SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
ตัวแปรชนิดอาร์เรย์และสตริง
(Array and String)
ตัวแปรชนิดอาร์เรย์ (Array)
ตัวแปรอาร์เรย์(Array) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าตัวแปรชุด เป็นการจองพื้นที่ในหน่วยความจา
ให้กับตัวแปร เพื่อให้ตัวแปรนั้นสามารถรับข้อมูลหรือเก็บข้อมูลได้มากกว่า1 ค่า ข้อมูลทุกตัวที่อยู่ในอาร์เรย์
จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกันเท่านั้น และตัวแปรอาร์เรย์สามารถใช้งานได้เหมือนกับตัวแปรทั่วไป
ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) แบ่งได้เป็น 3 ชนิด
1.อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional)
2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional)
3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)
อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional)
อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ คือ อาร์เรย์ที่มีเพียง 1 แถวนอน แต่มี แถวตั้งหลายแถว ซึ่งในการระบุตาแหน่งหรือตัวชี้ (index)
จะมีแต่ระบุแต่ตาแหน่งของแถวตั้งเท่านั้น โดยนับเริ่มจาก 0 ในตาแหน่งที่ 0 (score[0]) จะมีค่า 2
การสร้างอาร์เรย์
ในการสร้างการสร้างอาร์เรย์นั้นสามารถทาได้ใน 2 รูปแบบ คือ
1. เป็นการสร้างตัวแปรอาร์เรย์โดยยังไม่ได้กาหนดค่าให้กับอาเรย์ เป็นเพียงแต่การจองพื้นที่ใน
หน่วยความจา
dataType [ ] arrayName = new dataType[arraySize]; หรือ
dataType arrayName [ ] = new dataType[arraySize];
dataType = ชนิดข้อมูลของตัวแปรอาร์เรย์เช่น int ,double เป็นต้น
arrayName = ชื่อของตัวแปรอาร์เรย์
เช่น int [ ] myList = new int [10]
double name[ ] = new double [5]
จากตัวอย่าง ตัวแปรชื่อ myList เป็นตัวแปรอาร์เรย์ชนิด int มีขนาด 10 ส่วนตัวแปรชื่อ name
นั้นมีชนิดเป็น double และมีขนาดเป็น 5 เครื่องหมาย [ ] นั้นจะเป็น index เพื่อใช้บอกตาแหน่งของตัว
อาร์เรย์นั้นๆ ซึ่งจะเริ่มต้นที่ 0 เสมอ เช่น จากตัวอย่างตัวแปร name ถูกกาหนดขนาดไว้เท่ากับ 5 พื้นที่ที่
ถูกจองก็จะเป็นดังรูป
2. การสร้างอาร์เรย์พร้อมกับกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่
ตอนประกาศตัวแปร โดยค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย{ } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วย
เครื่องหมาย , (comma) เช่น int a[] = {10,20,30,40,50 } ; ดังรูป
ตัวอย่างโปรแกรม
int n[5] = { 5, 3, 2, 6, 1 }; int i , j;
for ( i = 0; i < 5; i++ )
{
for ( j = 1; j <= n[i]; j++ )
System.out.print( “*” );
System.out.print ( "n" );
}
อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุด ที่มีการจัดการข้อมูล แถว (Row) หลัก (Column) ซึ่งอยู่ในรูปแบบ
ตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว
อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง
2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional)
การกาหนดค่าเริ่มต้น
หลังจากที่ได้ทาการประกาศและกาหนดลักษณะของอาร์เรย์แล้วในแต่ละ Element ของอาร์เรย์จะยังไม่มีค่า
บรรจุอยู่ ในการกาหนดค่าเริ่มต้นของ Element แต่ละตัวสามารถทาได้หลังจากการประกาศ ตัวอย่างสมมุติว่า
ต้องการใช้ 20 ค่า การกาหนดค่าเริ่มต้นแบบทางเดียวจะเป็นดังนี้
int table [5] [4]; =
{ 0, 1, 2, 3, 10, 11, 12, 13, 20, 21, 22, 23, 30, 31, 32, 33, 40, 41, 42, 43 }
;
หรือการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์วิธีที่ดีที่สุดจะเป็นดังนี้
int table [5] [4];
{
{ 0, 1, 2, 3 },
{10, 11, 12, 13 },
{20, 21, 22, 23 },
{30, 31, 32, 33 },
{40, 41, 42, 43 }
}; /* table */
การรับค่า
เป็นการใช้ฟังก์ชัน scanf มารับค่าใส่ลงในแต่ละ Element ของอาร์เรย์2 มิตินั้น จะต้องใช้ลูป 2 ลูปซ้อน
กัน สมมุติว่าอาร์เรย์มีขนาด n m ลูปแรกจะเป็นของแถวโดยจะทาตั้งแต่ 0 ถึง n – 1 ส่วนลูปที่ 2 จะเป็นของ
คอลัมน์จะทาตั้งแต่ 0 ถึง m – 1 ถ้าต้องการรับค่าเข้าในอาร์เรย์ในรูปที่ 8-14 สามารถทาได้ดังนี้
for (row = 0; row < 5; row++)
for (column = 0; column < 4; column++)
scanf (“%d”,&table[row][column]);
การแสดงค่า
เป็นการนาค่าในแต่ละ Element ออกมาแสดง โดยใช้ลูป for ซ้อนกัน 2 ลูปเข้ามาช่วย โดยลูปแรกจะเป็น
ตัวควบคุมการพิมพ์ของแถว และลูปที่ 2 จะเป็นตัวควบคุมการพิมพ์ของคอลัมน์ เมื่อจะพิมพ์อาร์เรย์table
ออกมาเป็นรูปแบบตาราง จะต้องทาการขึ้นบรรทัดใหม่ทุกครั้ง เมื่อพิมพ์แต่ละแถวจบ ซึ่งแสดงดังตัวอย่าง
ด้านล่าง
for (row = 0; row < 5; row++)
{
for (Colum =0; column < 4; column++)
printf(“%8d”, tale[row][column]);
printf(“n”);
}
การกาหนดค่า
เป็นการกาหนดค่าให้กับเฉพาะ Element โดยการใช้เครื่องกาหนดค่าหรือ = นั่นเอง ตัวอย่างเช่น
table[2][0] = 23;
table[0][1] = table[3][2] + 15;
3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)
อาร์เรย์3 มิติ ก็คือ “อาร์เรย์ของอาร์เรย์ของอาร์เรย์” – เข้าถึงสมาชิกด้วย ตัวเลขดัชนี (index) 3
ตัว
การกาหนดตัวแปร
ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก];
การกาหนดค่าให้ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ
int data[2][3][2] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6}}};
ในกรณีที่ไม่ต้องใส่ขนาดของมิติ
int data[ ][ ] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6},{7,7}}};
int data[2][3][1] = {{{1},{2},{3}},{{4},{5},{6}}};
สตริง(string)หมายถึง ชุด(array) ของตัวอักขระ (character) ที่เรียงต่อกันสตริงจะเป็นคาหรือ
ข้อความที่มีความหมายใน C++ ไม่มีชนิดข้อมูล ประเภทstring การกาหนดstringคือการกาหนดเป็น
อาร์เรย์ของข้อมูลชนิดchar หลายๆตัวนามาเชื่อมต่อกันเป็นstring เช่น
character 'C','o','m','p','u','t','e','r' เก็บไว้ในอาร์เรย์รวมเป็นข้อมูล string ซึ่งจะได้ข้ออค
วาม "Computer" ข้อมูลstring เป็นได้ทั้งค่าคงที่ (constant) และตัวแปร(variable)
ข้อมูลชนิดสตริง
(String)
ความยาวสตริง (String Length) เป็นการบอกให้ทราบว่าสตริงตัวนั้นมีตัวอักษรหรือ ความยาว
เท่าไร จะกาหนดเป็นฟังก์ชัน Length ที่ส่งค่าความยาวกลับมาให้ ดังนี้
N = Length (S) ;
ค่าที่ส่งกลับมาเท่ากับ N
รวมสตริง (String Concatenation) เป็นการนา 2 สตริงมารวมกันเป็นสตริงเดียว โดย
นาตัวอักษรทั้งหมดของสตริงตัวหลังไปต่อท้ายสตริงตัวแรก กาหนดเป็นฟังก์ชัน Concate ดังนี้
Concate (S, S1);
ค่าคงที่สตริงและตัวแปรสตริง (string constants and string variables)
ค่าคงที่สตริง คือ ตัวอักขระ (characters) ใด ๆ ที่เขียนอยู่ภายใต้เครื่องหมาย “
“ (double quotation) เช่น “Greeting!” , ”Hello, ” ”SA-WAS-DEE” ,
“4567” , “123.45” เป็นต้น
ตัวแปรสตริง คือ ตัวแปรชุดที่เก็บค่าคงที่ชนิดสตริง โดยมีชนิดของตัวแปรชุด
เป็น char เช่น char name[30]=”KANNIKAR”; หรือ
char strnum[10]=”12345”; เป็นต้น
สาหรับการเก็บค่าคงที่ชนิดสตริงไว้ในตัวแปรสตริงภายในหน่วยความจานั้น จะเก็บเรียงกันไปทีละตัว
อักขระ โดยใช้เนื้อที่ 1 byte ต่อการเก็บตัวอักษร 1 ตัว และใน byte สุดท้ายสตริงจะมีการ
เก็บ 0 (null character) ไว้เพื่อเป็นการบอกให้ compiler รู้ว่าหมดข้อมูลที่เก็บไว้แล้ว

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงdefeat overcome
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766CUPress
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]Mook Sasivimon
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysWongyos Keardsri
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1binLy
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsWongyos Keardsri
 

Mais procurados (18)

ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริงข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
Array 2
Array 2Array 2
Array 2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Array1
Array1Array1
Array1
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String Operations
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 

Destaque (12)

String c++
String c++String c++
String c++
 
Case studies
Case studiesCase studies
Case studies
 
Strinng Classes in c++
Strinng Classes in c++Strinng Classes in c++
Strinng Classes in c++
 
String Handling in c++
String Handling in c++String Handling in c++
String Handling in c++
 
String handling(string class)
String handling(string class)String handling(string class)
String handling(string class)
 
String Handling
String HandlingString Handling
String Handling
 
C/C++ History in few slides
C/C++ History in few slides C/C++ History in few slides
C/C++ History in few slides
 
History of c++
History of c++ History of c++
History of c++
 
Arrays
ArraysArrays
Arrays
 
Array in c language
Array in c languageArray in c language
Array in c language
 
C++ ppt
C++ pptC++ ppt
C++ ppt
 
Deep C
Deep CDeep C
Deep C
 

Semelhante a New presentation1

ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ploy StopDark
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดPear Pimnipa
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5tyt13
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอPz'Peem Kanyakamon
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระBoOm mm
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5Thachanok Plubpibool
 

Semelhante a New presentation1 (20)

ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
99
9999
99
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งาน
งานงาน
งาน
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
ตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอตัวแปรชุดนำเสนอ
ตัวแปรชุดนำเสนอ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 

Mais de Nantiporn Khamluepluk

นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29Nantiporn Khamluepluk
 
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมการแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมNantiporn Khamluepluk
 
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่นวิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่นNantiporn Khamluepluk
 

Mais de Nantiporn Khamluepluk (6)

ข่าวไอทีนิว
ข่าวไอทีนิว ข่าวไอทีนิว
ข่าวไอทีนิว
 
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
นันทิพร คำลือปลูก ม.6/3 เลขที่ 29
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมการแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
 
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่นวิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
วิธีการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น
 

New presentation1

  • 2. ตัวแปรชนิดอาร์เรย์ (Array) ตัวแปรอาร์เรย์(Array) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าตัวแปรชุด เป็นการจองพื้นที่ในหน่วยความจา ให้กับตัวแปร เพื่อให้ตัวแปรนั้นสามารถรับข้อมูลหรือเก็บข้อมูลได้มากกว่า1 ค่า ข้อมูลทุกตัวที่อยู่ในอาร์เรย์ จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกันเท่านั้น และตัวแปรอาร์เรย์สามารถใช้งานได้เหมือนกับตัวแปรทั่วไป ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) แบ่งได้เป็น 3 ชนิด 1.อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional) 2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional) 3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional)
  • 3. อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ (One-Dimensional) อาร์เรย์ชนิด 1 มิติ คือ อาร์เรย์ที่มีเพียง 1 แถวนอน แต่มี แถวตั้งหลายแถว ซึ่งในการระบุตาแหน่งหรือตัวชี้ (index) จะมีแต่ระบุแต่ตาแหน่งของแถวตั้งเท่านั้น โดยนับเริ่มจาก 0 ในตาแหน่งที่ 0 (score[0]) จะมีค่า 2 การสร้างอาร์เรย์ ในการสร้างการสร้างอาร์เรย์นั้นสามารถทาได้ใน 2 รูปแบบ คือ 1. เป็นการสร้างตัวแปรอาร์เรย์โดยยังไม่ได้กาหนดค่าให้กับอาเรย์ เป็นเพียงแต่การจองพื้นที่ใน หน่วยความจา dataType [ ] arrayName = new dataType[arraySize]; หรือ dataType arrayName [ ] = new dataType[arraySize]; dataType = ชนิดข้อมูลของตัวแปรอาร์เรย์เช่น int ,double เป็นต้น arrayName = ชื่อของตัวแปรอาร์เรย์
  • 4. เช่น int [ ] myList = new int [10] double name[ ] = new double [5] จากตัวอย่าง ตัวแปรชื่อ myList เป็นตัวแปรอาร์เรย์ชนิด int มีขนาด 10 ส่วนตัวแปรชื่อ name นั้นมีชนิดเป็น double และมีขนาดเป็น 5 เครื่องหมาย [ ] นั้นจะเป็น index เพื่อใช้บอกตาแหน่งของตัว อาร์เรย์นั้นๆ ซึ่งจะเริ่มต้นที่ 0 เสมอ เช่น จากตัวอย่างตัวแปร name ถูกกาหนดขนาดไว้เท่ากับ 5 พื้นที่ที่ ถูกจองก็จะเป็นดังรูป
  • 5. 2. การสร้างอาร์เรย์พร้อมกับกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่ ตอนประกาศตัวแปร โดยค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย{ } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วย เครื่องหมาย , (comma) เช่น int a[] = {10,20,30,40,50 } ; ดังรูป
  • 6. ตัวอย่างโปรแกรม int n[5] = { 5, 3, 2, 6, 1 }; int i , j; for ( i = 0; i < 5; i++ ) { for ( j = 1; j <= n[i]; j++ ) System.out.print( “*” ); System.out.print ( "n" ); }
  • 7. อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุด ที่มีการจัดการข้อมูล แถว (Row) หลัก (Column) ซึ่งอยู่ในรูปแบบ ตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง 2.อาร์เรย์ชนิด 2 มิติ (Two-Dimensional)
  • 8. การกาหนดค่าเริ่มต้น หลังจากที่ได้ทาการประกาศและกาหนดลักษณะของอาร์เรย์แล้วในแต่ละ Element ของอาร์เรย์จะยังไม่มีค่า บรรจุอยู่ ในการกาหนดค่าเริ่มต้นของ Element แต่ละตัวสามารถทาได้หลังจากการประกาศ ตัวอย่างสมมุติว่า ต้องการใช้ 20 ค่า การกาหนดค่าเริ่มต้นแบบทางเดียวจะเป็นดังนี้ int table [5] [4]; = { 0, 1, 2, 3, 10, 11, 12, 13, 20, 21, 22, 23, 30, 31, 32, 33, 40, 41, 42, 43 } ; หรือการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์วิธีที่ดีที่สุดจะเป็นดังนี้ int table [5] [4]; { { 0, 1, 2, 3 }, {10, 11, 12, 13 }, {20, 21, 22, 23 }, {30, 31, 32, 33 }, {40, 41, 42, 43 } }; /* table */
  • 9. การรับค่า เป็นการใช้ฟังก์ชัน scanf มารับค่าใส่ลงในแต่ละ Element ของอาร์เรย์2 มิตินั้น จะต้องใช้ลูป 2 ลูปซ้อน กัน สมมุติว่าอาร์เรย์มีขนาด n m ลูปแรกจะเป็นของแถวโดยจะทาตั้งแต่ 0 ถึง n – 1 ส่วนลูปที่ 2 จะเป็นของ คอลัมน์จะทาตั้งแต่ 0 ถึง m – 1 ถ้าต้องการรับค่าเข้าในอาร์เรย์ในรูปที่ 8-14 สามารถทาได้ดังนี้ for (row = 0; row < 5; row++) for (column = 0; column < 4; column++) scanf (“%d”,&table[row][column]);
  • 10. การแสดงค่า เป็นการนาค่าในแต่ละ Element ออกมาแสดง โดยใช้ลูป for ซ้อนกัน 2 ลูปเข้ามาช่วย โดยลูปแรกจะเป็น ตัวควบคุมการพิมพ์ของแถว และลูปที่ 2 จะเป็นตัวควบคุมการพิมพ์ของคอลัมน์ เมื่อจะพิมพ์อาร์เรย์table ออกมาเป็นรูปแบบตาราง จะต้องทาการขึ้นบรรทัดใหม่ทุกครั้ง เมื่อพิมพ์แต่ละแถวจบ ซึ่งแสดงดังตัวอย่าง ด้านล่าง for (row = 0; row < 5; row++) { for (Colum =0; column < 4; column++) printf(“%8d”, tale[row][column]); printf(“n”); }
  • 12. 3.อาร์เรย์ชนิด 3 มิติ (Three-Dimensional) อาร์เรย์3 มิติ ก็คือ “อาร์เรย์ของอาร์เรย์ของอาร์เรย์” – เข้าถึงสมาชิกด้วย ตัวเลขดัชนี (index) 3 ตัว
  • 13. การกาหนดตัวแปร ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก][จานวนสมาชิก]; การกาหนดค่าให้ตัวแปรอาร์เรย์ 3 มิติ int data[2][3][2] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6}}}; ในกรณีที่ไม่ต้องใส่ขนาดของมิติ int data[ ][ ] = {{{1,1},{2,2},{3,3}},{{4,4},{5,5},{6,6},{7,7}}}; int data[2][3][1] = {{{1},{2},{3}},{{4},{5},{6}}};
  • 14. สตริง(string)หมายถึง ชุด(array) ของตัวอักขระ (character) ที่เรียงต่อกันสตริงจะเป็นคาหรือ ข้อความที่มีความหมายใน C++ ไม่มีชนิดข้อมูล ประเภทstring การกาหนดstringคือการกาหนดเป็น อาร์เรย์ของข้อมูลชนิดchar หลายๆตัวนามาเชื่อมต่อกันเป็นstring เช่น character 'C','o','m','p','u','t','e','r' เก็บไว้ในอาร์เรย์รวมเป็นข้อมูล string ซึ่งจะได้ข้ออค วาม "Computer" ข้อมูลstring เป็นได้ทั้งค่าคงที่ (constant) และตัวแปร(variable) ข้อมูลชนิดสตริง (String)
  • 15. ความยาวสตริง (String Length) เป็นการบอกให้ทราบว่าสตริงตัวนั้นมีตัวอักษรหรือ ความยาว เท่าไร จะกาหนดเป็นฟังก์ชัน Length ที่ส่งค่าความยาวกลับมาให้ ดังนี้ N = Length (S) ; ค่าที่ส่งกลับมาเท่ากับ N รวมสตริง (String Concatenation) เป็นการนา 2 สตริงมารวมกันเป็นสตริงเดียว โดย นาตัวอักษรทั้งหมดของสตริงตัวหลังไปต่อท้ายสตริงตัวแรก กาหนดเป็นฟังก์ชัน Concate ดังนี้ Concate (S, S1);
  • 16. ค่าคงที่สตริงและตัวแปรสตริง (string constants and string variables) ค่าคงที่สตริง คือ ตัวอักขระ (characters) ใด ๆ ที่เขียนอยู่ภายใต้เครื่องหมาย “ “ (double quotation) เช่น “Greeting!” , ”Hello, ” ”SA-WAS-DEE” , “4567” , “123.45” เป็นต้น ตัวแปรสตริง คือ ตัวแปรชุดที่เก็บค่าคงที่ชนิดสตริง โดยมีชนิดของตัวแปรชุด เป็น char เช่น char name[30]=”KANNIKAR”; หรือ char strnum[10]=”12345”; เป็นต้น สาหรับการเก็บค่าคงที่ชนิดสตริงไว้ในตัวแปรสตริงภายในหน่วยความจานั้น จะเก็บเรียงกันไปทีละตัว อักขระ โดยใช้เนื้อที่ 1 byte ต่อการเก็บตัวอักษร 1 ตัว และใน byte สุดท้ายสตริงจะมีการ เก็บ 0 (null character) ไว้เพื่อเป็นการบอกให้ compiler รู้ว่าหมดข้อมูลที่เก็บไว้แล้ว