SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) เป็นระบบพื้นฐาน
ของการทางานต่างๆ ในรูปแบบของการเก็บ (input) การจัดการ (processing)
เผยแพร่ (output) และมีส่วนเก็บข้อมูล (storage)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ(ต่อ)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วย บุคลากร,
กระบวนการ, ซอฟต์แวร์, ฮาร์ดแวร์, ข้อมูล , เครือข่าย
เป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ เพราะการใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรม
ดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทาด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่อง
คอมพิวเตอร์มากนัก ดังนั้นเราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ
ระบบสารสนเทศด้วย
กระบวนการ (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจน
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์
ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย
หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการรวบรวม
และจัดทาให้เป็นรูปเล่ม
Software (ซอฟต์แวร์) เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่เราไม่สามารถสัมผัส
จับต้องได้โดยตรง เป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์
ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ให้สามารถ
เข้าใจกันได้
ซอฟต์แวร์ (Software) แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้) และ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (มนุษย์ใช้)
1. ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software)
คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอย
ควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือ
โปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนในภาษาระดับ
สูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น
Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสาหรับระบบด้วยเช่นกัน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร
บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ
บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทา
สินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ
หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของ
โปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้
ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
2.3 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทาไว้ เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ
ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลง
หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายใน
การเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสาเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งาน
ในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชานาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึง
เป็นสิ่งที่อานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office,
Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น
ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่อง เช่น จอภาพ
คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทางาน ได้
4 หน่วย คือ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยรับข้อมูล (Input
Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์
แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน ดังนี้
1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU : Central Processing Unit ) หรือมักจะเรียกอีกอย่างหนึ่ง
ว่าไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคานวณและ
เปรียบเทียบ
2. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ใน
การป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่ แป้นพิมพ์ สาหรับพิมพ์ตัวอักษรและอักขระต่าง ๆ เมาส์สาหรับคลิก
สั่งงานโปรแกรม สแกนเนอร์สาหรับสแกนรูปภาพ จอยสติ๊ก สาหรับเล่นเกมส์ ไมโครโฟนสาหรับพูดอัดเสียง และ
กล้องดิจิตอลสาหรับถ่ายภาพ และนาเข้าไปเก็บไว้ ในดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนาไปใช้งานต่อไป
3. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล (Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผ่านการประมวลผลในรูปของ ข้อความ
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวหรือ เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแสดงผลได้แก่ จอภาพ (Monitor) สาหรับ
แสดงตัวอักษรและรูปภาพ เครื่องพิมพ์ (Printer) สาหรับพิมพ์ข้อมูลที่อยู่ในเครื่อง ออกทางกระดาษพิมพ์ ลาโพง
(Speaker) แสดงเสียงเพลงและคาพูด เป็นต้น
4. หน่วยความจา (Memory Unit)
• หน่วยความจา (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจาข้อมูล ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดคือ
หน่วยความถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่สามารถจาข้อมูลได้ตลอดเวลา ส่วน
หน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจาชั่วคราว (RAM : Random Access Memory) หน่วยความจา
ประเภทนี้ จะจาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิดไฟเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น หน่วยความจาชั่วคราว ถือว่า
เป็นหน่วยความจาหลักภายในเครื่อง สามารถซื้อมาติดตั้งเพิ่มเติมได้ เรียกกันทั่วไปคือหน่วยความจาแรม ที่ใช้
ในปัจจุบันคือ แรมแบบ SDRAM , RDRAM เป็นต้น
5. หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage)
หน่วยความจาสารองคืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป เนื่องจากหน่วยความจาแรม จา
ข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มีการเปิดไฟ เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ถ้าต้องการเก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป จะต้อง
บันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจาสารอง ซึ่งหน่วยความจาสารองมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน แต่มีนิยมใช้กันทั่วไปคือ
ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม ทัมท์ไดร์ฟ เป็นต้น
คือ ข้อเท็จจริงที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วเรียกว่า สารสนเทศ
ข้อมูลจะเก็บไว้เป็นไฟล์ ซึ่งไฟล์ข้อมูลพื้นฐานมี 4 ประเภท คือ ไฟล์เอกสาร ไฟล์แผ่นตารางทาการ ไฟล์
ฐานข้อมูล และไฟล์การนาเสนอ
ข้อมูล อาจจะเป็นข้อความ ตัวเลข รูปภาพ หรือเสียงก็ได้ ข้อมูลที่เก็บอยู่ในรูปของไฟล์
อิเล็กทรอนิกส์ สามารถใช้เป็นข้อมูลเข้าโดยตรงของระบบสารสนเทศได้
1. รศ.ยาใจ โรจนวงศ์ชัยและคณะ. (2550). คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่.
สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล.
2. ธีรวุทธ ปัทมวิบูลย์ และคณะ. (2545). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. มปท.
3. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. “คอมพิวเตอร์” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E
0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C สืบค้น 15 ธันวาคม
2557

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Pavinee Weeranitiwechasarn
 
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...เจษฎา วงค์ปัน
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์วชรพล สาระศาลิน
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Otorito
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Otorito
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111ratsamee
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์Por Oraya
 

Mais procurados (18)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
 

Semelhante a องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกphatcharaphon srikaew
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์korn27122540
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4tttotongg
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]chawisa44361
 
องค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศองค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศduangnapa27
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4Kru Jhair
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3ratiporn555
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3niramon_gam
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เกี่ยวกับบล็อก
ความรู้เกี่ยวกับบล็อกความรู้เกี่ยวกับบล็อก
ความรู้เกี่ยวกับบล็อกE Ka Poopriew
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Nu Mai Praphatson
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24Ilhyna
 
10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_nSumeth Tong-on
 

Semelhante a องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมก
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]
 
องค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศองค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศ
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ความรู้เกี่ยวกับบล็อก
ความรู้เกี่ยวกับบล็อกความรู้เกี่ยวกับบล็อก
ความรู้เกี่ยวกับบล็อก
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
 
10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n
 

องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 2. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) เป็นระบบพื้นฐาน ของการทางานต่างๆ ในรูปแบบของการเก็บ (input) การจัดการ (processing) เผยแพร่ (output) และมีส่วนเก็บข้อมูล (storage)
  • 4. เป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ เพราะการใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรม ดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทาด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่อง คอมพิวเตอร์มากนัก ดังนั้นเราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ ระบบสารสนเทศด้วย
  • 5. กระบวนการ (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์ ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการรวบรวม และจัดทาให้เป็นรูปเล่ม
  • 6. Software (ซอฟต์แวร์) เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่เราไม่สามารถสัมผัส จับต้องได้โดยตรง เป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ให้สามารถ เข้าใจกันได้
  • 7. ซอฟต์แวร์ (Software) แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (มนุษย์ใช้) 1. ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอย ควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือ โปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนในภาษาระดับ สูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสาหรับระบบด้วยเช่นกัน
  • 8. 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทา สินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของ โปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
  • 9. 2.3 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทาไว้ เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายใน การเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสาเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งาน ในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชานาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึง เป็นสิ่งที่อานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น
  • 10. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่อง เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์ แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน ดังนี้
  • 11. 1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU : Central Processing Unit ) หรือมักจะเรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่าไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคานวณและ เปรียบเทียบ
  • 12. 2. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ใน การป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่ แป้นพิมพ์ สาหรับพิมพ์ตัวอักษรและอักขระต่าง ๆ เมาส์สาหรับคลิก สั่งงานโปรแกรม สแกนเนอร์สาหรับสแกนรูปภาพ จอยสติ๊ก สาหรับเล่นเกมส์ ไมโครโฟนสาหรับพูดอัดเสียง และ กล้องดิจิตอลสาหรับถ่ายภาพ และนาเข้าไปเก็บไว้ ในดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนาไปใช้งานต่อไป
  • 13. 3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผ่านการประมวลผลในรูปของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวหรือ เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแสดงผลได้แก่ จอภาพ (Monitor) สาหรับ แสดงตัวอักษรและรูปภาพ เครื่องพิมพ์ (Printer) สาหรับพิมพ์ข้อมูลที่อยู่ในเครื่อง ออกทางกระดาษพิมพ์ ลาโพง (Speaker) แสดงเสียงเพลงและคาพูด เป็นต้น
  • 14. 4. หน่วยความจา (Memory Unit) • หน่วยความจา (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจาข้อมูล ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดคือ หน่วยความถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่สามารถจาข้อมูลได้ตลอดเวลา ส่วน หน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจาชั่วคราว (RAM : Random Access Memory) หน่วยความจา ประเภทนี้ จะจาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิดไฟเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น หน่วยความจาชั่วคราว ถือว่า เป็นหน่วยความจาหลักภายในเครื่อง สามารถซื้อมาติดตั้งเพิ่มเติมได้ เรียกกันทั่วไปคือหน่วยความจาแรม ที่ใช้ ในปัจจุบันคือ แรมแบบ SDRAM , RDRAM เป็นต้น
  • 15. 5. หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) หน่วยความจาสารองคืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป เนื่องจากหน่วยความจาแรม จา ข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มีการเปิดไฟ เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ถ้าต้องการเก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป จะต้อง บันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจาสารอง ซึ่งหน่วยความจาสารองมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน แต่มีนิยมใช้กันทั่วไปคือ ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม ทัมท์ไดร์ฟ เป็นต้น
  • 16. คือ ข้อเท็จจริงที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วเรียกว่า สารสนเทศ ข้อมูลจะเก็บไว้เป็นไฟล์ ซึ่งไฟล์ข้อมูลพื้นฐานมี 4 ประเภท คือ ไฟล์เอกสาร ไฟล์แผ่นตารางทาการ ไฟล์ ฐานข้อมูล และไฟล์การนาเสนอ ข้อมูล อาจจะเป็นข้อความ ตัวเลข รูปภาพ หรือเสียงก็ได้ ข้อมูลที่เก็บอยู่ในรูปของไฟล์ อิเล็กทรอนิกส์ สามารถใช้เป็นข้อมูลเข้าโดยตรงของระบบสารสนเทศได้
  • 17. 1. รศ.ยาใจ โรจนวงศ์ชัยและคณะ. (2550). คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่. สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล. 2. ธีรวุทธ ปัทมวิบูลย์ และคณะ. (2545). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. มปท. 3. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. “คอมพิวเตอร์” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E 0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C สืบค้น 15 ธันวาคม 2557