SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 6

                          หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ
รหัสวิชา ส22103 รายวิชา สั งคมศึกษา 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2             ภาคเรียนที่ 2                        เวลาเรียน 10 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วดั
         มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1
                  ม.2/9 เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรี ยนรู ้และดาเนินชีวตด้วยวิธีคิดแบบ
                                                                              ิ
โยโสมนสิ การ คือวิธีคิดแบบปลุกเร้าคุ ณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถสัมพันธ์หรื อการพัฒนาจิตตาม
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
                  ม.2/10 สวดมนต์ แผ่เมตตา บริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาด้วยอานาปานสติหรื อ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
         มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.2
                  ม.2/1 ปฏิบติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ
                                  ั
                  ม.2/2 มีมรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดีตามที่กาหนด
                  ม.2/3 วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธีและปฏิบติตนได้ถูกต้อง
                                                              ั
                  ม.2/4 อธิ บายคาสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทางศาสนาและปฏิบติตนได้ถูกต้อง
                                                                                  ั
                  ม.2/5 อธิ บายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนวปฏิบติของศาสนาอื่น
                                                                                ั
ๆ เพื่อนาไปสู่ การยอมรับและความเข้าใจซึ่ งกันและกัน
สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
         การปฏิบติตนให้ถูกต้องเหมาะสมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธีต่าง ๆ
                  ั
นอกจากจะแสดงถึงความมีวฒนธรรมของชาวพุทธแล้ว ยังเป็ นหน้าที่ที่ชาวพุทธควรปฏิบติเพื่อ
                              ั                                                         ั
จรรโลงพระพุทธศาสนาและอนุรักษ์วฒนธรรมไทยให้เป็ นเอกลักษณ์ของชาติสืบไป
                                       ั
สาระการเรียนรู้
         สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
         1.พัฒนาการเรี ยนรู้ดวยวิธีคิดแบบโยโสมนสิ การ 2 วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้า
                                ้
คุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถสัมพันธ์
         2.สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา รู ้และเข้าใจวิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หารจิตและ
                                                           ั
เจริ ญปัญญา
3.มารยาทของศาสนิกชน
        4.การปฏิบติตนอย่างเหมาะสมตามศาสนพิธี
                        ั
        5.หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัยทางศาสนา
        6.ศาสนพิธี พิธีกรรม แนวปฏิบติของศาสนาอื่น ๆ
                                             ั
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
        1.ความสามารถในการแก้ปัญหา
        2.ความสามารถในการคิด
 -                   ทักษะการคิดวิเคราะห์
 -                   ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณิ
 -                   ทักษะการคิดสังเคราะห์
        3.ความสามารถในการใช้ชีวต           ิ
 -                   กระบวนการปฏิบติ     ั
 -                   กระบวนการกลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        1.ซื่อสัตย์ สุ จริ ต
        2.ใฝ่ เรี ยนรู้
        3.มุ่งมันในการทางาน
                  ่
ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
                    1.เรี ยงความเรื่ อง “การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา”
                                                   ั
การวัดและการประเมินผล
        การประเมินก่อนเรียน
 -                   ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 6 ปฏิบติดี ปฏิบติชอบ
                                                                              ั    ั
        การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                    1.ใบงานที่ 6.1 การบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา
                    2.ใบงานที่ 6.2 รายงานผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ
                                                         ั
                    3.ใบงานที่ 6.3 แผนภาพสรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา
                    4.ใบงานที่ 6.4 วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
                    5.ใบงานที่ 6.5 หลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
                    6.ใบงานที่ 6.6 การปฏิบติตามหลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
                                                 ั
                    7.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
8.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
             9. แบบประเมินชิ้นงานเรี ยงความเรื่ อง “การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญ
                                                           ั
       ทางศาสนา”

       การประเมินผลหลังเรียน
 -               ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 6 ปฏิบติดี ปฏิบติชอบ
                                                                      ั        ั
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
       1.เรี ยงความเรื่ อง “การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา”
                                   ั
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
         แบบประเมินเรียงความเรื่อง “การปฏิบัติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา
                        สมาชิกกลุ่มที………………… ห้ อง...............................
                                     ่
 เพือนในกลุ่มประเมิน
     ่
ลาดับ                    ชื่ อ สกุล                              รายการประเมินการเขียน
  ที่                                                 รู ปแบบและ เรียงลาดับ การใช้ รวม        เฉลีย
                                                                                                  ่
                                                     ส่ วนประกอบ ความ        สานวน
                                                           10        10        10      30      10




 ครู ประเมิน
ลาดับ                    ชื่ อ สกุล                              รายการประเมินการเขียน
  ที่                                                 รู ปแบบและ เรียงลาดับ การใช้ รวม        เฉลีย
                                                                                                  ่
                                                     ส่ วนประกอบ ความ        สานวน
                                                           10        10        10      30      10




    ลงชื่อ…………….…ผู ประเมิน
                    ้                          เกณฑ์ การ            ลงชื่อ…………….…ผู ประเมิน
                                                                                    ้
ประเมิน
 รู ปแบบและส่ วนประกอบ           การสะกดคา                ความสมบูรณ์ ของเนือหา
                                                                            ้             คะแนน
รู ปแบบการเขียนเรี ยงความ   สะกดคาถูกต้องทั้งหมด         เนื้อหาครบ สานวนการ               8-10
ถูกต้อง มีบทนา เนื้อหา                                   เขียนดีมีความคิด
และบทสรุ ปครบ                                            สร้างสรรค์
มีบทนา เนื้อหา และ          สะกดคาผิดบ้างเล็กน้อย        เนื้อหาเกือบครบสมบูรณ์             5-7
บทสรุ ปไม่ครบ
รู ปแบบการเขียนไม่          สะกดคาผิดมากหลาย             เนื้อหาไม่ครบ                      0-4
ถูกต้อง ไม่มีบทนา เนื้อหา   ตาแหน่ง
และบทสรุ ป


กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1-2
          1.ให้นกเรี ยนดูวดทัศน์ การนังสมาธิ แล้วพูดคุยซักถามให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นใน
                      ั            ิ           ่                          ั
ประเด็นต่อไปนี้
 -                        นักเรี ยนเคยนังสมาธิ หรื อไม่
                                        ่
 -                        การนังสมาธิ มีจุดมุ่งหมายใด
                                 ่
 -                        ขั้นตอนการนังสมาธิ ที่นกเรี ยนเคยปฏิบติมามีข้ นตอนอย่างไร
                                          ่        ั           ั        ั
          2.ให้นกเรี ยนศึกษาเนื้อหาเรื่ อง การบริ หารจิต และเจริ ญปัญญา แล้วทาใบงานที่ 6.1 การ
                    ั
บริ หารจิตเจริ ญปัญญา
          3. นาวิดีทศน์แนวทางหรื อวิธีการการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติมาให้นกเรี ยน
                          ั                                ั                             ั
ปฏิบติตาม
      ั
          4. นักเรี ยนบันทึกผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติลงในใบงานที่ 6.2 รายงาน
                                                 ั
ผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ
                  ั
          5.สุ่ มนักเรี ยน 3-5 คน นาเสนอผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ
                                                             ั
          6.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมถึงความสาคัญของการฝึ ก
บริ หารจิตและเจริ ญปัญญา พร้อมทั้งประโยชน์ท่ีได้รับ
          7.ให้นกเรี ยนแต่ละคนตอบคาถามต่อไปนี้ลงในสมุด
                        ั
 -                        การบริ หารจิตทาให้เกิดปั ญญาอย่างไร
-                                                         ั
                       การบริ หารจิตตามหลักอานาปานสติกบการเจริ ญปั ญญาด้วยวิธีคิดแบบโยโส
มนสิ การมีความเหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร
 -                     ความไม่สงบของจิตใจของคนก่อให้เกิดปั ญหาในสังคมได้หรื อไม่ อย่างไร
 -                     ปัญหาด้านจิตใจส่ งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศได้หรื อไม่ อย่างไร
 -                     ประโยชน์ของการบริ หารจิตตามหลักอานาปานสติและการเจริ ญ ปัญญาด้วยวิธี
คิดแบบโยโสมนสิ การ ที่มีต่อนักเรี ยนคืออะไร
           8.นักเรี ยนรวมกลุ่มกันเป็ น 5 กลุ่ม นาคาตอบมาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กน
                                                                             ั
           9.ตัวแทนกลุ่มนาคาตอบของกลุ่มมานาเสนอ ครู แนะนา และตอบข้อสงสัยของนักเรี ยน
           10.นักเรี ยนแต่ละคนสรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญาลงในใบงานที่ 6.3 แผนภาพ
สรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา
ชั่วโมงที่ 3-4
           11.ใช้กิจกรรมเกมจับคู่ โดยให้นกเรี ยนจับคู่ภาพวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาและป้ าย
                                              ั
ข้อความ ดังนี้
                               ภาพ                             ป้ าย
 -                     ภาพวันมาฆบูชา                  วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 3
 -                     ภาพวันวิสาขบูชา                วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 6
 -                     ภาพวันอาสาฬหบูชา               วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 8
 -                     ภาพวันอัฏฐมีบูชา               วันแรม 8 ค่า เดือน 6
                                                      วันจาตุรงคสันนิบาต
                                                      วันประสู ติ ตรัสรู้ และปริ นิพพาน
                                                      วันแสดงปฐมเทศนา
                                                      วันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรี ระ
           12.สนทนาซักถามถึงความสาคัญของวันดังกล่าว
           13.สุ่ มนักเรี ยน 4 คนออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบติตนในวันสาคัญทาง
                                                                          ั
พระพุทธศาสนา และเทศกาลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
           14.ให้นกเรี ยนศึกษาวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีและการปฏิบติตนตาม
                     ั                                                               ั
พิธีกรรมทางศาสนา
           15.นักเรี ยนทาใบงานที่ 6.4 วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
           16.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน
ชั่วโมงที่ 5-6
          17.แบ่งนักเรี ยนเป็ น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายในประเด็นปัญหาต่อไปนี้
 -                   กลุ่มที่ 1 “วันสาคัญทางศาสนามีความสาคัญต่อชาวพุทธอย่างไร”
 -                   กลุ่มที่ 2 “การปฏิบติตนในการเข้าร่ วมกิจกรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาที่
                                           ั
ถูกต้องเหมาะสมมีแนวปฏิบติอย่างไร”ั
 -                   กลุ่มที่ 3 “การปฏิบติตนตามหลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทาง
                                             ั
พระพุทธศาสนาเกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมอย่างไร”
 -                   กลุ่มที่ 4 “พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาที่นกเรี ยนเคยเข้าร่ วมคือมีการปฏิบติ
                                                                ั                          ั
อย่างไร”
 -                   กลุ่มที่ 5 “ถ้าพุทธศาสนิกชนปฏิบติตนถูกต้องในศาสนพิธีต่าง ๆ มีผลต่อสังคม
                                                        ั
และประเทศชาติอย่างไร”
          18.ให้ตวแทนกลุ่มนาเสนอผลการอภิปรายของกลุ่ม จากนั้นร่ วมกันอภิปรายเพิ่มเติมจน
                  ั
ครบทั้ง 5 คาถาม
          19.นักเรี ยนทาใบงานที่ 6.5 หลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และใบงานที่ 6.6
การปฏิบติตนตามหลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
           ั
ชั่วโมงที่ 7-10
          20.แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเป็ น 7 กลุ่ม ศึกษาขั้นตอนการปฏิบติศาสนพิธี ดังนี้
                                                                    ั
 -                   กลุ่มที่ 1 การบูชาพระรัตนตรัย การอาราธนาศีล การสมาทานศีล
 -                   กลุ่มที่ 2 การกล่าวคาถวายภัตตาหาร การถวายภัตตาหาร
 -                   กลุ่มที่ 3 การกล่าวคาถวายสังฆทาน การถวายสังฆทาน
 -                   กลุ่มที่ 4 การกล่าวคาถวายผ้าป่ า การถวายผ้าป่ า
 -                   กลุ่มที่ 5 การกรวดน้ า การรับพร
 -                   กลุ่มที่ 6 การอาราธนาธรรม การฟังธรรม
 -                   กลุ่มที่ 7 การทาบุญตักบาตร
          21.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มสาธิ ตการปฏิบติศาสนพิธีที่ได้รับมอบหมายหน้าชั้นเรี ยน ครู และ
                                                 ั
นักเรี ยนร่ วมกันประเมิน
          22.นักเรี ยนเขียนเรี ยงความ เรื่ อง“การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา”
                                                      ั
          23.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินเรี ยงความโดยใช้แบบประเมิน และนาผลงานที่ผลการ
ประเมินสู งลาดับ 1-10 แสดงที่ป้ายนิเทศ
          24.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 10 ปฏิบติดี ปฏิบติชอบ
                                                                  ั       ั
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้
           สื่ อการเรียนรู้
           1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
           2.ใบงานที่ 6.1 การบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา
           3.ใบงานที่ 6.2 รายงานผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ
                                                 ั
           4.ใบงานที่ 6.3 แผนภาพสรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา
           5.ใบงานที่ 6.4 วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
           6.ใบงานที่ 6.5 หลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
           7.ใบงานที่ 6.6 การปฏิบติตามหลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
                                    ั
           8.วิดิทศน์การนังสมาธิ
                   ั        ่
           9.ภาพและแผ่นป้ ายวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
           แหล่ งเรียนรู้
           1.ห้องสมุด
           2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
           http://www.aksom.com/Lib/S/Soc_03
           http://www.dip.go.th
           http://www.thaibdc.or.th
           http://www.money.mweb.co.th/

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3tassanee chaicharoen
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 

Mais procurados (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
แผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนาแผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 

Semelhante a หน่วยที่๑๐

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่tassanee chaicharoen
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 

Semelhante a หน่วยที่๑๐ (20)

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51
 
Event
EventEvent
Event
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 

Mais de นันทนา วงศ์สมิตกุล

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 

Mais de นันทนา วงศ์สมิตกุล (10)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 

หน่วยที่๑๐

  • 1. แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 6 หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ รหัสวิชา ส22103 รายวิชา สั งคมศึกษา 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 10 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1 ม.2/9 เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรี ยนรู ้และดาเนินชีวตด้วยวิธีคิดแบบ ิ โยโสมนสิ การ คือวิธีคิดแบบปลุกเร้าคุ ณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถสัมพันธ์หรื อการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ม.2/10 สวดมนต์ แผ่เมตตา บริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาด้วยอานาปานสติหรื อ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.2 ม.2/1 ปฏิบติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ ั ม.2/2 มีมรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดีตามที่กาหนด ม.2/3 วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธีและปฏิบติตนได้ถูกต้อง ั ม.2/4 อธิ บายคาสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทางศาสนาและปฏิบติตนได้ถูกต้อง ั ม.2/5 อธิ บายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนวปฏิบติของศาสนาอื่น ั ๆ เพื่อนาไปสู่ การยอมรับและความเข้าใจซึ่ งกันและกัน สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การปฏิบติตนให้ถูกต้องเหมาะสมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธีต่าง ๆ ั นอกจากจะแสดงถึงความมีวฒนธรรมของชาวพุทธแล้ว ยังเป็ นหน้าที่ที่ชาวพุทธควรปฏิบติเพื่อ ั ั จรรโลงพระพุทธศาสนาและอนุรักษ์วฒนธรรมไทยให้เป็ นเอกลักษณ์ของชาติสืบไป ั สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง 1.พัฒนาการเรี ยนรู้ดวยวิธีคิดแบบโยโสมนสิ การ 2 วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้า ้ คุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถสัมพันธ์ 2.สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา รู ้และเข้าใจวิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หารจิตและ ั เจริ ญปัญญา
  • 2. 3.มารยาทของศาสนิกชน 4.การปฏิบติตนอย่างเหมาะสมตามศาสนพิธี ั 5.หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัยทางศาสนา 6.ศาสนพิธี พิธีกรรม แนวปฏิบติของศาสนาอื่น ๆ ั สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ 3.ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการกลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.ซื่อสัตย์ สุ จริ ต 2.ใฝ่ เรี ยนรู้ 3.มุ่งมันในการทางาน ่ ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.เรี ยงความเรื่ อง “การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา” ั การวัดและการประเมินผล การประเมินก่อนเรียน - ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 6 ปฏิบติดี ปฏิบติชอบ ั ั การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.ใบงานที่ 6.1 การบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา 2.ใบงานที่ 6.2 รายงานผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ ั 3.ใบงานที่ 6.3 แผนภาพสรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา 4.ใบงานที่ 6.4 วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา 5.ใบงานที่ 6.5 หลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา 6.ใบงานที่ 6.6 การปฏิบติตามหลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ั 7.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
  • 3. 8.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 9. แบบประเมินชิ้นงานเรี ยงความเรื่ อง “การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญ ั ทางศาสนา” การประเมินผลหลังเรียน - ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 6 ปฏิบติดี ปฏิบติชอบ ั ั การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.เรี ยงความเรื่ อง “การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา” ั
  • 4. การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) แบบประเมินเรียงความเรื่อง “การปฏิบัติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา สมาชิกกลุ่มที………………… ห้ อง............................... ่  เพือนในกลุ่มประเมิน ่ ลาดับ ชื่ อ สกุล รายการประเมินการเขียน ที่ รู ปแบบและ เรียงลาดับ การใช้ รวม เฉลีย ่ ส่ วนประกอบ ความ สานวน 10 10 10 30 10  ครู ประเมิน ลาดับ ชื่ อ สกุล รายการประเมินการเขียน ที่ รู ปแบบและ เรียงลาดับ การใช้ รวม เฉลีย ่ ส่ วนประกอบ ความ สานวน 10 10 10 30 10 ลงชื่อ…………….…ผู ประเมิน ้ เกณฑ์ การ ลงชื่อ…………….…ผู ประเมิน ้
  • 5. ประเมิน รู ปแบบและส่ วนประกอบ การสะกดคา ความสมบูรณ์ ของเนือหา ้ คะแนน รู ปแบบการเขียนเรี ยงความ สะกดคาถูกต้องทั้งหมด เนื้อหาครบ สานวนการ 8-10 ถูกต้อง มีบทนา เนื้อหา เขียนดีมีความคิด และบทสรุ ปครบ สร้างสรรค์ มีบทนา เนื้อหา และ สะกดคาผิดบ้างเล็กน้อย เนื้อหาเกือบครบสมบูรณ์ 5-7 บทสรุ ปไม่ครบ รู ปแบบการเขียนไม่ สะกดคาผิดมากหลาย เนื้อหาไม่ครบ 0-4 ถูกต้อง ไม่มีบทนา เนื้อหา ตาแหน่ง และบทสรุ ป กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-2 1.ให้นกเรี ยนดูวดทัศน์ การนังสมาธิ แล้วพูดคุยซักถามให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นใน ั ิ ่ ั ประเด็นต่อไปนี้ - นักเรี ยนเคยนังสมาธิ หรื อไม่ ่ - การนังสมาธิ มีจุดมุ่งหมายใด ่ - ขั้นตอนการนังสมาธิ ที่นกเรี ยนเคยปฏิบติมามีข้ นตอนอย่างไร ่ ั ั ั 2.ให้นกเรี ยนศึกษาเนื้อหาเรื่ อง การบริ หารจิต และเจริ ญปัญญา แล้วทาใบงานที่ 6.1 การ ั บริ หารจิตเจริ ญปัญญา 3. นาวิดีทศน์แนวทางหรื อวิธีการการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติมาให้นกเรี ยน ั ั ั ปฏิบติตาม ั 4. นักเรี ยนบันทึกผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติลงในใบงานที่ 6.2 รายงาน ั ผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ ั 5.สุ่ มนักเรี ยน 3-5 คน นาเสนอผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ ั 6.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมถึงความสาคัญของการฝึ ก บริ หารจิตและเจริ ญปัญญา พร้อมทั้งประโยชน์ท่ีได้รับ 7.ให้นกเรี ยนแต่ละคนตอบคาถามต่อไปนี้ลงในสมุด ั - การบริ หารจิตทาให้เกิดปั ญญาอย่างไร
  • 6. - ั การบริ หารจิตตามหลักอานาปานสติกบการเจริ ญปั ญญาด้วยวิธีคิดแบบโยโส มนสิ การมีความเหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร - ความไม่สงบของจิตใจของคนก่อให้เกิดปั ญหาในสังคมได้หรื อไม่ อย่างไร - ปัญหาด้านจิตใจส่ งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศได้หรื อไม่ อย่างไร - ประโยชน์ของการบริ หารจิตตามหลักอานาปานสติและการเจริ ญ ปัญญาด้วยวิธี คิดแบบโยโสมนสิ การ ที่มีต่อนักเรี ยนคืออะไร 8.นักเรี ยนรวมกลุ่มกันเป็ น 5 กลุ่ม นาคาตอบมาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กน ั 9.ตัวแทนกลุ่มนาคาตอบของกลุ่มมานาเสนอ ครู แนะนา และตอบข้อสงสัยของนักเรี ยน 10.นักเรี ยนแต่ละคนสรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญาลงในใบงานที่ 6.3 แผนภาพ สรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา ชั่วโมงที่ 3-4 11.ใช้กิจกรรมเกมจับคู่ โดยให้นกเรี ยนจับคู่ภาพวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาและป้ าย ั ข้อความ ดังนี้ ภาพ ป้ าย - ภาพวันมาฆบูชา วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 3 - ภาพวันวิสาขบูชา วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 6 - ภาพวันอาสาฬหบูชา วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 8 - ภาพวันอัฏฐมีบูชา วันแรม 8 ค่า เดือน 6 วันจาตุรงคสันนิบาต วันประสู ติ ตรัสรู้ และปริ นิพพาน วันแสดงปฐมเทศนา วันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรี ระ 12.สนทนาซักถามถึงความสาคัญของวันดังกล่าว 13.สุ่ มนักเรี ยน 4 คนออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบติตนในวันสาคัญทาง ั พระพุทธศาสนา และเทศกาลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา 14.ให้นกเรี ยนศึกษาวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีและการปฏิบติตนตาม ั ั พิธีกรรมทางศาสนา 15.นักเรี ยนทาใบงานที่ 6.4 วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา 16.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน
  • 7. ชั่วโมงที่ 5-6 17.แบ่งนักเรี ยนเป็ น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายในประเด็นปัญหาต่อไปนี้ - กลุ่มที่ 1 “วันสาคัญทางศาสนามีความสาคัญต่อชาวพุทธอย่างไร” - กลุ่มที่ 2 “การปฏิบติตนในการเข้าร่ วมกิจกรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาที่ ั ถูกต้องเหมาะสมมีแนวปฏิบติอย่างไร”ั - กลุ่มที่ 3 “การปฏิบติตนตามหลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทาง ั พระพุทธศาสนาเกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมอย่างไร” - กลุ่มที่ 4 “พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาที่นกเรี ยนเคยเข้าร่ วมคือมีการปฏิบติ ั ั อย่างไร” - กลุ่มที่ 5 “ถ้าพุทธศาสนิกชนปฏิบติตนถูกต้องในศาสนพิธีต่าง ๆ มีผลต่อสังคม ั และประเทศชาติอย่างไร” 18.ให้ตวแทนกลุ่มนาเสนอผลการอภิปรายของกลุ่ม จากนั้นร่ วมกันอภิปรายเพิ่มเติมจน ั ครบทั้ง 5 คาถาม 19.นักเรี ยนทาใบงานที่ 6.5 หลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และใบงานที่ 6.6 การปฏิบติตนตามหลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ั ชั่วโมงที่ 7-10 20.แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเป็ น 7 กลุ่ม ศึกษาขั้นตอนการปฏิบติศาสนพิธี ดังนี้ ั - กลุ่มที่ 1 การบูชาพระรัตนตรัย การอาราธนาศีล การสมาทานศีล - กลุ่มที่ 2 การกล่าวคาถวายภัตตาหาร การถวายภัตตาหาร - กลุ่มที่ 3 การกล่าวคาถวายสังฆทาน การถวายสังฆทาน - กลุ่มที่ 4 การกล่าวคาถวายผ้าป่ า การถวายผ้าป่ า - กลุ่มที่ 5 การกรวดน้ า การรับพร - กลุ่มที่ 6 การอาราธนาธรรม การฟังธรรม - กลุ่มที่ 7 การทาบุญตักบาตร 21.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มสาธิ ตการปฏิบติศาสนพิธีที่ได้รับมอบหมายหน้าชั้นเรี ยน ครู และ ั นักเรี ยนร่ วมกันประเมิน 22.นักเรี ยนเขียนเรี ยงความ เรื่ อง“การปฏิบติตนของเยาวชนในวันสาคัญทางศาสนา” ั 23.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินเรี ยงความโดยใช้แบบประเมิน และนาผลงานที่ผลการ ประเมินสู งลาดับ 1-10 แสดงที่ป้ายนิเทศ 24.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 10 ปฏิบติดี ปฏิบติชอบ ั ั
  • 8. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ 1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2.ใบงานที่ 6.1 การบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา 3.ใบงานที่ 6.2 รายงานผลการฝึ กปฏิบติสมาธิตามหลักอานาปานสติ ั 4.ใบงานที่ 6.3 แผนภาพสรุ ปเรื่ องการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา 5.ใบงานที่ 6.4 วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา 6.ใบงานที่ 6.5 หลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา 7.ใบงานที่ 6.6 การปฏิบติตามหลักธรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ั 8.วิดิทศน์การนังสมาธิ ั ่ 9.ภาพและแผ่นป้ ายวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา แหล่ งเรียนรู้ 1.ห้องสมุด 2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.aksom.com/Lib/S/Soc_03 http://www.dip.go.th http://www.thaibdc.or.th http://www.money.mweb.co.th/