่ าง ิ ระดับปกติ ทัวถึง ภายหลังจากการ 2. ใช้ลมเป่าเพือไล่ นําทีค้างอยู่ ทีบริเวณ ปฏิบัตงานฉีดประจําวัน ิ ท่ อนํ าหล่อเย็น ให้แห้งทุ กครังเพือ ป้องกันการเกิดสนิม 3. พ่นนํ ายากัน สนิมทีบริเวณด้า นหน้า ของแม่พม พ์ิ ปฏิบัตเิ ช่ นเดียวกับ ขันตอนปกติ เพิม ตามกํ าหนดเวลาในการ การถอดชินส่ว นทีมีการเสียดสีและชินส่วน ซ่อมบํ ารุง ซึงอาจ ระดับตามเวลาการใช้งาน ทีมีการเคลือนที เช่น บู ช เข็มกระทุ ้ง และ กํ าหนดตามระยะเวลา Slide core เป็ นต้น ออกมาทํ าความสะอาด หรือจํานวนครังของการ และตรวจสอบขนาดของการสึกหรอหรือ ฉีดก็ได้ เสียหาย หากมีการชํารุดให้ทําการเปลียน ทดแทน
  • 23. การบํารุงรักษาเครืองฉี ดพลาสติก ตารางการดูแลรั กษาเครื อง Injection Molding Machine ชัวโมงการทํางาน การดูแลรั กษา * ตรวจสอบอุปกรณ์นิรภัยทุกครังทีเปลียนแม่พ ิมพ์ และก่อนเริมใช้ ง านทุกครัง หรื ออาทิตย์ละ 1 ครัง ประจํ า หากใช้ งานเครื องจักรอย่า งต่อเนือง * ตรวจความดันในระบบลม ว่ามีความชืนอยู่หรื อไม่ถ้ามีให้ ไล่ลมออกให้ หมด ตรวจท่อสายไฮดรอลิก ทุก 3 เดือน ตรวจดูว่ามีการรัวซึมของนํามันไฮดรอลิกหรื อไม่ ตรวจดูว่ามีน ํารัวทีตู้ หล่อเย็น หรือไม่ ทุก 6 เดือน ตรวจดูว่ามีการหมุนเวียนของระบบนําหรื อไม่ ถ้าจํ าเป็ นให้ทํา ความสะอาดหัวฉีดในกระแสไหลกลับ ทุก 12 เดือน เปลียนไส้ กรองทีตู้ค วบคุมระบบหล่อเย็น ทําความสะอาด Tie Bar และชุด ฉีด และเช็ดส่วนต่างๆ ด้ วยนํามัน (ในชินส่วนทีเคลือนไหวบ่อยๆ ให้ ชโลม ทุก 200 ชัวโมง นํามันเยอะขึน) * ทําความสะอาด ราวรางประตูนิรภัย ด้ วยการเช็ดด้วยนํามัน * ชโลมนํามันที Guide bushing ทีระบบดันออกไฮดรอลิกด้วย ทุก 500 ชัวโมง * หล่อลืนตัวเพลท ทีเคลือนที Movable plate ด้ วยนํามันหล่อลืน อย่าเติมนํามันล้ น หมันตรวจบ่อยๆ เมือทํางานด้วยอุณหภูมิสูง อย่างน้อย 3 เดือนต่อครัง * เปลียนตัวไส้ กรองนํามัน อย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง * ทําความสะอาดตัวหล่อเย็นนํามันซึงมีนําหมุนเวียน ทุก 5000 ชัวโมง * ตรวจดูไส้ กรองอากาศในแทงก์ และเปลียนถ้ าจําเป็ นตามข้ อแนะนําของผู้ผลิตเครืองจักร * สายไฮดรอลิก ต้องตรวจสอบโดยบุค ลากรทีมีความรู้ และคํา นึงถึงระบบนิรภัยด้ วย * เปลียนนํามันไฮดรอลิกและควรทําความสะอาดถังนํามัน หรื อควรตรวจเช็คโดยบริษ ัทนํ ามัน หลัง จาก 1 ปี ทุก 10000 ชัวโมง * เปลียนตัวกรองนํามัน / ทําความสะอาดระบบหล่อเย็นนํามัน ทุก 20000 ชัวโมง * สังเกตุ/ตรวจดูสภาพของฟันเฟื อง ในส่วนของระบบขับเคลือนเมือเปลียนนํามัน ทุก 20000 ชัวโมง * เปลียนนํามันในเฟื องของระบบขับเคลือนระบบไฟฟา สําหรับชนิดและปริ มาณของนํ ามัน ให้ ดทีบนเฟื อง ้ ู อย่าให้นํามันหลายชนิดปนกันเด็ดขาด เปลียนนํามันโดยปฏิบต ิตามคู่มือของผู้ผลิต นํามันอย่างเคร่ง ครัด ั ทุก 6 ปี เช็ค สายไฮดรอลิก โดยเปลียนถ้ าชํารุด (สายไฮดรอลิกมีอายุการใช้ งานสูง สุด 6 ปี )