SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 34
CChhaapptteerr 22 
EEvvoolluuttiioonn ooff MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy 
พพัฒัฒนนาากกาารของแแนนวคดิแแลละะทฤษฎฎีกีกาาร 
จจัดัดกกาาร 
LLeeccttuurreerr :: KKoossaawwaatt RRaattaannootthhaayyaannoonn
ววัตัตถถุปุปรระะสงคค์์ 
•อธิบายลำาดับขั้นพัฒนาการของทฤษฎี 
การจัดการในแต่ละยุคได้ 
•อธิบายแนวคิดโดยสังเขปของทฤษฎี 
การจัดการแต่ละทฤษฎีได้
CCoonntteennttss 
• แนวคิดทฤษฎีดั้งเดิม 
(Classical Theory) 
• แนวคิดทฤษฎีเชิงพฤติกรรมศาสตร์ 
(Behavioral Theory) 
• แนวคิดทฤษฎีสมัยใหม่ 
(Modern Theory) 
• แนวคิดในยุคปัจจุบัน 
(Contemporary Management 
Perspective)
พัฒนนาากกาารของแแนนวคคิดิดทฤษฎฎีี 
องคค์ก์กาาร 
แนวคิดแบบดั้งเดิม (Classical 
Theory) 
แนวคิดเชิงพฤติกรรมศาสตร์(Behavioral 
Theory) 
แนวคิดสมัยใหม่ (Modern 
Theory) 
แนวคิดในยุคปัจจุบัน 
(Contemporary Management Perspective)
แนวคิดแบบดั้งเดิม 
(Classical Theory)
11.. CCllaassssiiccaall OOrrggaanniizzaattiioonn TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีีกลลุ่มุ่มคลลาาสสสิิค 
* Scientific Management 
Theory 
ทฤษฎีการจัดการเชิง 
วิทยาศาสตร์ 
* Bureaucracy Theory 
ทฤษฎีระบบราชการ 
* Administrative Theory 
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร
SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีกีกาารจจััดกกาารเเชชิงิงววิิทยยาาศศาาสตรร์์ 
: Frederick W. Taylor (1856-1965): 
บิดาแห่งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ 
แนวคิด 
งานทุกงานต้องมีการกำาหนดวิธีการทำางานและ 
นำาวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ เช่น การศึกษา 
เรื่องเวลาและการเคลื่อนไหวของคนงานขณะทำางาน 
(Time and Motion Study) แต่ละ 
งาน จะมีวิธีที่ดีที่สุดเพียงวิธีเดียว (The one 
best way)
SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีกีกาารจจัดัดกกาารเเชชิิง 
ววิิทยยาาศศาาสตรร์์ 
แนวคิด (ต่อ) 
•หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกคนงานจะพิจารณา 
จากความสามารถและความถนัดของแต่ละคน 
และต้องมีการอบรมพัฒนา 
•ทำางานร่วมกับคนงาน 
•งานและความรับผิดชอบจะต้องแบ่งแยกกัน 
ชัดเจนระหว่างฝ่ายบริหารและคนงาน
SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีกีกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารแแบบบ 
ววิทิทยยาาศศาาสตรร์์ 
: Frank and Lilian Gilbreth (1868-1924) 
แนวคิด 
1. ในการทำางานนั้นจะมีหนทางที่ดีที่สุด 
เพียงวิธีเดียวเท่านั้น (The one best way) 
2. ให้ความสนใจในการขจัดความเมื่อยล้า 
ในการทำางานและขจัดการเคลื่อนไหวที่ 
ไม่จำาเป็นออกไป (Time and Motion Study) 
“Therbligs”
SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีกีกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารแแบบบ 
ววิทิทยยาาศศาาสตรร์์ 
: Henry L. Gantt 
แนวคิด 
1. นำาหลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์มาใช้โดย 
นำาเสนอ “Gantt’s Chart” ตารางเวลาการปฏิบัติ 
งาน 
ของคนงาน ใช้ในการวางแผน, ควบคุมและ 
ประเมินผลการ 
ปฏิบัติงาน 
2. การให้สิ่งจูงใจ (Incentives) กับคนงานโดยใช้ 
ระบบโบนัส
GGaanntttt’’ss CChhaarrtt 
กิจกร 
รม 
กำาหนด 
หคัว้นขห้อา 
เขขี้ยอนมูล 
พราิมยพง์าน 
อ่านรสาอยบงกาลนาง 
อภ่าานคสอบปลาย 
ภาค 
ก ย. 
ตค 
. 
พย 
. 
ธค. ม 
ค. 
กพ 
.
BBuurreeaauuccrraaccyy TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีรีระะบบรราาชกกาาร 
: Max Weber (1864-1920) 
• นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน 
• องค์การแบบราชการในอุดมคติ 
• พัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างและกิจกรรม 
ขององค์การที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับอำานาจ 
หน้าที่
ทฤษฎฎีีรระะบบรราาชกกาารของ MMaaxx 
WWeebbeerr 
แบ่ง 
งาน 
กันทำา 
ลำาดับขั้น 
การ 
บังคับ 
บัญชา 
องค์การราชการในอุดมคติ 
ผู้ 
บริหาร 
มือ 
อาชีพ 
หลัก 
ยุติธร 
รม 
กฎ 
ระเบีย 
บ 
คัดเลือก 
เป็น 
ทางการ
AAddmmiinniissttrraattiivvee TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีีกกาารบรริหิหาาร 
: Henry Fayol (1841-1925 ) 
• บิดาทฤษฎีการบริหารจัดการดำาเนินงาน 
สมัยใหม่ 
• วิศวกรเหมืองแร่ชาวฝรั่งเศส 
• จำาแนกกิจกรรมด้านบริหารจัดการ 
ออกจากกิจกรรมด้านเทคนิค
ทฤษฎฎีีกกาารบรริิหหาารของ FFaayyooll 
เทคนิค 
Technical 
activities 
พาณิชย์ 
Commercial 
activities 
การเงิน 
Financial 
activities 
กิจกรรมทางธุรกิจ 6 กลุ่มงาน 
การ 
จัดการ 
Management 
activities 
POCCC 
ความ 
มั่นคง 
Security 
activities 
การบัญชี 
Accounting 
activities 
(Planning, Org, Command, Coordinate, Control)
หลลักักกกาารจจััดกกาารของ ฟฟาาโโยยล 1144 ขข้อ้อ 
FFaayyooll’’ss PPrriinncciipplleess ooff 
MMaannaaggeemmeenntt 
1. การแบ่งงาน (Division of Labor) 
2. อำานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 
(Authority and Responsibility) 
3. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of 
Command) 
4. สายการบังคับบัญชา (Line of Authority) 
5. การรวมอำานาจ (Centralization) 
6. ความมั่นคง (Stability of tenure of 
personnel) 
7. เอกภาพของทิศทางการบริหาร (Unity of
หลลักักกกาารจจัดัดกกาารของ ฟฟาาโโยยล 1144 
8. ความยุติธรรม (Equity) 
9. ความเป็นระเบียบ (Order) 
10.ความคิดริเริ่ม (Initiative) 
11.การมีวินัย (Discipline) 
12.ระบบการให้ผลตอบแทน 
(Remuneration of Personal) 
13.ความเข้าใจในเป้าหมายขององค์การร่วม 
กัน (Interest to Common Interest) 
14.ความรู้สึกร่วม/ความสามัคคี (Esprit De 
Corps) 
ขข้้อ 
FFaayyooll’’ss PPrriinncciipplleess ooff 
MMaannaaggeemmeenntt
เเปปรรีียบเเททียียบทฤษฎฎีีใในนกลมุ่ 
CCllaassssiiccaall 
Scientific 
เน้นที่คนงาน 
จุดเด่น 
- เน้นการเพิ่ม 
ประสิทธิภาพใน 
การผลิต โดยใช้ 
การทดลองเชิง 
วิทยาศาสตร์ คน 
งานมีหน้าที่ปฏิบัติ 
ตามระบบที่ผู้ 
บริหารวางไว้ และ 
จะสามารถปฏิบัติ 
งานได้ดีขึ้นถ้าได้ 
Bureaucracy 
เน้นที่องค์การ 
โดยรวม 
จุดเด่น 
-เน้นเรื่อง 
โครงสร้าง 
อำานาจหน้าที่ 
การแบ่งงานกัน 
ทำาและกฎ 
ระเบียบข้อ 
บังคับ 
Administrative 
เน้นที่ผู้บริหาร 
จุดเด่น 
- เน้นหลักการ 
บริหารที่ดี 
สำาหรับองค์การ 
โดยรวม โดย 
เน้นเรื่องการ 
กำาหนดหน้าที่ 
ทางการจัดการ 
การแบ่งงานกัน 
ทำา ความเสมอ 
ภาค
นนักักทฤษฎฎีีใในนยยุุค CCllaassssiiccaall 
Scientific 
•Frederick W. Taylor 
• Frank and Lilian 
Gilbreth 
•Henry L. Gantt 
Bureaucracy 
•Henry Fayol 
Administrative 
•Max Weber
แนวคิดเชิงพฤติกรรม 
ศาสตร์(Behavioral 
Theory)
22.. BBeehhaavviioorraall MMaannaaggeemmeenntt 
TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีีบรริิหหาารจจัดัดกกาารเเชชิงิงพฤตติกิกรรม 
Elton Mayo : ศศาาสตรร์์ 
• กรณีศึกษาที่ฮอร์ทอร์น (Hawthorne Studies) 
ศึกษาทดลองเรื่อง 
ความสัมพันธ์ระหว่างการเพิ่มผลผลิตกับ 
แสงสว่างในขณะปฏิบัติงานของคนงาน โดย 
ตั้งสมมติฐานไว้ว่า การเปลี่ยนแปลงลักษณะ 
ทางกายภาพ (แสงสว่าง) มีผลต่อการเพิ่ม 
ผลผลิตหรือปริมาณการผลิต 
ผลการทดลอง : มีปัจจัยอื่นๆที่นอกเหนือจาก 
สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือ 
ลดลงในผลผลิตของคนงาน ได้แก่ ความสัมพันธ์ทาง 
สังคมและขวัญกำาลังใจที่ดีในการทำางาน
BBeehhaavviioorraall MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีีบรริหิหาารจจัดัดกกาารเเชชิิงพฤตติิกรรมศศาาสตรร์์ 
Elton Mayo (ต่อ): 
กรณีศึกษาที่ฮอร์ทอร์น (Hawthorne Studies) 
ศึกษาทดลองเรื่อง 
แรงจูงใจในการทำางานของคนงานที่ทำางาน 
พันขดลวดโทรศัพท์ ตั้งสมมติฐานไว้ว่าค่า 
ตอบแทนเป็นสิ่งจูงใจที่ทำาให้คนงานผลิตผล 
ผลิตให้มากขึ้น 
ผลการทดลอง : เงินไม่ใช่สิ่งจูงใจที่สำาคัญที่สุด 
กลุ่มที่ไม่เป็นทางการมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน 
ของคนงาน
AAbbrraahhaamm HH.. MMaassllooww 
Hierarchy of Needs Theory 
-แบ่งความต้องการเป็น 5 ขั้นเริ่มจากระดับตำ่าไป 
ระดับสูง Physiological, Safety, Social, 
Esteem, Self-Actualization 
เมื่อความต้องการในระดับหนึ่งได้รับการตอบ 
สนองจะเกิดความต้องการในระดับที่สูงขึ้นต่อไป 
ความต้องการใดได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่ 
เกิดการจูงใจอีกต่อไป
HHiieerraarrcchhyy ooff NNeeeeddss TThheeoorryy 
แก้ไขเฉพาะหน้าได้ดี 
การดำารงชีวิตอยู่, การขับถ่าย
DDoouuggllaass MMccGGrreeggoorr 
Theory X : มองพนักงานในแง่ลบ 
• ไม่ชอบทำางาน เลี่ยงงานถ้าทำาได้ 
• ต้องการการดูแลควบคุม ลงโทษ 
บังคับ เพื่อให้งานเป็นไปตามเป้า 
หมาย 
• ไม่มีความรับผิดชอบ หลบเลี่ยง 
• ทะเยอทะยานตำ่า ไม่ต้องการมีส่วน 
ร่วม 
Theory Y : มองพนักงานในแง่บวก 
• งานเป็นเรื่องปกติ พร้อมจะทำางาน 
• รู้จักตัดสินใจ ควบคุม-รับผิดชอบ 
ตนเอง 
• กระตือรือร้น แสวงหาความรับผิด 
ชอบ
แนวคิดสมัยใหม่ 
(Modern Theory)
MMooddeerrnn TThheeoorryy 
ทฤษฎฎีกีกาารจจัดัดกกาารสมมัยัยใใหหมม่่ 
แบ่งได้เป็น 3 แนวคิด คือ 
1. แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ 
(Quantitative Management) โดยนำาเทคนิค 
ทางคณิตศาสตร์ สถิติมาประยุกต์ใช้ เช่น 
- การจัดการการดำาเนินงาน (Operation 
Management) 
- วิทยาศาสตร์การจัดการ (Management 
Science)
2. แนวคิดเชิงทฤษฎีระบบ (System 
Theory) : 
โดยองค์การเป็นเสมือนกับระบบๆ หนึ่งซึ่งมี 
ความสัมพันธ์กันกับสภาพแวดล้อมภายนอกที่อยู่ 
รอบๆองค์การ ตัวระบบเองประกอบด้วย 4 ส่วนที่ 
มีความเกี่ยวข้องกัน ได้แก่ 
- ปัจจัยนำาเข้า (Inputs) 
- กระบวนการแปรสภาพในการบริหาร 
(Process) 
- ปัจจัยนำาออก/ผลผลิต (Outputs) 
- การป้อนกลับ (Feedback)
Inputs 
-4M 
-Technology, 
Information re 
sources 
Process Outputs 
-Product&service 
-Customer 
satisfaction 
-Financial results 
Environment 
System 
A systems view of the organization
3. แนวคิดเชิงทฤษฎีการจัดการเชิง 
สถานการณ์ (Contingency Theory) 
การบริหารจัดการเปลี่ยนแปลงไปตาม 
สถานการณ์และสภาพแวดล้อม ไม่มีรูปแบบการ 
บริหารจัดการแบบเดียวที่ดีที่สุดสำาหรับทุก 
องค์การ Classical 
Theory 
Behavioral 
Theory 
Contingency 
Theory 
Quantitative 
Theory 
System 
Theory
แนวคิดในยุคปัจจุบัน 
((Contemporary Management Perspective)
แนวคิดในยุคปัจจุบัน 
(Contemporary Management Perspective) 
• Reengineering 
• TQM 
• Knowledge Management (KM) 
• Learning Organization
บทสรรุุป 
1.ทฤษฎีแนวคิดทฤษฎีดั้งเดิม 
1.1 ทฤษฎีการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์: Frederick W. 
Taylor, Frank and Lilian Gilbreth, Henry L. Gantt 
1.2 ทฤษฎีระบบราชการ: Max Weber 
1.3 ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร: Henry Fayol 
2. แนวคิดทฤษฎีเชิงพฤติกรรมศาสตร์: Elton Mayo, 
Abraham Maslow, Douglas McGregor 
3. แนวคิดทฤษฎีสมัยใหม่: 3.1 แนวคิดการจัดการเชิง 
ปริมาณ 3.2 แนวคิดเชิงทฤษฎีระบบ และ 3.3 แนวคิดเชิง 
ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ 
4. แนวคิดในยุคปัจจุบัน: Reengineering, TQM, 
Knowledge Management (KM), Learning Organization

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงBau Toom
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2Prapaporn Boonplord
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )Sireetorn Buanak
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 

Mais procurados (20)

ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
System management
System managementSystem management
System management
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 

Semelhante a บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ

Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedไพรวัล ดวงตา
 
Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theoryKan Yuenyong
 
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีนการปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีนKlangpanya
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1Prapaporn Boonplord
 
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์Preecha Napao
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายwiraja
 

Semelhante a บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ (8)

Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
 
Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theory
 
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีนการปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1
 
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
 

บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ

  • 1. CChhaapptteerr 22 EEvvoolluuttiioonn ooff MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy พพัฒัฒนนาากกาารของแแนนวคดิแแลละะทฤษฎฎีกีกาาร จจัดัดกกาาร LLeeccttuurreerr :: KKoossaawwaatt RRaattaannootthhaayyaannoonn
  • 2. ววัตัตถถุปุปรระะสงคค์์ •อธิบายลำาดับขั้นพัฒนาการของทฤษฎี การจัดการในแต่ละยุคได้ •อธิบายแนวคิดโดยสังเขปของทฤษฎี การจัดการแต่ละทฤษฎีได้
  • 3. CCoonntteennttss • แนวคิดทฤษฎีดั้งเดิม (Classical Theory) • แนวคิดทฤษฎีเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory) • แนวคิดทฤษฎีสมัยใหม่ (Modern Theory) • แนวคิดในยุคปัจจุบัน (Contemporary Management Perspective)
  • 4. พัฒนนาากกาารของแแนนวคคิดิดทฤษฎฎีี องคค์ก์กาาร แนวคิดแบบดั้งเดิม (Classical Theory) แนวคิดเชิงพฤติกรรมศาสตร์(Behavioral Theory) แนวคิดสมัยใหม่ (Modern Theory) แนวคิดในยุคปัจจุบัน (Contemporary Management Perspective)
  • 6. 11.. CCllaassssiiccaall OOrrggaanniizzaattiioonn TThheeoorryy ทฤษฎฎีีกลลุ่มุ่มคลลาาสสสิิค * Scientific Management Theory ทฤษฎีการจัดการเชิง วิทยาศาสตร์ * Bureaucracy Theory ทฤษฎีระบบราชการ * Administrative Theory ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร
  • 7. SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy ทฤษฎฎีกีกาารจจััดกกาารเเชชิงิงววิิทยยาาศศาาสตรร์์ : Frederick W. Taylor (1856-1965): บิดาแห่งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ แนวคิด งานทุกงานต้องมีการกำาหนดวิธีการทำางานและ นำาวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ เช่น การศึกษา เรื่องเวลาและการเคลื่อนไหวของคนงานขณะทำางาน (Time and Motion Study) แต่ละ งาน จะมีวิธีที่ดีที่สุดเพียงวิธีเดียว (The one best way)
  • 8. SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy ทฤษฎฎีกีกาารจจัดัดกกาารเเชชิิง ววิิทยยาาศศาาสตรร์์ แนวคิด (ต่อ) •หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกคนงานจะพิจารณา จากความสามารถและความถนัดของแต่ละคน และต้องมีการอบรมพัฒนา •ทำางานร่วมกับคนงาน •งานและความรับผิดชอบจะต้องแบ่งแยกกัน ชัดเจนระหว่างฝ่ายบริหารและคนงาน
  • 9. SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy ทฤษฎฎีกีกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารแแบบบ ววิทิทยยาาศศาาสตรร์์ : Frank and Lilian Gilbreth (1868-1924) แนวคิด 1. ในการทำางานนั้นจะมีหนทางที่ดีที่สุด เพียงวิธีเดียวเท่านั้น (The one best way) 2. ให้ความสนใจในการขจัดความเมื่อยล้า ในการทำางานและขจัดการเคลื่อนไหวที่ ไม่จำาเป็นออกไป (Time and Motion Study) “Therbligs”
  • 10. SScciieennttiiffiicc MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy ทฤษฎฎีกีกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารแแบบบ ววิทิทยยาาศศาาสตรร์์ : Henry L. Gantt แนวคิด 1. นำาหลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์มาใช้โดย นำาเสนอ “Gantt’s Chart” ตารางเวลาการปฏิบัติ งาน ของคนงาน ใช้ในการวางแผน, ควบคุมและ ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน 2. การให้สิ่งจูงใจ (Incentives) กับคนงานโดยใช้ ระบบโบนัส
  • 11. GGaanntttt’’ss CChhaarrtt กิจกร รม กำาหนด หคัว้นขห้อา เขขี้ยอนมูล พราิมยพง์าน อ่านรสาอยบงกาลนาง อภ่าานคสอบปลาย ภาค ก ย. ตค . พย . ธค. ม ค. กพ .
  • 12.
  • 13. BBuurreeaauuccrraaccyy TThheeoorryy ทฤษฎฎีรีระะบบรราาชกกาาร : Max Weber (1864-1920) • นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน • องค์การแบบราชการในอุดมคติ • พัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างและกิจกรรม ขององค์การที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับอำานาจ หน้าที่
  • 14. ทฤษฎฎีีรระะบบรราาชกกาารของ MMaaxx WWeebbeerr แบ่ง งาน กันทำา ลำาดับขั้น การ บังคับ บัญชา องค์การราชการในอุดมคติ ผู้ บริหาร มือ อาชีพ หลัก ยุติธร รม กฎ ระเบีย บ คัดเลือก เป็น ทางการ
  • 15. AAddmmiinniissttrraattiivvee TThheeoorryy ทฤษฎฎีีกกาารบรริหิหาาร : Henry Fayol (1841-1925 ) • บิดาทฤษฎีการบริหารจัดการดำาเนินงาน สมัยใหม่ • วิศวกรเหมืองแร่ชาวฝรั่งเศส • จำาแนกกิจกรรมด้านบริหารจัดการ ออกจากกิจกรรมด้านเทคนิค
  • 16. ทฤษฎฎีีกกาารบรริิหหาารของ FFaayyooll เทคนิค Technical activities พาณิชย์ Commercial activities การเงิน Financial activities กิจกรรมทางธุรกิจ 6 กลุ่มงาน การ จัดการ Management activities POCCC ความ มั่นคง Security activities การบัญชี Accounting activities (Planning, Org, Command, Coordinate, Control)
  • 17. หลลักักกกาารจจััดกกาารของ ฟฟาาโโยยล 1144 ขข้อ้อ FFaayyooll’’ss PPrriinncciipplleess ooff MMaannaaggeemmeenntt 1. การแบ่งงาน (Division of Labor) 2. อำานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility) 3. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) 4. สายการบังคับบัญชา (Line of Authority) 5. การรวมอำานาจ (Centralization) 6. ความมั่นคง (Stability of tenure of personnel) 7. เอกภาพของทิศทางการบริหาร (Unity of
  • 18. หลลักักกกาารจจัดัดกกาารของ ฟฟาาโโยยล 1144 8. ความยุติธรรม (Equity) 9. ความเป็นระเบียบ (Order) 10.ความคิดริเริ่ม (Initiative) 11.การมีวินัย (Discipline) 12.ระบบการให้ผลตอบแทน (Remuneration of Personal) 13.ความเข้าใจในเป้าหมายขององค์การร่วม กัน (Interest to Common Interest) 14.ความรู้สึกร่วม/ความสามัคคี (Esprit De Corps) ขข้้อ FFaayyooll’’ss PPrriinncciipplleess ooff MMaannaaggeemmeenntt
  • 19. เเปปรรีียบเเททียียบทฤษฎฎีีใในนกลมุ่ CCllaassssiiccaall Scientific เน้นที่คนงาน จุดเด่น - เน้นการเพิ่ม ประสิทธิภาพใน การผลิต โดยใช้ การทดลองเชิง วิทยาศาสตร์ คน งานมีหน้าที่ปฏิบัติ ตามระบบที่ผู้ บริหารวางไว้ และ จะสามารถปฏิบัติ งานได้ดีขึ้นถ้าได้ Bureaucracy เน้นที่องค์การ โดยรวม จุดเด่น -เน้นเรื่อง โครงสร้าง อำานาจหน้าที่ การแบ่งงานกัน ทำาและกฎ ระเบียบข้อ บังคับ Administrative เน้นที่ผู้บริหาร จุดเด่น - เน้นหลักการ บริหารที่ดี สำาหรับองค์การ โดยรวม โดย เน้นเรื่องการ กำาหนดหน้าที่ ทางการจัดการ การแบ่งงานกัน ทำา ความเสมอ ภาค
  • 20. นนักักทฤษฎฎีีใในนยยุุค CCllaassssiiccaall Scientific •Frederick W. Taylor • Frank and Lilian Gilbreth •Henry L. Gantt Bureaucracy •Henry Fayol Administrative •Max Weber
  • 22. 22.. BBeehhaavviioorraall MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy ทฤษฎฎีีบรริิหหาารจจัดัดกกาารเเชชิงิงพฤตติกิกรรม Elton Mayo : ศศาาสตรร์์ • กรณีศึกษาที่ฮอร์ทอร์น (Hawthorne Studies) ศึกษาทดลองเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการเพิ่มผลผลิตกับ แสงสว่างในขณะปฏิบัติงานของคนงาน โดย ตั้งสมมติฐานไว้ว่า การเปลี่ยนแปลงลักษณะ ทางกายภาพ (แสงสว่าง) มีผลต่อการเพิ่ม ผลผลิตหรือปริมาณการผลิต ผลการทดลอง : มีปัจจัยอื่นๆที่นอกเหนือจาก สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงในผลผลิตของคนงาน ได้แก่ ความสัมพันธ์ทาง สังคมและขวัญกำาลังใจที่ดีในการทำางาน
  • 23. BBeehhaavviioorraall MMaannaaggeemmeenntt TThheeoorryy ทฤษฎฎีีบรริหิหาารจจัดัดกกาารเเชชิิงพฤตติิกรรมศศาาสตรร์์ Elton Mayo (ต่อ): กรณีศึกษาที่ฮอร์ทอร์น (Hawthorne Studies) ศึกษาทดลองเรื่อง แรงจูงใจในการทำางานของคนงานที่ทำางาน พันขดลวดโทรศัพท์ ตั้งสมมติฐานไว้ว่าค่า ตอบแทนเป็นสิ่งจูงใจที่ทำาให้คนงานผลิตผล ผลิตให้มากขึ้น ผลการทดลอง : เงินไม่ใช่สิ่งจูงใจที่สำาคัญที่สุด กลุ่มที่ไม่เป็นทางการมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน ของคนงาน
  • 24. AAbbrraahhaamm HH.. MMaassllooww Hierarchy of Needs Theory -แบ่งความต้องการเป็น 5 ขั้นเริ่มจากระดับตำ่าไป ระดับสูง Physiological, Safety, Social, Esteem, Self-Actualization เมื่อความต้องการในระดับหนึ่งได้รับการตอบ สนองจะเกิดความต้องการในระดับที่สูงขึ้นต่อไป ความต้องการใดได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่ เกิดการจูงใจอีกต่อไป
  • 25. HHiieerraarrcchhyy ooff NNeeeeddss TThheeoorryy แก้ไขเฉพาะหน้าได้ดี การดำารงชีวิตอยู่, การขับถ่าย
  • 26. DDoouuggllaass MMccGGrreeggoorr Theory X : มองพนักงานในแง่ลบ • ไม่ชอบทำางาน เลี่ยงงานถ้าทำาได้ • ต้องการการดูแลควบคุม ลงโทษ บังคับ เพื่อให้งานเป็นไปตามเป้า หมาย • ไม่มีความรับผิดชอบ หลบเลี่ยง • ทะเยอทะยานตำ่า ไม่ต้องการมีส่วน ร่วม Theory Y : มองพนักงานในแง่บวก • งานเป็นเรื่องปกติ พร้อมจะทำางาน • รู้จักตัดสินใจ ควบคุม-รับผิดชอบ ตนเอง • กระตือรือร้น แสวงหาความรับผิด ชอบ
  • 28. MMooddeerrnn TThheeoorryy ทฤษฎฎีกีกาารจจัดัดกกาารสมมัยัยใใหหมม่่ แบ่งได้เป็น 3 แนวคิด คือ 1. แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Management) โดยนำาเทคนิค ทางคณิตศาสตร์ สถิติมาประยุกต์ใช้ เช่น - การจัดการการดำาเนินงาน (Operation Management) - วิทยาศาสตร์การจัดการ (Management Science)
  • 29. 2. แนวคิดเชิงทฤษฎีระบบ (System Theory) : โดยองค์การเป็นเสมือนกับระบบๆ หนึ่งซึ่งมี ความสัมพันธ์กันกับสภาพแวดล้อมภายนอกที่อยู่ รอบๆองค์การ ตัวระบบเองประกอบด้วย 4 ส่วนที่ มีความเกี่ยวข้องกัน ได้แก่ - ปัจจัยนำาเข้า (Inputs) - กระบวนการแปรสภาพในการบริหาร (Process) - ปัจจัยนำาออก/ผลผลิต (Outputs) - การป้อนกลับ (Feedback)
  • 30. Inputs -4M -Technology, Information re sources Process Outputs -Product&service -Customer satisfaction -Financial results Environment System A systems view of the organization
  • 31. 3. แนวคิดเชิงทฤษฎีการจัดการเชิง สถานการณ์ (Contingency Theory) การบริหารจัดการเปลี่ยนแปลงไปตาม สถานการณ์และสภาพแวดล้อม ไม่มีรูปแบบการ บริหารจัดการแบบเดียวที่ดีที่สุดสำาหรับทุก องค์การ Classical Theory Behavioral Theory Contingency Theory Quantitative Theory System Theory
  • 33. แนวคิดในยุคปัจจุบัน (Contemporary Management Perspective) • Reengineering • TQM • Knowledge Management (KM) • Learning Organization
  • 34. บทสรรุุป 1.ทฤษฎีแนวคิดทฤษฎีดั้งเดิม 1.1 ทฤษฎีการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์: Frederick W. Taylor, Frank and Lilian Gilbreth, Henry L. Gantt 1.2 ทฤษฎีระบบราชการ: Max Weber 1.3 ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร: Henry Fayol 2. แนวคิดทฤษฎีเชิงพฤติกรรมศาสตร์: Elton Mayo, Abraham Maslow, Douglas McGregor 3. แนวคิดทฤษฎีสมัยใหม่: 3.1 แนวคิดการจัดการเชิง ปริมาณ 3.2 แนวคิดเชิงทฤษฎีระบบ และ 3.3 แนวคิดเชิง ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ 4. แนวคิดในยุคปัจจุบัน: Reengineering, TQM, Knowledge Management (KM), Learning Organization