SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
โครงการพัฒนาโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
         “เยาวชนไทย ทำาดี ถวายในหลวง”
               ปีการศึกษา ๒๕๕๑
        •   นวัตกรรมการเรียนรู้โครงงานคุณธรรม ๕ แบบ
            1.   โครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
            2.   โครงงานสื่อคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
            3.   โครงงานวิทย์-คุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
            4.   โครงงานธุรกิจคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
            5.   โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ

ส่วนกลาง มีการจัดประกวดเฉพาะโครงงานคุณธรรม
เฉลิมพระเกียรติ ระดับมัธยมศึกษาเป็นภารกิจหลักเหมือนกับการ
จัดประกวดในปีการศึกษา ๒๕๔๙ – ๕๐ ที่ผานมา ปฏิทินการทำางาน
                                       ่
ของแต่ละเขตพื้นที่การศึกษายังคงคล้ายกับปี ๒๕๕๐ ที่ผ่านมา
ส่วนการประกวดโครงงานคุณธรรม ระดับประถมศึกษา ในส่วน
กลางจะไปเข้าช่องทางการประเมิน โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม
เฉลิมพระเกียรติแทน

สำาหรับนวัตกรรมโครงงานแบบอื่นๆ จะเป็นไปในลักษณะโครงการย่อย
ดังนี้
โครงงานสื่อคุณธรรม เป็นไปในลักษณะให้ถ่ายทำาสื่อ-สารคดีสั้น
โครงงานคุณธรรมแล้วส่งเข้ามาประกวด และจะมีการจัดอบรมค่าย
เยาวชนค้นธรรมนำาสื่อความดีตามภูมิภาคต่างๆ
โครงงานวิทย์-คุณธรรม เป็นไปในลักษณะการสรรหาและเสนอชื่อ
มาเพื่อสุ่มตรวจประเมินแล้วให้เกียรติบัตร แล้วเลือกหยิบโครงงานที่
โดดเด่นขึ้นมาเป็นตัวอย่างเสนอผู้ใหญ่ของ สพฐ. และเผยแพร่ผานสื่อ   ่
ไม่ได้เป็นไปในลักษณะการจัดประกวด
โครงงานธุรกิจคุณธรรม เป็นไปในลักษณะผสมผสานทั้งรูปแบบการ
สรรหา-เสนอชื่อมาจาก ร.ร./สพท. และรูปแบบการทดลองนำาร่อง
แล้วสุ่มตรวจประเมินเพื่อให้เกียรติบัตร แล้วเลือกหยิบโครงงานที่โดด
เด่นขึ้นมาเป็นตัวอย่างเสนอผู้ใหญ่ของ สพฐ. และเผยแพร่ผ่านสื่อ
ทังนี้ มีแนวโน้มที่จะมีการจัดประกวดเป็นโครงการแยกย่อยไปอีก
  ้
แผนกหนึ่งต่างหาก (กำาลังร่วมมือกับองค์กรธุรกิจเอกชน)
โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม เป็นไปในรูปแบบการสรรหา-เสนอชื่อมา
จาก ร.ร./สพท. มาที่ส่วนกลางเพื่อพิจารณาและเพื่อการสุ่มตรวจ
ประเมินในพื้นที่จริง เพื่อให้เกียรติบัตร/เงินรางวัล แล้วเลือกหยิบ
โรงเรียนที่โดดเด่นขึ้นมาเป็นตัวอย่างเสนอผู้ใหญ่ของ สพฐ. และเผย
แพร่ผ่านสื่อ

  •   ชุดคำาถามการเรียนรู้ต่างกัน
- ระดับประถม มุงให้เด็ก Think Big คิดการใหญ่ ได้ขั้นตอน เป็น
               ่
ระบบ
- ระดับมัธยม + (เพิ่ม) คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดประเมินค่า
คิดแก้ปัญหา ฯลฯ
  •   จุดเน้น - ลักษณะเด่น
      - โครงงานคุณธรรม ระดับประถม
หลายโครงงานย่อยใน ๑ โรงเรียน (อย่างน้อย ๘ โครงงาน)
ประเมินโครงงานระดับประถม ---> ประเมินโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม
เฉลิมพระเกียรติ
= ประเมินโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำา : Buddhist Active Learning
School
      - โครงงานคุณธรรม ระดับมัธยม (นร.ชั้น ม.๓, ม.๔, ม.๕ ดี
ทีสุด เหมาะสมที่สุด)
  ่
เน้น การแก้ปัญหาเร่งด่วนทางศีลธรรม อาทิ ปัญหาเสียตัว ตีกัน
สุรา ยาเสพติด การพนัน ติดเกมส์-อินเตอร์เนต ติดเที่ยว อบายมุข
ครอบครัวไม่อบอุ่น ฯลฯ
และเน้น โครงงานเชิงรุกที่มประเด็นเด่นชัด เช่น การบ่มเพาะจิต
                            ี
อาสา เป็นอาสาสมัครในโรงเรียน วัด ชุมชน โรงพยาบาล ช่วยแก้
ปัญหาไม่มีคนดูแลผู้สูงอายุ ผูป่วย ผู้พิการในชุมชน อนุรักษ์ดูแลแก้
                              ้
ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรต่างๆ ฯลฯ

      - โครงงานสื่อคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
มิใช่แค่ผลิตสื่อ แต่มที่มาของความคิด แผนงาน กระบวนการผลิตสื่อ-
                     ี
นำาไปใช้-ติดตามผล-ประเมินผลว่าสื่อที่ผลิตทำาให้เกิดผลดีอย่างไร จึง
จะมีความเป็นโครงงาน

      - โครงงานวิทย์-คุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
มิใช่แค่ทดลองเสร็จประกวดจบเลิกทำา ไม่จำาเป็นต้องคิดค้นใหม่ก็ได้
แต่เน้นการนำาไปใช้จริงเพื่อพัฒนา-แก้ปัญหาจริงในโรงเรียนหรือ
ชุมชน สร้างจิตสำานึกความมีส่วนร่วมได้ดี (สามารถต่อยอดเป็นโครง
งานธุรกิจคุณธรรม หรือโครงงานคุณธรรมปกติได้)

     - โครงงานธุรกิจคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ (ธุรกิจ 2 ช พอ
เพียง)

                                                                  2
(โครงงานธุรกิจเพื่อพัฒนาชีวิตและชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียง เฉลิมพระเกียรติ)
ธุรกิจทีไม่ได้เน้นผลกำาไรสูงสุด เน้น “ประโยชน์สุข” สูงสุด ธุรกิจทีมี
        ่                                                         ่
ความเป็นโครงงาน สอดคล้องกับหลักการเรียนรู้ “ร่วมกัน ทำาดี อย่าง
มีปัญญา” และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่ธุรกิจบาป ไม่ยุ่งเกี่ยว
กับอบายมุข ไม่เป็นธุรกิจที่ขัดกับหลักศีลธรรม
เป็นธุรกิจที่มีแนวคิดดีๆใหม่ๆที่ช่วยแก้ปัญหาจริงในโรงเรียนชุมชน
ทำาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เน้นการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างประหยัด
คุ้มค่าสูงสุด มีผลกำาไรทีอย่างน้อย 10% นำาเข้ากองทุนโครงงาน
                         ่
คุณธรรม (กองทุนทำาดี) ของโรงเรียน ทีเหลือเป็นทุนหมุนเวียนของ
                                         ่
ธุรกิจและเงินออมของคนทำางาน

      - โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ
โรงเรียนที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ผ่านโครงงานคุณธรรมทั้ง ๔
ประเภท
อย่างกว้างขวางในทุกช่วงชั้น ทั้งระบบโรงเรียน
มีจำานวนโครงงานไม่น้อยกว่า ๑ % ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
มิใช่มีแค่ไม่กี่โครงงานเพื่อส่งประกวด
เป็นโครงงานที่ดำาเนินงานจริงๆอย่างต่อเนื่อง ในช่วงระยะเวลาอย่างน้อย
๑ – ๒ เดือน
มิใช่สักแต่ว่ามีโครงงานเยอะแล้วจัดเป็นงานนิทรรศการ/เทศกาลครั้ง
เดียวจบ
เกิดผลสัมฤทธิ์ลงสู่ผู้เรียนได้จริงเชิงประจักษ์

ภาพรวมการประกวดโครงงานคุณธรรมระดับภูมิภาค
และระดับประเทศ
- การประกวดโครงงานคุณธรรมระดับภาคสงฆ์ ๑๘ ภาคสงฆ์ จะถูก
ปรับเปลี่ยนเป็นค่ายพัฒนาโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียติ ๘
ภูมิภาคแทนตามตารางด้านล่างนี้ โดยเป็นการบูรณาการหลอมรวมรูป
แบบค่าย นิทรรศการโครงงาน การแลกเปลียนเรียนรู้ และการประกวด
                                        ่
คัดเลือกโครงงานเข้าไว้ด้วยกันในค่ายเดียว โดยจะจัดขึ้นในช่วงเดือน
ตุลาคมและพฤศจิกายน ๒๕๕๑
- การตรวจเยียมประเมินโครงงานในพื้นที่จริง จะอยูในช่วงเดือน
             ่                                 ่
ธันวาคม ๒๕๕๑ – มกราคม ๒๕๕๒
- การประกวดระดับประเทศ จะอยู่ในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม
๒๕๕๒



                                                                3
ตารางแสดงการแบ่งกลุ่มตามการจัดค่ายพัฒนาโครงงานคุณธรรม
                            เฉลิมพระเกียรติ
          และค่ายอบรม “เยาวชนค้นธรรม นำาสื่อความดี” ๘ ภูมภาค
                                                         ิ

กลุ่    ภูมภาค
           ิ                     จังหวัด                  จน.จ จน.สพ
มที่                                                       ว.    ท.
 1       เหนือ   เชียงใหม่(๕),แม่ฮองสอน(๒),ลำาพูน(๒)
                                     ่                     8     22
        ตอนบน     ,เชียงราย(๔),พะเยา(๒),ลำาปาง(๓),น่า
                                น(๒),แพร่(๒)
 2       เหนือ   สุโขทัย(๒),พิษณุโลก(๓),อุตรดิตถ์(๒),     10      21
       ตอนล่าง ตาก(๒),กำาแพงเพชร(๒),พิจิตร(๒),เพ
                 ชรบูรณ์(๓),นครสวรรค์(๓),อุทัยธานี,ชัย
                                    นาท
 3     อีสานบน อุดรธานี(๔),หนองคาย(๓),เลย(๒),สกล           8      22
                 นคร(๓),นครพนม(๒),หนองบัวลำาภู(๒),
                         ขอนแก่น(๕),มุกดาหาร(๑)
 4     อีสานล่าง กาฬสินธุ(๓),มหาสารคาม(๒),ร้อยเอ็ด(
                             ์                             8      23
                     ๓),อุบลราชธานี(๕),ศรีสะเกษ(๔),
                 ยโสธร(๒), สุรินทร์(๓),อำานาจเจริญ(๑)
 5       ประตู   นครราชสีมา(๗),บุรีรัมย์(๔),ชัยภูมิ(๓),    8      22
         อีสาน   ปราจีนบุรี,นครนายก,สระแก้ว(๒),สระบุรี
                                (๒),ลพบุรี(๒)
 6       กลาง-   สิงห์บุรี,อ่างทอง,อยุธยา(๒),ปทุมธานี(๒   12      23
         ตะวัน   ),นนทบุรี(๒),กรุงเทพฯ(๓),สมุทรปรากา
          ออก     ร(๒),ฉะเชิงเทรา(๒),ชลบุรี(๓),ระยอง(
                           ๒),จันทบุรี(๒),ตราด(๑)
 7     ตะวันตก- นครปฐม(๒),สุพรรณบุรี(๓),กาญจนบุรี(        11      22
        ใต้ตอน   ๓),สมุทรสาคร,ประจวบคีรีขันธ์(๒),สมุท
          บน     รสงคราม,ราชบุรี(๒),เพชรบุรี(๒),ชุมพร
                        (๒),ระนอง, สุราษฎร์ธานี(๓)
 8      ใต้ตอน   พังงา,นครศรีธรรมราช(๔),ภูเก็ต,กระบี่,    11      23
          ล่าง   ตรัง(๒),สงขลา(๓),พัทลุง,สตูล,ปัตตานี(
                         ๓),ยะลา(๓),นราธิวาส(๓)
          รวม                                             76     178
        จำานวน


            รายงานและสื่อนำาเสนอโครงงานคุณธรรม
        ๑. รายงานโครงงาน จัด พิม พ์ใ ห้มีจำา นวนหน้า ๒๐–๕๐ หน้ า กระดาษ
 ขนาด A4 ไม่รวมปก โดยแสดงเนื้อหา บทและหัวข้อต่างๆ ตามที่กำา หนด ดังนี้
 (ดูตัวอย่างโครงงานระดับประเทศ ที่ www.moralproject.net)
 (๑) ปกหน้า


                                                                       4
(๑.๑) ปกนอก (แสดงชื่ อ โครงงานเป็ น ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ, ชื่ อ
    กลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน, ชื่อสถานศึกษา, ชื่อสังกัด สพท./สอศ./
    สำานักการศึกษาฯ โดยระบุเขต, และพิมพ์ระบุว่า รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
    โครงการประกวดโครงงานคุ ณ ธรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ประจำา ปี ก ารศึ ก ษา
    ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษา ที่จัดโดย กลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสร้างเครือ
    ข่ายวิถีพุทธ (กคพ.) )
    (๑.๒) ปกใน (แสดงชื่อโครงงานเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ, รายชื่อ
    สมาชิกกลุ่มเยาวชนผู้รับ ผิดชอบโครงงานโดยระบุ ชื่อ-นามสกุล ตำา แหน่ง
    ชั้นเรียน, ชื่อ-ฉายา-นามสกุลพระสงฆ์ที่ปรึกษาโดยระบุวัดและที่ตั้งของวัด
    หมายเลขโทรศัพท์ /E-mail, ชื่อผู้บริหารและครูที่ปรึกษาโดยระบุ ตำา แหน่ง
    หมายเลขโทรศั พ ท์ /E-mail, ชื่ อ สถานศึ ก ษา ที่ ตั้ ง หมายเลขโทรศั พ ท์ /
    โทรสาร/E-mail/เวบไซต์(ถ้ามี))
(๒)กิ ต ติ ก รรมประกาศ (แสดงการขอบคุ ณ บุ ค คล คณะ องค์ ก รต่ า งๆ ที่
    สนับสนุนการทำาโครงงาน เป็นต้น)
(๓)บทคัดย่อ (สรุปย่อเนื้อหาและประเด็นสำาคัญของโครงงานเป็นความเรียงใน
    ๑ หน้ากระดาษ)
(๔)ผั ง มโนทั ศ น์ (สรุ ป ภาพรวมของโครงงานทั้ ง หมดเป็ น ผั ง มโนทั ศ น์ ใน ๑
    หน้ากระดาษ)
(๕)บทที่ ๑ บทนำา
    ๑.๑ ที่มาและความสำา คัญ (อธิบายความเป็นมา แรงบันดาลใจ หรือเหตุผล
    ที่ทำาให้คิดทำาโครงงานขึน)
                             ้
    ๑.๒ วัตถุประสงค์ (แสดงจุดมุ่งหมายของการทำาโครงงาน เป็นรายข้อ ไม่ควร
    เกิน ๕ ข้อ)
    ๑.๓ ขอบเขตการศึกษาเรียนรู้ (ระบุ กลุ่ม เป้า หมาย กำา หนดระยะเวลาและ
    สถานที่ ในการดำาเนินการโครงงาน)
(๖) บทที่ ๒ การดำาเนินการโครงงาน
    ๒.๑ วิธีการดำาเนินงาน (อธิบายวิธีการดำาเนินงาน, แสดงแผนผังขั้นตอนการ
    ดำา เนิ น งาน ,แสดงปฏิ ทิ น หรื อ กำา หนดการดำา เนิ น งาน และ/หรื อ มี รู ป ภาพ
    ประกอบ)
    ๒.๒ งบประมาณ (แสดงรายการค่าใช้จ่ายโดยแยกเป็น รายหมวดและยอด
    รวม)
    ๒.๓ แหล่งที่มาของงบประมาณ (กรณีที่มีการระดมทุน หรือหางบประมาณ
    เพิ่มเติมขึ้นเอง ให้อธิบายถึงวิธีการระดมทุนหรือการเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
    นันโดยย่อด้วย)
      ้
    ๒.๔ อุปสรรคความผิดพลาดและการแก้ปั ญหา (อธิบายถึงอุปสรรคปัญหา
    หรือข้อขัดข้องต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดำา เนินการโครงงาน และการแก้ปัญหา
    เฉพาะหน้า แล้วสรุปเป็นบทเรียนที่ได้จากการเผชิญปัญหานั้นๆ)
(๗)          บทที่ ๓ ผลการดำาเนินงาน
    (แสดงผลการดำา เนิ น งานโดยการอธิ บ ายพร้ อ ม รู ป ภาพ และ/หรื อ มี ส ถิ ติ
    ตาราง หรือแผนภูมิ ประกอบ)
(๘)          บทที่ ๔ การศึกษาวิเคราะห์
    ๔.๑ ปัญหาและสาเหตุ (ประมวลข้อมูลสภาพปัญหา แล้ววิเคราะห์สืบสาว
          หาสาเหตุของปัญหา)

                                                                                 5
๔.๒ เป้าหมายและทางแก้ (วิเคราะห์เชื่อมโยงเป้าหมายของโครงงานกับวิธี
       การดำาเนินงาน ว่าเป็นหนทางไปสู่เป้าหมายที่วางไว้อย่างไร อย่างเป็น
       เหตุเป็นผล)
   ๔.๓         หลักการและหลัก ธรรมที่นำา มาใช้ (แสดงหลักธรรมและแนวพระ
       ราชดำาริ หรือหลักวิชาการต่างๆ ที่นำามาใช้ พร้อมอธิบายความหมายโดย
       ย่อ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับโครงงาน อย่างสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล)
   ๔.๔ ประเมินผลการดำา เนินงาน (แสดงหรืออธิบายเหตุผลว่า ผลการดำา เนิน
       งานเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงงานหรือไม่ เพียงใด
       เพราะเหตุใด และ/หรือแสดงสถิติประกอบ(ถ้ามี))
   ๔.๕ การประเมิน ตนเอง (สมาชิกกลุ่มเยาวชนผู้รับ ผิดชอบโครงงานทุกคน
       แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่อการพัฒนาตนเอง หรือความประทับ
       ใจต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ระหว่างการดำาเนินการโครงงาน)
   ๔.๖ การประเมินและวิจารณ์โดยผู้อื่น (แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ คำา
       วิจารณ์ และข้อ เสนอแนะ ของผู้ บริ ห ารสถานศึ กษา อาจารย์แ ละพระ
       สงฆ์ที่ปรึกษาโครงงาน ๓ ท่า น และ/หรือ บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องอีกไม่
       เกิ น ๕ คน เช่ น ผู้ ป กครอง, เพื่ อ นนั ก เรี ย นคนอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น สมาชิ ก
       กลุ่ม, คนในชุมชน)
(๙)บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ
   ๕.๑ สรุ ป ผลการดำา เนิ น การโครงงาน (อธิ บ ายสรุ ป ภาพรวมของโครงงาน
       ทั้ ง หมดเชื่ อ มโยงสู่ ก ระบว นการเรี ย น รู้ แ ละ พั ฒ นา คุ ณ ธรรม ตา ม
       วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงงานคุณธรรม)
   ๕.๒ แผนการดำาเนินงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ (แผนการดำาเนินงานใน
       ปีการศึกษาต่อไป)
(๑๐) เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)
(๑๑) ภาคผนวก (ถ้ามี)
       ๒.             สรุปย่อโครงงาน ใน ๑ หน้ากระดาษ
         สรุ ป ย่ อ โครงงานทั้ ง หมดลงใน ๑ หน้ า กระดาษขนาด A4 ใช้ ฟ อนต์
         Angsana ตามตัวอย่างในหน้าที่ ๖
       ๓.       แผ่นพับ (Brochure) สรุปย่อโครงงาน
         สรุปย่อโครงงานทั้งหมดลงใน ๑ แผ่นกระดาษขนาด A4 ที่พับ ๓ ส่วน
         โดยมี เ นื้ อ ที่ พิ ม พ์ ไ ด้ ทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง โดยออกแบบและ
         พิจารณาเลือกประเด็น หัวข้อ เนื้อหา/สาระสำา คัญของโครงงาน พร้อม
         รูปภาพ และ/หรือ ตารางหรือแผนภูมิประกอบ ตามที่เห็น ว่า เหมาะสม
         ได้เอง
       ๔. สือ Presentation ทางคอมพิวเตอร์หรือ VCD นำาเสนอโครงงาน
            ่
         เล่าเรื่องแสดงภาพรวมและเจาะประเด็น สำา คัญของโครงงานลงในสื่อ
         Presentation ทางคอมพิ ว เตอร์ ใ นระยะเวลาไม่ เ กิ น ๗ นาที โดย
         สามารถจัดทำา เป็น ภาพเคลื่อนไหววีดิทัศน์ (VCD) หรือ เป็น แผนภาพ
         การนำา เสนอ ด้ ว ยโปรแกรมจำา พวก presentation เช่ น Powerpoint
         ก็ได้
       ๕.       แผ่นป้าย (Board) นิทรรศการโครงงาน

                                                                                          6
แสดงภาพรวมและสรุปย่อสาระสำา คัญของโครงงานทั้งหมด ได้แก่ ชื่อ
   โครงงาน สถานศึกษา รายชื่อที่ปรึกษาและกลุ่ม เยาวชนผู้รับผิดชอบ
   โครงงาน บทคัดย่อ ผังมโนทัศน์ วิธีการดำา เนินงาน ผลการดำา เนินงาน
   การประเมินผลสรุปผล ข้อเสนอแนะ เป็นต้น ประกอบกับการจัดแสดง
   รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง สัญลักษณ์ รูปวาด ฯลฯ โดยใช้ความ
   คิดสร้างสรรค์และเทคนิคทางศิลปะมาช่วยในการนำาเสนอให้เกิดการสื่อ
   ความได้ง่าย ชัดเจน และน่าสนใจ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                                 ๑๒๐
                                 ซม.                  ๖๐
           ๖๐            ชื่อโครงงานคุณธรรม
           ซม.                                        ซม.

                                           รอยที่พบหัก
                                                   ั
                                           กลางไปด้าน
                                           หลังได้
                                                                  ๖๕ ซม.

                                   ปกหน้าโครง
                                   งาน                      ปกหลังโครง
วัสดุที่แนะนำา: ใช้พลาสติกลูกฟูกหนา
                                                         ๖๕ งาน
๓หรื อ ๕ มม. ถ้ า ทำา ได้ ถู ก ต้ อ งตามที่
                                                         ซม.
กำาหนดจะสามารถพับแผ่นป้ายสลับกัน
ได้เป็น ๔ ทบ มีลักษณะเป็น Big Book              ๖๐
                                                ซม.
ขนาดประมาณ ๖๐ x ๖๕ เซนติ เ มตร




                                                                     7
(ตัวอย่าง สรุปย่อโครงงานใน ๑ หน้ากระดาษ)

   โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ ประจำาปี ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษา
โครงงาน รณรงค์รักนวลสงวนตัว ทำาความดีถวายแด่พระเจ้าอย่่หวของปวงไทย
                                                        ั
                     Preventing Premarital Sex
            http://school.obec.go.th/prangku/king1.htm
    โดย เยาวชนกล่่ม สานฝั น โรงเรียนปรางค์ก่ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓
หลักธรรมสำาคัญ : หิริ โอตตัปปะ (ความละอายและความเกรงกลัวต่อบาป)
พระราชดำาริสำาคัญ : ค่ณธรรม ๔ ประการ (ฆราวาสธรรม ๔: สัจจะ, ทมะ, ขันติ, จาคะ)
ประเด็นปั ญหาหลัก : การเสียตัวก่อนวัยอันควรของวัยร่่น อันเน่ องมาจากการห่างเหินจาก
                                                                  ื
ค่ณธรรม ไม่เข้าวัด อยากร้่อยากลอง ค่านิ ยมทางเพศท่ีไม่ถ่กต้อง เลียนแบบส่ ือลามก
อนาจาร หลงใหลในของฟ่ ่มเฟื อย และปั ญหาครอบครัว
กลุุมเป้ าหมาย : นั กเรียนหญิง รร.ปรางค์ก่ ม.๒-๔ จำานวน ๔๙๘ คน
กิจกรรมเดุน : ทำาแบบสำารวจสภาพปั ญหาจริงแล้วเลือกเจาะสัมภาษณ์ข้อม่ลจากนร.กล่่ม
เป้ าหมายท่ีมีปัญหา เพ่ ือสืบสาวหาสาเหต่และปั จจัยร่วม จากนั ้นโครงงานได้จัดกิจกรรมต่างๆ
เพ่ ือลดพฤติกรรมเส่ียงและเพ่ิมพฤติกรรมขัดขวาง ได้แก่การปฏิบัตธรรมเฉลิมพระเกียรติท่ี
                                                                    ิ
ให้ความร้่เก่ียวกับทักษะชีวิตและเร่ ืองเพศ จากนั ้นจึงมีการรับสมัครสมาชิกทัวไปก่อตังเป็ น
                                                                            ่      ้
"ชมรมเพ่ ือนใจวัยร่่น" ให้คำาปรึกษาแก่วัยร่นเร่ ืองความรักและเร่ ืองเพศ จัดปาฐกถาโดย
                                           ่
นิ มนต์พระวิทยากรมาให้ความร้เยาวชนในเร่ ืองภ่มิค้่มกันทางเพศ เช่นการเอาตัวรอดจาก
                                 ่
การมีเพศสัมพันธ์กับบ่คคลท่ีเรียกว่าแฟน เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลมาให้ความร้่เร่ ือง
โรคติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์และการหลีกเล่ียงจากส่ิงยัวย่ และจัดค่ายค่ณธรรมบวชชี
                                                           ่
พราหมณ์เฉลิมพระเกียรติสำาหรับกล่่มเส่ียงท่ีมีปัญหา
ผลท่เกิดขึน : สามารถประมวลพฤติกรรมเส่ียงต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร๗ข้อ
       ี     ้
และพฤติกรรมขัดขวางการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร๔ข้อ โดยกิจกรรมต่างๆ สามารถ
ช่วยลดพฤติกรรมเส่ียงของนั กเรียนกล่่มเป้ าหมายลงได้ในกรณี ท่ีมาจากตัววัยร่่นเองท่ก
รายการ แต่ท่ีมาจากปั จจัยเส่ียงภายนอกนั ้น ไม่ลดลงแต่เพ่ิมขึ้น สำาหรับพฤติกรรมขัดขวาง
นั ้นเพ่ิมส่งขึ้นท่กรายการ




                                                                                  8
เยาวชนผ้้รับผิดชอบโครงงาน                  พระสงฆ์ท่ีปรึกษา: พระมหาบ่ญทวี คนฺธ
 1.นายสาธิต จันทร์สม่ด           ม.๖       สีโล
  ประธาน                                                        เจ้าอาวาสวัดระกา
 2.นางสาวส่พรรษา ธรรมสโรช ม.๖              ผ้้บริหารท่ปรึกษา: นายวรรณกิจ อินทร
                                                      ี
  รองประธาน                                ประพงศ์
                                                                 ผ้่อำานวยการสถาน
 3.นางสาวพชรพร ส่ภาทิพย์        ม.๖
                                           ศึกษา
  รองประธาน                                คร้ท่ปรึกษา: นายปราโมทย์ แหวนเงิน
                                                ี
 4.นางสาวทิพาวรรณ เอ่ียมน่ ่ม ม.๖                         กล่่มสาระสังคมศึกษาฯ
  เหรัญญิก                                 ข้อม้ลโรงเรียน: จำานวนคร่ ๗๕ คน นั กเรียน
 5.นายจริวัชร หงส์ศิริ        ม.๖          ๑,๘๘๘ คน
  ประชาสัมพันธ์                            แยกเป็ นชาย ๘๑๒ คน หญิง ๑,๐๗๖ คน
 6.นางสาวรสส่คนธ์ ปั กกังเวสัง ม.๖         ติดตุอ: นายปราโมทย์ แหวนเงิน โทร.
  สวัสดิการ                                ๐๘๗ ๐๒๘ ๐๗๗๙
 7.นางสาวณั ฐฐาภรณ์ ศรีสิงห์ ม.๖           อีเมล์: prangku_pk@yahoo.com
  สวัสดิการ
 8.นางสาวทวีพร สาสังข์          ม.๖
  เลขาน่การ

สนั บสน่นโดย                   - กลุุมกัลยาณมิตรเพ่ ือการเสริมสร้างเครือขุายวิถีพุทธ
(กคพ.)
           - ศ้นย์สุงเสริมและพัฒนาพลังแผุนดินเชิงคุณธรรม (ศ่นย์ค่ณธรรม)
  - สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน (สพฐ.) (โครงการโรงเรียนวิถีพ่ทธ)
                                        ้




                                                                               9
ปฏิทินงานโครงการพัฒนาโครงงานคุณธรรม
                  เฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา ๒๕๕๑
        ตารางสรุปการดำาเนินงาน                       ปี ๒๕๕๑                    ปี
                                                                             ๒๕๕๒
ท่ี               ปฏิทินงาน               มี. เม. พ. มิ. ก. ส. ก. ต. พ. ธ.ค ม. ก. มี.
                                          ค. ย. ค. ย. ค. ค. ย. ค. ย. . ค พ ค
๑     ประชาสัมพันธ์
๒ สพท. รับสมัครสถานศึกษาเข้า
      โครงการและรับสมัครเยาวชนเข้า
                                                                  ช่วงเตรียม
  อบรมเตรียมความพร้อม
๓ สพท. จัดประชุม/คุายอบรมการทำา
      โครงงาน
๔ กล่่มเยาวชนส่ง รุางโครงงานและ
      ใบสมัครเข้าร่วมโครงการมาท่ี
  สพท. (เพ่ ือสมัครขอรับท่น)
๕ สพท.ประกาศรับรองการสมัคร
      (และ/หรือ มอบทุนรางวัล) และส่ง
  ข้อม่ลการสมัครมาท่ี สนก. สพฐ.
๖ กลุุมเยาวชนผ้้รับผิดชอบ ดำาเนิ น
                                                                         การ
  การโครงงานระยะท่ี ๑
๗ สถานศึกษาและ สพท.ช่วย                                                ประกวด
  สนั บสน่นติดตามประเมินผล                                              ระดับ
๘ สพท.จัดประกวดโครงงานระดับ
      เขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ ือคัดเลือก
      ตัวแทนกล่่มเยาวชนผ้่รับผิดชอบ
      โครงงาน ๑ โครงงานมาเข้าค่าย
      พัฒนาโครงงานฯ
      และพิธีมอบโลุ/เกียรติบัตร/เงิน
      รางวัล ระดับ สพท.



                                                                              10
๙ กคพ.ร่วมกับ สพท. ๘ แห่ง จัดคุาย
                                       การ
  พัฒนาโครงงานฯ นิ ทรรศการแลก        ประกวด
  เปล่ียนเรียนร้้ และการประกวด        ระดับ
  โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ
  ๘ ภ้มิภาค
๑ กลุุมเยาวชนผ้้รับผิดชอบดำาเนิ น
๐ การโครงงานระยะท่ี ๒
๑ กคพ.ตรวจเย่ียม ๔๐ โครงงานใน
๑ พ้ืนท่ีจริง
๑ สถานศึกษาสนั บสน่นให้กล่่ม
๒ เยาวชนผ้่รบผิดชอบฯประมวลสร่ป
            ั
  ผลการดำาเนิ นงานทัง ๒ ระยะ และ
                     ้                  การ
  จัดทำาเอกสารและส่ ือนำ าเสนอโครง    ประกวด
  งาน ฉบับสมบ้รณ์                      ระดับ
๑ ๔๐ โครงงานท่ีเข้ารอบมีตัวแทนมา
๓ เข้า (๑) คุายสุดยอดผ้้นำายุวชน
  กัลยาณมิตร (๒) การประกวดโครง
  งานรอบชิงชนะเลิศ ระดับประเทศ
  (๓) พิธีมอบรางวัลเกียรติยศ และ
  (๔) นิ ทรรศการโครงงานคุณธรรม
  เฉลิมพระเกียรติ ระดับประเทศ




                                               11
คณะทีปรึกษา โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ
              ่
1. พระธรรมโกศาจารย์                อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
      วิทยาลัย
2. พระอาจารย์ชยสาโรภิกฺขุ          อดีตเจ้าอาวาสวัดป่านานาชาติ
3. พระศรีญาณโสภณ                   ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก
4. พระอาจารย์ดุษฎี เมธังกุโร       พระวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ สำานักปฏิบัติธรรมทุ่งไผ่
      จังหวัดชุมพร
5. พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี          ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสื่อสารธรรมะ วัดเบญจมบพิตร
      ดุสิตวนาราม
6. นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม         อดีตรองนายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงการพัฒนา
      สังคมฯ
7. คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายกสมาคมผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาแห่ง
      ประเทศไทย
8. ศาสตราจารย์กิตติคุณ สุมน อมรวิวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา และที่ปรึกษา
      ธรรมอาสาสมัครฝ่ายวิชาการ
9. ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล            เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา
10. ดร.มนูญ มุกข์ประดิษฐ์          รองเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา
11. นายปิยะบุตร ชลวิจารณ์          อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
12. คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยาเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
      กระทรวงศึกษาธิการ
13. ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน            รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
   คณะกรรมการกลาง โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ
1. พระมหาพงศ์นรินทร์ ฐิตวำโส      ประธาน กคพ. และประธานโครงการฯ วัดสุทัศนเทพว
    ราราม
2. พระมหาวิชาญ สุวชาโน หัวหน้าพระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
                      ิ
    วิทยาลัย วัดยานนาวา
3. พระมหานภันต์ สนฺติภทฺโท        พระวิทยากรหัวหน้ากลุ่มพัฒนาจิต “เพื่อชีวิตดี
    งาม” วัดสระเกศ
4. พระเจษฎา สมาหิโต        พระวิทยากรแกนนำาโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ จังหวัด
    อ่างทอง
5. พระสรยุทธ์ ชยปญฺโญ รักษาการเจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม จังหวัด
    เชียงใหม่
6. รศ.บุญนำา ทานสัมฤทธิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ร่วมก่อตั้งโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
7. รศ.ประภาภัทร นิยม       ผู้อำานวยการโรงเรียนรุ่งอรุณและสถาบันอาศรมศิลป์
    เหรัญญิก กคพ.
8. ดร.สิริกร มณีรินทร์     ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ร่วมก่อตั้งโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
9. ดร.อรทัย มูลคำา         ผู้อำานวยการสำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา*
10. นางสาวนราทิพย์ พุ่มทรัพย์     ผู้อำานวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดิน
    เชิงคุณธรรม
11. นายปกรณ์ ตันสกุล       รองอธิบดี กรมการศาสนา
12. นายพงษ์ชัย ศรีพันธุ์   ผูช่วยผู้อำานวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
                              ้
    เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
13. นางสาววิไลวรรณ ถึกไทย         ผู้แทนศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิง
    คุณธรรม
14. นางบุบผาสวัสดิ์ รัชชตาตะนันท์ ผู้บริหารโรงเรียนทอสี และเครือข่าย ๓ ประสาน ร.ร.
    วิถีพุทธ

                                                                          12
15. นางสาวอนินทิตา โปษะกฤษณะ           ผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลหนูน้อยและเครือ
    ข่าย ๓ ประสาน ร.ร.วิถีพุทธ
16. ดร.ไพรัช สู่แสนสุข       อาจารย์วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฎ
    พระนคร
17. นายพิสุทธิ์ เกรียงบูรพา ศิลปินธรรมะบันเทิง กลุ่มเรียนเชิญผู้มีจิตศรัทธา
18. ดร.บรรเจอดพร สู่แสนสุข สำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ.
    เลขานุการ กคพ.
             กลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสร้างเครือข่ายวิถีพุทธ
             (กคพ.)
ศูนย์ประสานงานการประกวดโครงงาน                  มูลนิธิโรงเรียนรุ่งอรุณ (คุณ
คุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ                          โชติกา)
โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ (ดร.บรรเจอดพร)          ๙/๙ หมู่๕ ซอย๓๓ ถ.พระราม๒
สำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ.          แขวงท่าข้าม
กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐                    เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ
โทร. ๐๒-๒๘๐-๕๕๖๐ โทรสาร ๐๒–๒๘๑–                 ๑๐๑๕๐
๕๒๑๖                                            โทร. ๐๒-๘๔๐-๒๕๐๑-๔
อีเมล์ moralproject@gmail.com                   โทรสาร. ๐๒-๘๗๐-๗๕๑๔
ศูนย์ประสานงานด้านการเงินและบัญชี
    Website โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ:
             http://www.moralproject.net




                                                                                13

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔นายจักราวุธ คำทวี
 
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิตหน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิตวุฒิชาติ มาตย์นอก
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579CUPress
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1DrDanai Thienphut
 
อช31003
อช31003อช31003
อช31003patara4
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนManoonpong Srivirat
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015Thana Chirapiwat
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนFURD_RSU
 
อช11003
อช11003อช11003
อช11003patara4
 
Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Wee Boon
 

Mais procurados (20)

๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๔ ธ.ค. ๒๕๕๖ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิตหน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
อช31003
อช31003อช31003
อช31003
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 
อช11003
อช11003อช11003
อช11003
 
Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 

Semelhante a Moral Project Plan2008

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3Nadeewittaya School
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญThitiwat Paisan
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทองneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
"ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชน
 "ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชน "ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชน
"ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชนkaewpanya km
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpKamjornT
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Fangky's Chutintorn
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 

Semelhante a Moral Project Plan2008 (20)

Arkom
ArkomArkom
Arkom
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการมรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
"ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชน
 "ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชน "ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชน
"ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสุข สู่ชุมชน" สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชน
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
 
20
2020
20
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 

Mais de Supaporn Nilayakanon (8)

01 manners1
01 manners101 manners1
01 manners1
 
%Ba%b
%Ba%b%Ba%b
%Ba%b
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
Paragraph
ParagraphParagraph
Paragraph
 
clauses
clausesclauses
clauses
 
Part
PartPart
Part
 
โครงงานอังกฤษ Group 1
โครงงานอังกฤษ  Group 1โครงงานอังกฤษ  Group 1
โครงงานอังกฤษ Group 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Moral Project Plan2008

  • 1. โครงการพัฒนาโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทย ทำาดี ถวายในหลวง” ปีการศึกษา ๒๕๕๑ • นวัตกรรมการเรียนรู้โครงงานคุณธรรม ๕ แบบ 1. โครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ 2. โครงงานสื่อคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ 3. โครงงานวิทย์-คุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ 4. โครงงานธุรกิจคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ 5. โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ ส่วนกลาง มีการจัดประกวดเฉพาะโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ ระดับมัธยมศึกษาเป็นภารกิจหลักเหมือนกับการ จัดประกวดในปีการศึกษา ๒๕๔๙ – ๕๐ ที่ผานมา ปฏิทินการทำางาน ่ ของแต่ละเขตพื้นที่การศึกษายังคงคล้ายกับปี ๒๕๕๐ ที่ผ่านมา ส่วนการประกวดโครงงานคุณธรรม ระดับประถมศึกษา ในส่วน กลางจะไปเข้าช่องทางการประเมิน โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติแทน สำาหรับนวัตกรรมโครงงานแบบอื่นๆ จะเป็นไปในลักษณะโครงการย่อย ดังนี้ โครงงานสื่อคุณธรรม เป็นไปในลักษณะให้ถ่ายทำาสื่อ-สารคดีสั้น โครงงานคุณธรรมแล้วส่งเข้ามาประกวด และจะมีการจัดอบรมค่าย เยาวชนค้นธรรมนำาสื่อความดีตามภูมิภาคต่างๆ โครงงานวิทย์-คุณธรรม เป็นไปในลักษณะการสรรหาและเสนอชื่อ มาเพื่อสุ่มตรวจประเมินแล้วให้เกียรติบัตร แล้วเลือกหยิบโครงงานที่ โดดเด่นขึ้นมาเป็นตัวอย่างเสนอผู้ใหญ่ของ สพฐ. และเผยแพร่ผานสื่อ ่ ไม่ได้เป็นไปในลักษณะการจัดประกวด โครงงานธุรกิจคุณธรรม เป็นไปในลักษณะผสมผสานทั้งรูปแบบการ สรรหา-เสนอชื่อมาจาก ร.ร./สพท. และรูปแบบการทดลองนำาร่อง แล้วสุ่มตรวจประเมินเพื่อให้เกียรติบัตร แล้วเลือกหยิบโครงงานที่โดด เด่นขึ้นมาเป็นตัวอย่างเสนอผู้ใหญ่ของ สพฐ. และเผยแพร่ผ่านสื่อ ทังนี้ มีแนวโน้มที่จะมีการจัดประกวดเป็นโครงการแยกย่อยไปอีก ้ แผนกหนึ่งต่างหาก (กำาลังร่วมมือกับองค์กรธุรกิจเอกชน) โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม เป็นไปในรูปแบบการสรรหา-เสนอชื่อมา จาก ร.ร./สพท. มาที่ส่วนกลางเพื่อพิจารณาและเพื่อการสุ่มตรวจ ประเมินในพื้นที่จริง เพื่อให้เกียรติบัตร/เงินรางวัล แล้วเลือกหยิบ
  • 2. โรงเรียนที่โดดเด่นขึ้นมาเป็นตัวอย่างเสนอผู้ใหญ่ของ สพฐ. และเผย แพร่ผ่านสื่อ • ชุดคำาถามการเรียนรู้ต่างกัน - ระดับประถม มุงให้เด็ก Think Big คิดการใหญ่ ได้ขั้นตอน เป็น ่ ระบบ - ระดับมัธยม + (เพิ่ม) คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดประเมินค่า คิดแก้ปัญหา ฯลฯ • จุดเน้น - ลักษณะเด่น - โครงงานคุณธรรม ระดับประถม หลายโครงงานย่อยใน ๑ โรงเรียน (อย่างน้อย ๘ โครงงาน) ประเมินโครงงานระดับประถม ---> ประเมินโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ = ประเมินโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำา : Buddhist Active Learning School - โครงงานคุณธรรม ระดับมัธยม (นร.ชั้น ม.๓, ม.๔, ม.๕ ดี ทีสุด เหมาะสมที่สุด) ่ เน้น การแก้ปัญหาเร่งด่วนทางศีลธรรม อาทิ ปัญหาเสียตัว ตีกัน สุรา ยาเสพติด การพนัน ติดเกมส์-อินเตอร์เนต ติดเที่ยว อบายมุข ครอบครัวไม่อบอุ่น ฯลฯ และเน้น โครงงานเชิงรุกที่มประเด็นเด่นชัด เช่น การบ่มเพาะจิต ี อาสา เป็นอาสาสมัครในโรงเรียน วัด ชุมชน โรงพยาบาล ช่วยแก้ ปัญหาไม่มีคนดูแลผู้สูงอายุ ผูป่วย ผู้พิการในชุมชน อนุรักษ์ดูแลแก้ ้ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรต่างๆ ฯลฯ - โครงงานสื่อคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ มิใช่แค่ผลิตสื่อ แต่มที่มาของความคิด แผนงาน กระบวนการผลิตสื่อ- ี นำาไปใช้-ติดตามผล-ประเมินผลว่าสื่อที่ผลิตทำาให้เกิดผลดีอย่างไร จึง จะมีความเป็นโครงงาน - โครงงานวิทย์-คุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ มิใช่แค่ทดลองเสร็จประกวดจบเลิกทำา ไม่จำาเป็นต้องคิดค้นใหม่ก็ได้ แต่เน้นการนำาไปใช้จริงเพื่อพัฒนา-แก้ปัญหาจริงในโรงเรียนหรือ ชุมชน สร้างจิตสำานึกความมีส่วนร่วมได้ดี (สามารถต่อยอดเป็นโครง งานธุรกิจคุณธรรม หรือโครงงานคุณธรรมปกติได้) - โครงงานธุรกิจคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ (ธุรกิจ 2 ช พอ เพียง) 2
  • 3. (โครงงานธุรกิจเพื่อพัฒนาชีวิตและชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง เฉลิมพระเกียรติ) ธุรกิจทีไม่ได้เน้นผลกำาไรสูงสุด เน้น “ประโยชน์สุข” สูงสุด ธุรกิจทีมี ่ ่ ความเป็นโครงงาน สอดคล้องกับหลักการเรียนรู้ “ร่วมกัน ทำาดี อย่าง มีปัญญา” และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่ธุรกิจบาป ไม่ยุ่งเกี่ยว กับอบายมุข ไม่เป็นธุรกิจที่ขัดกับหลักศีลธรรม เป็นธุรกิจที่มีแนวคิดดีๆใหม่ๆที่ช่วยแก้ปัญหาจริงในโรงเรียนชุมชน ทำาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เน้นการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างประหยัด คุ้มค่าสูงสุด มีผลกำาไรทีอย่างน้อย 10% นำาเข้ากองทุนโครงงาน ่ คุณธรรม (กองทุนทำาดี) ของโรงเรียน ทีเหลือเป็นทุนหมุนเวียนของ ่ ธุรกิจและเงินออมของคนทำางาน - โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ผ่านโครงงานคุณธรรมทั้ง ๔ ประเภท อย่างกว้างขวางในทุกช่วงชั้น ทั้งระบบโรงเรียน มีจำานวนโครงงานไม่น้อยกว่า ๑ % ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด มิใช่มีแค่ไม่กี่โครงงานเพื่อส่งประกวด เป็นโครงงานที่ดำาเนินงานจริงๆอย่างต่อเนื่อง ในช่วงระยะเวลาอย่างน้อย ๑ – ๒ เดือน มิใช่สักแต่ว่ามีโครงงานเยอะแล้วจัดเป็นงานนิทรรศการ/เทศกาลครั้ง เดียวจบ เกิดผลสัมฤทธิ์ลงสู่ผู้เรียนได้จริงเชิงประจักษ์ ภาพรวมการประกวดโครงงานคุณธรรมระดับภูมิภาค และระดับประเทศ - การประกวดโครงงานคุณธรรมระดับภาคสงฆ์ ๑๘ ภาคสงฆ์ จะถูก ปรับเปลี่ยนเป็นค่ายพัฒนาโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียติ ๘ ภูมิภาคแทนตามตารางด้านล่างนี้ โดยเป็นการบูรณาการหลอมรวมรูป แบบค่าย นิทรรศการโครงงาน การแลกเปลียนเรียนรู้ และการประกวด ่ คัดเลือกโครงงานเข้าไว้ด้วยกันในค่ายเดียว โดยจะจัดขึ้นในช่วงเดือน ตุลาคมและพฤศจิกายน ๒๕๕๑ - การตรวจเยียมประเมินโครงงานในพื้นที่จริง จะอยูในช่วงเดือน ่ ่ ธันวาคม ๒๕๕๑ – มกราคม ๒๕๕๒ - การประกวดระดับประเทศ จะอยู่ในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๒ 3
  • 4. ตารางแสดงการแบ่งกลุ่มตามการจัดค่ายพัฒนาโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ และค่ายอบรม “เยาวชนค้นธรรม นำาสื่อความดี” ๘ ภูมภาค ิ กลุ่ ภูมภาค ิ จังหวัด จน.จ จน.สพ มที่ ว. ท. 1 เหนือ เชียงใหม่(๕),แม่ฮองสอน(๒),ลำาพูน(๒) ่ 8 22 ตอนบน ,เชียงราย(๔),พะเยา(๒),ลำาปาง(๓),น่า น(๒),แพร่(๒) 2 เหนือ สุโขทัย(๒),พิษณุโลก(๓),อุตรดิตถ์(๒), 10 21 ตอนล่าง ตาก(๒),กำาแพงเพชร(๒),พิจิตร(๒),เพ ชรบูรณ์(๓),นครสวรรค์(๓),อุทัยธานี,ชัย นาท 3 อีสานบน อุดรธานี(๔),หนองคาย(๓),เลย(๒),สกล 8 22 นคร(๓),นครพนม(๒),หนองบัวลำาภู(๒), ขอนแก่น(๕),มุกดาหาร(๑) 4 อีสานล่าง กาฬสินธุ(๓),มหาสารคาม(๒),ร้อยเอ็ด( ์ 8 23 ๓),อุบลราชธานี(๕),ศรีสะเกษ(๔), ยโสธร(๒), สุรินทร์(๓),อำานาจเจริญ(๑) 5 ประตู นครราชสีมา(๗),บุรีรัมย์(๔),ชัยภูมิ(๓), 8 22 อีสาน ปราจีนบุรี,นครนายก,สระแก้ว(๒),สระบุรี (๒),ลพบุรี(๒) 6 กลาง- สิงห์บุรี,อ่างทอง,อยุธยา(๒),ปทุมธานี(๒ 12 23 ตะวัน ),นนทบุรี(๒),กรุงเทพฯ(๓),สมุทรปรากา ออก ร(๒),ฉะเชิงเทรา(๒),ชลบุรี(๓),ระยอง( ๒),จันทบุรี(๒),ตราด(๑) 7 ตะวันตก- นครปฐม(๒),สุพรรณบุรี(๓),กาญจนบุรี( 11 22 ใต้ตอน ๓),สมุทรสาคร,ประจวบคีรีขันธ์(๒),สมุท บน รสงคราม,ราชบุรี(๒),เพชรบุรี(๒),ชุมพร (๒),ระนอง, สุราษฎร์ธานี(๓) 8 ใต้ตอน พังงา,นครศรีธรรมราช(๔),ภูเก็ต,กระบี่, 11 23 ล่าง ตรัง(๒),สงขลา(๓),พัทลุง,สตูล,ปัตตานี( ๓),ยะลา(๓),นราธิวาส(๓) รวม 76 178 จำานวน รายงานและสื่อนำาเสนอโครงงานคุณธรรม ๑. รายงานโครงงาน จัด พิม พ์ใ ห้มีจำา นวนหน้า ๒๐–๕๐ หน้ า กระดาษ ขนาด A4 ไม่รวมปก โดยแสดงเนื้อหา บทและหัวข้อต่างๆ ตามที่กำา หนด ดังนี้ (ดูตัวอย่างโครงงานระดับประเทศ ที่ www.moralproject.net) (๑) ปกหน้า 4
  • 5. (๑.๑) ปกนอก (แสดงชื่ อ โครงงานเป็ น ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ, ชื่ อ กลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน, ชื่อสถานศึกษา, ชื่อสังกัด สพท./สอศ./ สำานักการศึกษาฯ โดยระบุเขต, และพิมพ์ระบุว่า รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการประกวดโครงงานคุ ณ ธรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ประจำา ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษา ที่จัดโดย กลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสร้างเครือ ข่ายวิถีพุทธ (กคพ.) ) (๑.๒) ปกใน (แสดงชื่อโครงงานเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ, รายชื่อ สมาชิกกลุ่มเยาวชนผู้รับ ผิดชอบโครงงานโดยระบุ ชื่อ-นามสกุล ตำา แหน่ง ชั้นเรียน, ชื่อ-ฉายา-นามสกุลพระสงฆ์ที่ปรึกษาโดยระบุวัดและที่ตั้งของวัด หมายเลขโทรศัพท์ /E-mail, ชื่อผู้บริหารและครูที่ปรึกษาโดยระบุ ตำา แหน่ง หมายเลขโทรศั พ ท์ /E-mail, ชื่ อ สถานศึ ก ษา ที่ ตั้ ง หมายเลขโทรศั พ ท์ / โทรสาร/E-mail/เวบไซต์(ถ้ามี)) (๒)กิ ต ติ ก รรมประกาศ (แสดงการขอบคุ ณ บุ ค คล คณะ องค์ ก รต่ า งๆ ที่ สนับสนุนการทำาโครงงาน เป็นต้น) (๓)บทคัดย่อ (สรุปย่อเนื้อหาและประเด็นสำาคัญของโครงงานเป็นความเรียงใน ๑ หน้ากระดาษ) (๔)ผั ง มโนทั ศ น์ (สรุ ป ภาพรวมของโครงงานทั้ ง หมดเป็ น ผั ง มโนทั ศ น์ ใน ๑ หน้ากระดาษ) (๕)บทที่ ๑ บทนำา ๑.๑ ที่มาและความสำา คัญ (อธิบายความเป็นมา แรงบันดาลใจ หรือเหตุผล ที่ทำาให้คิดทำาโครงงานขึน) ้ ๑.๒ วัตถุประสงค์ (แสดงจุดมุ่งหมายของการทำาโครงงาน เป็นรายข้อ ไม่ควร เกิน ๕ ข้อ) ๑.๓ ขอบเขตการศึกษาเรียนรู้ (ระบุ กลุ่ม เป้า หมาย กำา หนดระยะเวลาและ สถานที่ ในการดำาเนินการโครงงาน) (๖) บทที่ ๒ การดำาเนินการโครงงาน ๒.๑ วิธีการดำาเนินงาน (อธิบายวิธีการดำาเนินงาน, แสดงแผนผังขั้นตอนการ ดำา เนิ น งาน ,แสดงปฏิ ทิ น หรื อ กำา หนดการดำา เนิ น งาน และ/หรื อ มี รู ป ภาพ ประกอบ) ๒.๒ งบประมาณ (แสดงรายการค่าใช้จ่ายโดยแยกเป็น รายหมวดและยอด รวม) ๒.๓ แหล่งที่มาของงบประมาณ (กรณีที่มีการระดมทุน หรือหางบประมาณ เพิ่มเติมขึ้นเอง ให้อธิบายถึงวิธีการระดมทุนหรือการเข้าถึงแหล่งงบประมาณ นันโดยย่อด้วย) ้ ๒.๔ อุปสรรคความผิดพลาดและการแก้ปั ญหา (อธิบายถึงอุปสรรคปัญหา หรือข้อขัดข้องต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดำา เนินการโครงงาน และการแก้ปัญหา เฉพาะหน้า แล้วสรุปเป็นบทเรียนที่ได้จากการเผชิญปัญหานั้นๆ) (๗) บทที่ ๓ ผลการดำาเนินงาน (แสดงผลการดำา เนิ น งานโดยการอธิ บ ายพร้ อ ม รู ป ภาพ และ/หรื อ มี ส ถิ ติ ตาราง หรือแผนภูมิ ประกอบ) (๘) บทที่ ๔ การศึกษาวิเคราะห์ ๔.๑ ปัญหาและสาเหตุ (ประมวลข้อมูลสภาพปัญหา แล้ววิเคราะห์สืบสาว หาสาเหตุของปัญหา) 5
  • 6. ๔.๒ เป้าหมายและทางแก้ (วิเคราะห์เชื่อมโยงเป้าหมายของโครงงานกับวิธี การดำาเนินงาน ว่าเป็นหนทางไปสู่เป้าหมายที่วางไว้อย่างไร อย่างเป็น เหตุเป็นผล) ๔.๓ หลักการและหลัก ธรรมที่นำา มาใช้ (แสดงหลักธรรมและแนวพระ ราชดำาริ หรือหลักวิชาการต่างๆ ที่นำามาใช้ พร้อมอธิบายความหมายโดย ย่อ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับโครงงาน อย่างสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล) ๔.๔ ประเมินผลการดำา เนินงาน (แสดงหรืออธิบายเหตุผลว่า ผลการดำา เนิน งานเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงงานหรือไม่ เพียงใด เพราะเหตุใด และ/หรือแสดงสถิติประกอบ(ถ้ามี)) ๔.๕ การประเมิน ตนเอง (สมาชิกกลุ่มเยาวชนผู้รับ ผิดชอบโครงงานทุกคน แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่อการพัฒนาตนเอง หรือความประทับ ใจต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ระหว่างการดำาเนินการโครงงาน) ๔.๖ การประเมินและวิจารณ์โดยผู้อื่น (แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ คำา วิจารณ์ และข้อ เสนอแนะ ของผู้ บริ ห ารสถานศึ กษา อาจารย์แ ละพระ สงฆ์ที่ปรึกษาโครงงาน ๓ ท่า น และ/หรือ บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องอีกไม่ เกิ น ๕ คน เช่ น ผู้ ป กครอง, เพื่ อ นนั ก เรี ย นคนอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น สมาชิ ก กลุ่ม, คนในชุมชน) (๙)บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๕.๑ สรุ ป ผลการดำา เนิ น การโครงงาน (อธิ บ ายสรุ ป ภาพรวมของโครงงาน ทั้ ง หมดเชื่ อ มโยงสู่ ก ระบว นการเรี ย น รู้ แ ละ พั ฒ นา คุ ณ ธรรม ตา ม วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงงานคุณธรรม) ๕.๒ แผนการดำาเนินงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ (แผนการดำาเนินงานใน ปีการศึกษาต่อไป) (๑๐) เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี) (๑๑) ภาคผนวก (ถ้ามี) ๒. สรุปย่อโครงงาน ใน ๑ หน้ากระดาษ สรุ ป ย่ อ โครงงานทั้ ง หมดลงใน ๑ หน้ า กระดาษขนาด A4 ใช้ ฟ อนต์ Angsana ตามตัวอย่างในหน้าที่ ๖ ๓. แผ่นพับ (Brochure) สรุปย่อโครงงาน สรุปย่อโครงงานทั้งหมดลงใน ๑ แผ่นกระดาษขนาด A4 ที่พับ ๓ ส่วน โดยมี เ นื้ อ ที่ พิ ม พ์ ไ ด้ ทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง โดยออกแบบและ พิจารณาเลือกประเด็น หัวข้อ เนื้อหา/สาระสำา คัญของโครงงาน พร้อม รูปภาพ และ/หรือ ตารางหรือแผนภูมิประกอบ ตามที่เห็น ว่า เหมาะสม ได้เอง ๔. สือ Presentation ทางคอมพิวเตอร์หรือ VCD นำาเสนอโครงงาน ่ เล่าเรื่องแสดงภาพรวมและเจาะประเด็น สำา คัญของโครงงานลงในสื่อ Presentation ทางคอมพิ ว เตอร์ ใ นระยะเวลาไม่ เ กิ น ๗ นาที โดย สามารถจัดทำา เป็น ภาพเคลื่อนไหววีดิทัศน์ (VCD) หรือ เป็น แผนภาพ การนำา เสนอ ด้ ว ยโปรแกรมจำา พวก presentation เช่ น Powerpoint ก็ได้ ๕. แผ่นป้าย (Board) นิทรรศการโครงงาน 6
  • 7. แสดงภาพรวมและสรุปย่อสาระสำา คัญของโครงงานทั้งหมด ได้แก่ ชื่อ โครงงาน สถานศึกษา รายชื่อที่ปรึกษาและกลุ่ม เยาวชนผู้รับผิดชอบ โครงงาน บทคัดย่อ ผังมโนทัศน์ วิธีการดำา เนินงาน ผลการดำา เนินงาน การประเมินผลสรุปผล ข้อเสนอแนะ เป็นต้น ประกอบกับการจัดแสดง รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง สัญลักษณ์ รูปวาด ฯลฯ โดยใช้ความ คิดสร้างสรรค์และเทคนิคทางศิลปะมาช่วยในการนำาเสนอให้เกิดการสื่อ ความได้ง่าย ชัดเจน และน่าสนใจ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ๑๒๐ ซม. ๖๐ ๖๐ ชื่อโครงงานคุณธรรม ซม. ซม. รอยที่พบหัก ั กลางไปด้าน หลังได้ ๖๕ ซม. ปกหน้าโครง งาน ปกหลังโครง วัสดุที่แนะนำา: ใช้พลาสติกลูกฟูกหนา ๖๕ งาน ๓หรื อ ๕ มม. ถ้ า ทำา ได้ ถู ก ต้ อ งตามที่ ซม. กำาหนดจะสามารถพับแผ่นป้ายสลับกัน ได้เป็น ๔ ทบ มีลักษณะเป็น Big Book ๖๐ ซม. ขนาดประมาณ ๖๐ x ๖๕ เซนติ เ มตร 7
  • 8. (ตัวอย่าง สรุปย่อโครงงานใน ๑ หน้ากระดาษ) โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ ประจำาปี ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษา โครงงาน รณรงค์รักนวลสงวนตัว ทำาความดีถวายแด่พระเจ้าอย่่หวของปวงไทย ั Preventing Premarital Sex http://school.obec.go.th/prangku/king1.htm โดย เยาวชนกล่่ม สานฝั น โรงเรียนปรางค์ก่ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓ หลักธรรมสำาคัญ : หิริ โอตตัปปะ (ความละอายและความเกรงกลัวต่อบาป) พระราชดำาริสำาคัญ : ค่ณธรรม ๔ ประการ (ฆราวาสธรรม ๔: สัจจะ, ทมะ, ขันติ, จาคะ) ประเด็นปั ญหาหลัก : การเสียตัวก่อนวัยอันควรของวัยร่่น อันเน่ องมาจากการห่างเหินจาก ื ค่ณธรรม ไม่เข้าวัด อยากร้่อยากลอง ค่านิ ยมทางเพศท่ีไม่ถ่กต้อง เลียนแบบส่ ือลามก อนาจาร หลงใหลในของฟ่ ่มเฟื อย และปั ญหาครอบครัว กลุุมเป้ าหมาย : นั กเรียนหญิง รร.ปรางค์ก่ ม.๒-๔ จำานวน ๔๙๘ คน กิจกรรมเดุน : ทำาแบบสำารวจสภาพปั ญหาจริงแล้วเลือกเจาะสัมภาษณ์ข้อม่ลจากนร.กล่่ม เป้ าหมายท่ีมีปัญหา เพ่ ือสืบสาวหาสาเหต่และปั จจัยร่วม จากนั ้นโครงงานได้จัดกิจกรรมต่างๆ เพ่ ือลดพฤติกรรมเส่ียงและเพ่ิมพฤติกรรมขัดขวาง ได้แก่การปฏิบัตธรรมเฉลิมพระเกียรติท่ี ิ ให้ความร้่เก่ียวกับทักษะชีวิตและเร่ ืองเพศ จากนั ้นจึงมีการรับสมัครสมาชิกทัวไปก่อตังเป็ น ่ ้ "ชมรมเพ่ ือนใจวัยร่่น" ให้คำาปรึกษาแก่วัยร่นเร่ ืองความรักและเร่ ืองเพศ จัดปาฐกถาโดย ่ นิ มนต์พระวิทยากรมาให้ความร้เยาวชนในเร่ ืองภ่มิค้่มกันทางเพศ เช่นการเอาตัวรอดจาก ่ การมีเพศสัมพันธ์กับบ่คคลท่ีเรียกว่าแฟน เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลมาให้ความร้่เร่ ือง โรคติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์และการหลีกเล่ียงจากส่ิงยัวย่ และจัดค่ายค่ณธรรมบวชชี ่ พราหมณ์เฉลิมพระเกียรติสำาหรับกล่่มเส่ียงท่ีมีปัญหา ผลท่เกิดขึน : สามารถประมวลพฤติกรรมเส่ียงต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร๗ข้อ ี ้ และพฤติกรรมขัดขวางการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร๔ข้อ โดยกิจกรรมต่างๆ สามารถ ช่วยลดพฤติกรรมเส่ียงของนั กเรียนกล่่มเป้ าหมายลงได้ในกรณี ท่ีมาจากตัววัยร่่นเองท่ก รายการ แต่ท่ีมาจากปั จจัยเส่ียงภายนอกนั ้น ไม่ลดลงแต่เพ่ิมขึ้น สำาหรับพฤติกรรมขัดขวาง นั ้นเพ่ิมส่งขึ้นท่กรายการ 8
  • 9. เยาวชนผ้้รับผิดชอบโครงงาน พระสงฆ์ท่ีปรึกษา: พระมหาบ่ญทวี คนฺธ 1.นายสาธิต จันทร์สม่ด ม.๖ สีโล ประธาน เจ้าอาวาสวัดระกา 2.นางสาวส่พรรษา ธรรมสโรช ม.๖ ผ้้บริหารท่ปรึกษา: นายวรรณกิจ อินทร ี รองประธาน ประพงศ์ ผ้่อำานวยการสถาน 3.นางสาวพชรพร ส่ภาทิพย์ ม.๖ ศึกษา รองประธาน คร้ท่ปรึกษา: นายปราโมทย์ แหวนเงิน ี 4.นางสาวทิพาวรรณ เอ่ียมน่ ่ม ม.๖ กล่่มสาระสังคมศึกษาฯ เหรัญญิก ข้อม้ลโรงเรียน: จำานวนคร่ ๗๕ คน นั กเรียน 5.นายจริวัชร หงส์ศิริ ม.๖ ๑,๘๘๘ คน ประชาสัมพันธ์ แยกเป็ นชาย ๘๑๒ คน หญิง ๑,๐๗๖ คน 6.นางสาวรสส่คนธ์ ปั กกังเวสัง ม.๖ ติดตุอ: นายปราโมทย์ แหวนเงิน โทร. สวัสดิการ ๐๘๗ ๐๒๘ ๐๗๗๙ 7.นางสาวณั ฐฐาภรณ์ ศรีสิงห์ ม.๖ อีเมล์: prangku_pk@yahoo.com สวัสดิการ 8.นางสาวทวีพร สาสังข์ ม.๖ เลขาน่การ สนั บสน่นโดย - กลุุมกัลยาณมิตรเพ่ ือการเสริมสร้างเครือขุายวิถีพุทธ (กคพ.) - ศ้นย์สุงเสริมและพัฒนาพลังแผุนดินเชิงคุณธรรม (ศ่นย์ค่ณธรรม) - สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน (สพฐ.) (โครงการโรงเรียนวิถีพ่ทธ) ้ 9
  • 10. ปฏิทินงานโครงการพัฒนาโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา ๒๕๕๑ ตารางสรุปการดำาเนินงาน ปี ๒๕๕๑ ปี ๒๕๕๒ ท่ี ปฏิทินงาน มี. เม. พ. มิ. ก. ส. ก. ต. พ. ธ.ค ม. ก. มี. ค. ย. ค. ย. ค. ค. ย. ค. ย. . ค พ ค ๑ ประชาสัมพันธ์ ๒ สพท. รับสมัครสถานศึกษาเข้า โครงการและรับสมัครเยาวชนเข้า ช่วงเตรียม อบรมเตรียมความพร้อม ๓ สพท. จัดประชุม/คุายอบรมการทำา โครงงาน ๔ กล่่มเยาวชนส่ง รุางโครงงานและ ใบสมัครเข้าร่วมโครงการมาท่ี สพท. (เพ่ ือสมัครขอรับท่น) ๕ สพท.ประกาศรับรองการสมัคร (และ/หรือ มอบทุนรางวัล) และส่ง ข้อม่ลการสมัครมาท่ี สนก. สพฐ. ๖ กลุุมเยาวชนผ้้รับผิดชอบ ดำาเนิ น การ การโครงงานระยะท่ี ๑ ๗ สถานศึกษาและ สพท.ช่วย ประกวด สนั บสน่นติดตามประเมินผล ระดับ ๘ สพท.จัดประกวดโครงงานระดับ เขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ ือคัดเลือก ตัวแทนกล่่มเยาวชนผ้่รับผิดชอบ โครงงาน ๑ โครงงานมาเข้าค่าย พัฒนาโครงงานฯ และพิธีมอบโลุ/เกียรติบัตร/เงิน รางวัล ระดับ สพท. 10
  • 11. ๙ กคพ.ร่วมกับ สพท. ๘ แห่ง จัดคุาย การ พัฒนาโครงงานฯ นิ ทรรศการแลก ประกวด เปล่ียนเรียนร้้ และการประกวด ระดับ โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๘ ภ้มิภาค ๑ กลุุมเยาวชนผ้้รับผิดชอบดำาเนิ น ๐ การโครงงานระยะท่ี ๒ ๑ กคพ.ตรวจเย่ียม ๔๐ โครงงานใน ๑ พ้ืนท่ีจริง ๑ สถานศึกษาสนั บสน่นให้กล่่ม ๒ เยาวชนผ้่รบผิดชอบฯประมวลสร่ป ั ผลการดำาเนิ นงานทัง ๒ ระยะ และ ้ การ จัดทำาเอกสารและส่ ือนำ าเสนอโครง ประกวด งาน ฉบับสมบ้รณ์ ระดับ ๑ ๔๐ โครงงานท่ีเข้ารอบมีตัวแทนมา ๓ เข้า (๑) คุายสุดยอดผ้้นำายุวชน กัลยาณมิตร (๒) การประกวดโครง งานรอบชิงชนะเลิศ ระดับประเทศ (๓) พิธีมอบรางวัลเกียรติยศ และ (๔) นิ ทรรศการโครงงานคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ ระดับประเทศ 11
  • 12. คณะทีปรึกษา โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ ่ 1. พระธรรมโกศาจารย์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย 2. พระอาจารย์ชยสาโรภิกฺขุ อดีตเจ้าอาวาสวัดป่านานาชาติ 3. พระศรีญาณโสภณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก 4. พระอาจารย์ดุษฎี เมธังกุโร พระวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ สำานักปฏิบัติธรรมทุ่งไผ่ จังหวัดชุมพร 5. พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสื่อสารธรรมะ วัดเบญจมบพิตร ดุสิตวนาราม 6. นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม อดีตรองนายกรัฐมนตรีและ รมว.กระทรวงการพัฒนา สังคมฯ 7. คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายกสมาคมผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาแห่ง ประเทศไทย 8. ศาสตราจารย์กิตติคุณ สุมน อมรวิวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา และที่ปรึกษา ธรรมอาสาสมัครฝ่ายวิชาการ 9. ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา 10. ดร.มนูญ มุกข์ประดิษฐ์ รองเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา 11. นายปิยะบุตร ชลวิจารณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม 12. คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยาเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 13. ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการกลาง โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ 1. พระมหาพงศ์นรินทร์ ฐิตวำโส ประธาน กคพ. และประธานโครงการฯ วัดสุทัศนเทพว ราราม 2. พระมหาวิชาญ สุวชาโน หัวหน้าพระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช ิ วิทยาลัย วัดยานนาวา 3. พระมหานภันต์ สนฺติภทฺโท พระวิทยากรหัวหน้ากลุ่มพัฒนาจิต “เพื่อชีวิตดี งาม” วัดสระเกศ 4. พระเจษฎา สมาหิโต พระวิทยากรแกนนำาโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ จังหวัด อ่างทอง 5. พระสรยุทธ์ ชยปญฺโญ รักษาการเจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม จังหวัด เชียงใหม่ 6. รศ.บุญนำา ทานสัมฤทธิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ร่วมก่อตั้งโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ 7. รศ.ประภาภัทร นิยม ผู้อำานวยการโรงเรียนรุ่งอรุณและสถาบันอาศรมศิลป์ เหรัญญิก กคพ. 8. ดร.สิริกร มณีรินทร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ร่วมก่อตั้งโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ 9. ดร.อรทัย มูลคำา ผู้อำานวยการสำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา* 10. นางสาวนราทิพย์ พุ่มทรัพย์ ผู้อำานวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดิน เชิงคุณธรรม 11. นายปกรณ์ ตันสกุล รองอธิบดี กรมการศาสนา 12. นายพงษ์ชัย ศรีพันธุ์ ผูช่วยผู้อำานวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ ้ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 13. นางสาววิไลวรรณ ถึกไทย ผู้แทนศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิง คุณธรรม 14. นางบุบผาสวัสดิ์ รัชชตาตะนันท์ ผู้บริหารโรงเรียนทอสี และเครือข่าย ๓ ประสาน ร.ร. วิถีพุทธ 12
  • 13. 15. นางสาวอนินทิตา โปษะกฤษณะ ผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลหนูน้อยและเครือ ข่าย ๓ ประสาน ร.ร.วิถีพุทธ 16. ดร.ไพรัช สู่แสนสุข อาจารย์วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนคร 17. นายพิสุทธิ์ เกรียงบูรพา ศิลปินธรรมะบันเทิง กลุ่มเรียนเชิญผู้มีจิตศรัทธา 18. ดร.บรรเจอดพร สู่แสนสุข สำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. เลขานุการ กคพ. กลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อการเสริมสร้างเครือข่ายวิถีพุทธ (กคพ.) ศูนย์ประสานงานการประกวดโครงงาน มูลนิธิโรงเรียนรุ่งอรุณ (คุณ คุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ โชติกา) โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ (ดร.บรรเจอดพร) ๙/๙ หมู่๕ ซอย๓๓ ถ.พระราม๒ สำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. แขวงท่าข้าม กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๒๘๐-๕๕๖๐ โทรสาร ๐๒–๒๘๑– ๑๐๑๕๐ ๕๒๑๖ โทร. ๐๒-๘๔๐-๒๕๐๑-๔ อีเมล์ moralproject@gmail.com โทรสาร. ๐๒-๘๗๐-๗๕๑๔ ศูนย์ประสานงานด้านการเงินและบัญชี Website โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ: http://www.moralproject.net 13