SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
รายงานการศึกษาคนควา
เรื่อง การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางของสังคมไทย
นายวธันยู มูลตรีสา
นางสาวเจนจิรา จันทรกุมาร
นางสาวดาราภรณ โอทอง
นางสาวปยะภรณ สุวรรณรอด
นางสาวมนัสนันท สมสวาง
นางสาวอารียา บุตรชารี
โรงเรียนบานดุงวิทยา อําเภอ บานดุง
จังหวัดอุดรธานี
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1
รายงานการศึกษานี้เปนสวนหนึ่งของวิชา การสื่อสารและการนําเสนอ
2558
รายงานการศึกษาคนควา
เรื่อง การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางของสังคมไทย
นายวธันยู มูลตรีสา
นางสาวเจนจิรา จันทรกุมาร
นางสาวดาราภรณ โอทอง
นางสาวปยะภรณ สุวรรณรอด
นางสาวมนัสนันท สมสวาง
นางสาวอารียา บุตรชารี
โรงเรียนบานดุงวิทยา อําเภอ บานดุง
จังหวัดอุดรธานี
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1
รายงานการศึกษานี้เปนสวนหนึ่งของวิชา การสื่อสารและการนําเสนอ
2558
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาคนควานี้สําเร็จรุรวงไดดวยดีดวยความกรุณาจาก คุณครูที่อบรมสั่งสอนทุกทานที่ใหความรู
และใหคําปรึกษา ซึ่งไดใหคําแนะนําตรวจแกขอบกพรองตางๆ ดวยความเอาใจใสปลูกฝงใหคณะผูศึกษา
คนควารักการทํางาน สนับสนุนใหกําลังใจและเปนแบบอยางที่ดีใหกับคณะผูศึกษามาโดยตลอด คณะผูศึกษา
คนควาขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย
ทั้งนี้คณะผูศึกษารูสึกซาบซึ้งและประทับใจในความกรุณาของคุณครูทุกทานที่ประสิทธิประสาทความรู
ในวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ จนทําใหการศึกษาคนควานี้สําเร็จเรียบรอย คณะผูศึกษาขอขอบพระคุณ
เปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ดวย
ขอขอบพระคุณคุณครูเอกนรินทร แกวอุนเรือน ครูโรงเรียนบานดุงวิทยา ที่กรุณาไดตรวจสอบ
การศึกษาคนควา ใหคําแนะนําและใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการแกไขเพิ่มเติมใหการศึกษาคนควานี้มี
ความสมบูรณและมีคุณคาสูงยิ่งขึ้น คณะผูศึกษาขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย
ทายสุดนี้ ผูขอขอบพระคุณพี่ๆเพื่อนๆนองๆ ที่ไมสามารถเอยนามไดหมดในที่นี้ทุกคนเปนกําลังใจอัน
สําคัญยิ่งในการศึกษา และในการทํางานการศึกษาคนควาในครั้งนี้
คุณูปการอันเกิดจากการศึกษาคนควา ขออุทิศใหบุพการีและครูอาจารยทุกทาน
คณะผูศึกษา
สารบัญ
เรื่อง หนา
กิตติกรรมประกาศ ก
สรุปผลการศึกษา 1
แบบสอบถามเรื่องปญหา/สาเหตุการหยารางในสังคมไทย 4
สรุปผลจากแบบสอบถาม 6
บรรณานุกรม 9
ภาคผนวก
-โครงราง 11
-ภาพการทํางานรวมกันของสมาชิกในกลุม 13
สรุปผลการศึกษา
การศึกษาสรุปผลไดดังนี้
จากการศึกษาพบวาในสังคมไทยเดิมการแตงงานเปนเรื่องความสัมพันธระหวางเครื่องญาติไมใชเฉพาะ
คูสมรสจึงอยูภายใตความดูแลคอยไกลเกลี่ยความขัดแยงของกลุมเครือญาติ การปลูกฝงคานิยมเกี่ยวกับ
พรหมจรรยคานิยมเกี่ยวกับการแตงงานแบบผัวเดียวเมียเดียว มีสวนสําคัญอยางมากที่ทําใหผูหญิงพยายามรักษา
ชีวิตการแตงงานของตนเองไวใหยาวนานที่สุด ถึงแมวาผูหญิงหลายคนตองทนทุกขทรมานจากการแตงงาน เชน
สามีมีเมียนอย สามีไมมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ถูกสามีทํารายรางกาย เพราะเมื่อมีการหยารางผูที่ไดรับ
ผลกระทบมากที่สุดก็คือ ผูหญิง และการหยารางยังถือเปนเรื่องนาอับอายขายหนาไมเปนที่พึงประสงคใหมีการ
หยารางเกิดขึ้น สามีภรรยาจึงตองอยูรวมกันตอไป ทั้งที่มีเรื่องขุนของหมองใจโดยถือวาเปนเรื่องของเคราะห
กรรม ถึงแมวาสมัยกอนการหยารางจะทําไดอยาก แตการหยารางก็สามารถทําไดในกรณีคูสมรสมีความประสงค
ที่จะหยาราง ดังจะเห็นไดจากจดหมายจากลาลูแบร (simon de la loubere) ที่กลาวการหยารางในสังคมไทยสมัย
อยุธยาไววาการอยูกินฐานสามีภรรยาในประเทศสยามนั้นแทบจะราบรื่นแทบทุกครัวเรือนแตหากสามีภรรยาคู
ใดไมประสงคที่จะอยูรวมกันตอไป ก็สามารถที่จะหยารางกันไดตามกฎหมายผูเปนสามีนั้นเปนตัวสําคัญในการ
หยารางเพราะจะยอมอยาหรือไมก็ได แตก็ไมปฏิเสธหากภรรยามีความตองการอยางแรงกลาที่จะหยากับตน การ
หยารางจึงไมใชเรื่องผิดปกติแตอยางใด ภายหลังการหยารางก็สามารถแตงงานใหมได ซึ่งเปนการแสดงใหเห็น
วาการหยารางเปนสิ่งที่สังคมไทยยอมรับได ถึงแมวาการหยารางจะเกิดขึ้นไมบอยครั้งนักก็ตามมีผลกระทบ
โดยตรงตอสถาบันครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ดังนี้
ปญหาการหยารางมีผลกระทบทําไหเด็กในสังคมไทยกอปญหาทางสังคมมากมาย ดวยสาเหตุที่เด็กอยู
ในครอบครัวแตกแยก จะขาดความรัก ความอบอุน มีความรูสึกไมมั่นคง เนื่องจากลูกเคยชินตอสภาพพอแม ให
ความรัก ความอุน และความมันใจแกเขา แตความสัมพันธแบบนี้ตองถูกทําลายไป ทําใหมีผลกระทบกระเทือน
ตอการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคล เชน เด็กที่เคยยึดพอแมเปนแบบฉบับ ในเรื่องคานิยม อารมณ แบบของความ
ประพฤติที่ชวยใหเด็กมีบุคลิกภาพที่ดี แตเมื่อหนวยของครอบครัวถูกทําลายลงลูกๆบางครั้งก็ไมทราบวาจะหัน
หนาไปพึ่งใคร ซื่งอาจทําไหเขาผิดหวัง และมีเรื่องที่ทําใหสะเทือนใจกลายเปนเด็กกระทําผิด เชน การประพฤติ
ผิดทางเพศ ติดยาเสพติด และการเปนเด็กจรจัด การปรับตัวของเด็กหลังการหยาราง ลูกๆมักจะอยูกับแม ซึ่งมีผม
กระทบกระเทือนตอบุคลิกภาพของเด็ก เพราะทั้งพอและแมจะเปนคนอบรบเด็ก จะเปนคนอบรมเด็กและเด็กก็
เรียนรูบทบาทจากพอแมซึ่งเปนตนฉบับสําหรับชีวิตของผูใหญแตถาเหลือแตแม และแมตองทําหนาที่เปนทั้งพอ
และแม โดยบางครั้งแมก็ไมสามารถปลูกฝงพฤติกรรมแบบพอ ใหแกลูกได ทําใหเด็กมีปญหาทาเพศ เชน
เด็กผูชายจะมีนิสัยเปนผูหญิง (ตุด) ในอีกแงมุมหนึ่งเด็กที่ถูกเลี้ยงดูจากพอก็จะมีพฤติกรรมเลียนแบบพอ แต
อยางไรก็ตามเด็กทั้งหญิงและชายโดยทั่วไปมักจะมีความใกลชิดชอบแมมากกวาพอ แมจึงมีอิทธิพลโนมนาว
จิตใจเด็กมากกวาและในกรณีที่ครอบครัวไมมีความสุข ลูกสาวและลูกชายมักจะเขาขางแมมากกวาพอ การหยา
รางเปนการสิ้นสุดชีวิตของคูสมรส ยอมเปนเรื่องเศราที่เกิดขึ้นทางสังคมไทยโดยเฉพาะผูหญิงที่หยารางจะตอง
ทําหนาที่รับผิดชอบเลี้ยงดูลูก หรือ ทํางานหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว
การอภิปรายผล
สาเหตุของการหยารางในสังคมไทย สามารถสรุปและอภิปรายผลไดดังตอไปนี้
สาเหตุที่ 1 เกิดจากความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัว
ตั้งแตความสัมพันธของสามีภรรยาจนถึงความสัมพันธระหวางลูกกับพอแม ความไมเขาใจซึ่งกันและ
กัน ฝายหนึ่งก็อางการทํางาน ในขณะอีกฝายก็ทําแตงาน ขาดความใสใจ ไมมีเวลาใหกันและกัน เพราะประเด็น
หลักที่ทําใหปญหาของการหยารางเกิดขึ้น เกิดจากพฤติกรรมของคนในครอบครัวที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อโลก
โลกาภิวัตนเขามาในสังคม ทําใหมนุษยมีเวลาใหกันนอยลง ครอบครัวไมมีเวลามาเจอหนากัน
สาเหตุที่ 2 เพราะวาคุณหรือเขาตางคาดหวังใหเขาเปน
กอนที่จะแตงงานกัน(ชวงที่รักกันใหมๆ) คุณและเขาก็อาจคาดหวังวาพอไดแตงงานกันไปเขาหรือเธอ
คงจะเปนแบบนั้นแบบนี้ เชน เธออาจจะเปนแมบานที่ดี เปนแมที่ดี หรืออาจจะคาดหวังวา เขาคงจะเปนหัวหนา
ครอบครัวที่ดี มีความรับผิดชอบชวยเราดูแลครอบครัว และชวยดูแลบาน หากสิ่งที่คุณๆไดคาดหวังไว แตคุณไม
เคยบอกคูของคุณใหรูกอนเลยละก็เมื่อคุณไดมาอยูรวมกันแลวละก็ คุณอาจจะเพิ่งจะรูความจริงก็ไดวา เขาเอง
ไมไดเปนไปอยางที่คุณคาดหวัง หรืออยากใหเขาเปน
สาเหตุที่ 3 สามีภรรยาขาดความอดทนซึ่งกันและกัน
สามีและภรรยาขาดความอดทนไมมีการเสียสละและใหอภัยกันที่เปนเชนนี้เพราะ การที่มีคนมาอยู
รวมกันมากกวาหนึ่งคนขึ้นไป ยอมตองมีเรื่องกระทบกระทั่งการเกิดขึ้นบางเปนธรรมดา
สาเหตุที่ 4 คานิยมพื้นฐานที่แตกตางกันเกินไป
คานิยมพื้นฐานหมายถึง ความเชื่อ ความชอบ และความเห็นวาดีและไมดีในเรื่องตางๆ ตั้งแตพื้นฐาน
ของชีวิต การกิน นอน ศาสนา ความเชื่อ ความสําเร็จ คานิยมสวนตัว เชน หากคุณเปนผูหญิงที่มีมุมมอง แนวคิด
ที่อยากจะทํางาน อยากใชความสามารถของตนเองในการทํางาน หรือ ทําธุรกิจ
ขอเสนอแนะ
ในการศึกษาคนควาในครั้งนี้คณะผูศึกษาคนความีขอเสนอแนะดังนี้ ขอเสนอแนะทั่วไป 1.ถาหากคนใน
ครอบครัวมีเวลาใหครอบครัวกิจกรรมภายในครอบครัวก็จะเกิดขึ้น ไมวาจะเปนการรดน้ําตนไม พากันไปกิน
ขาว ไปเที่ยวดวยกัน สัมพันธภาพในครอบครัวก็จะดีขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเรามีเวลาใหแกกันเวลาที่เราจะเรียนรูซึ่งกัน
และกันก็เกิดขึ้นและกิจกรรมที่เราทําดวยกัน สามารถที่จะสอนลูกๆไปในตัวดวย แลวสิ่งที่พอแมทําใหลูกเห็น
ลูกๆก็จะเรียนรูถึงสิ่งเหลานั้นและซึบซับไปเองโดยอัตโนมัติ 2.คูแตงงานควรหันหนาพูดคุยกันกอนเลยวา คุณ
ตองการอะไร และเขาคาดหวังอะไรจากคุณ เพราะหากแตงไปแลวคุณหรือเขาพึ่งมารูความจริงละก็ หากเขารับ
ไดก็โชคดีไป แตหากรับไมไดจากรักวันหวานก็กลายเปนรักช้ําในวันนี้ก็ได 3.รวมชวยกันแกไขปญหาตางๆที่
เกิดขึ้นและลุลวงลงไดดวยดี ขอเสนอแนะเพื่อทําการศึกษาคนควาในครั้งตอไป
1. ในการศึกษา “ปญหาการหยารางของสังคมไทย” ในครั้งนี้เปนการศึกษากับกลุมคูสมรสกลุมเล็กๆที่
ใหความรวมมือ ไมสามารถที่จะสรุปครอบคลุมถึงปญหาการหยารางของสังคมไทยไดทั้งหมด ดังนั้นผล
การศึกษาจึงเปนเพียงแงมุมหนึ่งที่สามารถอธิบายไดเพียงกลุมหนึ่งเทานั้น ถาหากการศึกษาในครั้งตอไปมี
การศึกษาปญหาการหยารางของสังคมไทยที่มีลักษณะแตกตางออกไปจากการศึกษาในครั้งนี้ ก็อาจจะทําให
ทราบผลสรุปอื่นๆ ที่มีความนาสนใจมากขึ้น
2. การวิจัยครั้งตอไปควรมีการศึกษาในเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพราะจะทําใหคณะผูศึกษาคนควา
สามารถเก็บขอมูลไดลึกซึ่งมากตามที่ตองการ เพราะมีความยืดหยุนในการออกแบบการใชเครื่องมือสําหรับเก็บ
ขอมูล และการดําเนินการศึกษา จะทําใหไดทราบถึงสาเหตุ ปรากฏการณขอเท็จจริงในเรื่องที่ศึกษาไดลึกซึ้งมาก
ยิ่งขึ้น
แบบสอบถามเรื่องปญหา/สาเหตุการหยารางในสังคมไทย
คําชี้แจง: แบบสอบถามนี้ใชศึกษาเรื่องสาเหตุการหยารางในสังคมไทย ขอมูลนี้ไดใชประกอบการเรียน
วิชาการสื่อสารและการนําเสนอ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2558
สวนที่1: ขอมูลผูตอบแบบสอบถาม
เพศ:  ชาย  หญิง
อายุ:  16-20 ป  21-25 ป  26-30 ป  31 ปขึ้นไป
อาชีพ:  สวนตัว  นร.-นศ.  ลูกจาง  ขาราชการ  อื่นๆ
การศึกษา:  ม.3-6  ระดับอุดมศึกษา  ไมไดกําลังศึกษา
รายได:  ต่ํากวา 5,000/เดือน  5,001-9,999/เดือน  10,000-15,000/เดือน  15,001 ขึ้นไป/เดือน
สวนที่2: ปญหา/สาเหตุการหยารางในสังคมไทย ใหผูตอบทําเครื่องหมาย  ในชองระดับความคิดเห็น
ที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุด
คาระดับความคิดเห็น เห็นดวยมากที่สุด มีคาเปน 5
เห็นดวยมาก มีคาเปน 4
เห็นดวยปานกลาง มีคาเปน 3
เห็นดวยนอย มีคาเปน 2
เห็นดวยนอยที่สุด มีคาเปน 1
รายการ
ความคิดเห็น
เห็น
ดวย
มาก
ที่สุด
( 5 )
เห็น
ดวย
มาก
( 4 )
เห็น
ดวย
ปาน
กลาง
( 3 )
เห็น
ดวย
นอย
( 2 )
ไม
เห็น
ดวย
( 1 )
1.ปญหาทางเศรษฐกิจสงผลใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทย
2.ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรกอใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทย
3.คูสมรสที่มีฐานะแตกตางกันกอใหเกิดปญหาการหยาราง
4.ระดับการศึกษาที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง
5.ทัศนคติที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง
6.เด็กที่อาศัยอยูในครอบครัวที่มีปญหาการหยารางจะสงผลกระทบตอสังคมไทย
7.เด็กที่มาจากการหยารางและการสมรสใหมของพอแมจะกลัวการถูกวิพากษวิจารณ
และลําบากใจในการดําเนินชีวิต
8.การหยารางกอใหเกิดความรูสึกสะเทือนจิตใจตอผูที่เกี่ยวของ
9.คูสามี – ภรรยาควรตระหนักถึงผลที่ตามมาหลังจากการหยาราง
10.ปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทย
ขอเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
เกณฑการแปลความหมายของคะแนนจากการหาคาเฉลี่ย
เพื่อใหการแปลความหมายของผลการวิเคราะหขอมูลสอดคลองกับความเปนจริง คณะผูศึกษาจึง
กําหนดเกณฑการแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ยดังนี้
4.50 – 5.00 หมายถึง อยูในระดับมากที่สุด
3.50 - 4.49 หมายถึง อยูในระดับมาก
2.50 – 3.49 หมายถึง อยูในระดับปานกลาง
1.50– 2.49 หมายถึง อยูในระดับนอย
1.00 – 1.49 หมายถึง อยูในระดับนอยที่สุด
สรุปผลจากแบบสอบถาม
ขนาดของกลุมตัวอยาง คูสมรสในชุมชนบานศรีอุดม2 ตําบลศรีสุทโธ อําเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี
จํานวน 500 ครัวเรือน
คิดเปนกลุมตัวอยางอยางนอย 10% คือ
500
100
𝑥𝑥10 = 50
แจกแบบสอบถามไป 50 ชุด ไดรับคืน 50 ชุด
ซึ่งไดผลจากแบบสอบถาม ดังนี้
สวนที่1: ขอมูลผูตอบแบบสอบถาม ไดขอมูลดังนี้
จากขอมูล เพศชาย 19 คน คิดเปนรอยละ 38 เพศหญิง 31 คน คิดเปนรอยละ 62 รวม 50 คน คิดเปนรอยละ 100
อายุ 16-20 ป คิดเปนรอยละ 16 อายุ 21-25 ป คิดเปนรอยละ 20 อายุ 26-30 ป คิดเปนรอยละ 24 อายุ 31 ปขึ้นไป
คิดเปนรอยละ 40
ประกอบอาชีพสวนตัว คิดเปนรอยละ 6 นักเรียน-นักศึกษา คิดเปนรอยละ 34 ลูกจาง คิดเปนรอยละ 18
ขาราชการ คิดเปนรอยละ 18 และอาชีพอื่นๆที่ไมไดระบุในแบบสอบถาม คิดเปนรอยละ 24
การศึกษา ม.3-ม.6 คิดเปนรอยละ 26 ระดับอุดมศึกษา คิดเปนรอยละ 40 ไมไดทําการศึกษา คิดเปนรอยละ 34
รายได ต่ํากวา 5,000/เดือน คิดเปนรอยละ 30 รายได 5,001-9,999/เดือน คิดเปนรอยละ 24 รายได 10,000-15,000/
เดือน คิดเปนรอยละ 26 รายได 15,001 ขึ้นไป/เดือน คิดเปนรอยละ 20
สวนที่2: การประเมินตามระดับความคิดเห็นจากตารางแบบสอบถามไดขอมูลดังนี้
ปญหาทางเศรษฐกิจสงผลใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด 17 คน คิดเปน
รอยละ 34 เห็นดวยมาก 16 คน คิดเปนรอยละ 32 เห็นดวยปานกลาง 15 คน คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวยนอย 2 คน
คิดเปนรอยละ 4 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.96 อยูในระดับมาก ความเจริญกาวหนา
ทางวิทยาศาสตรกอใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็น
ดวยมาก 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็นดวยปานกลาง 24 คน คิดเปนรอยละ 48 เห็นดวยนอย 2 คน คิดเปนรอยละ
4 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 อยูในระดับมาก คูสมรสที่มีฐานะแตกตางกัน
กอใหเกิดปญหาการหยารางมีผูเห็นดวยมากที่สุด 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็นดวยมาก 19 คน คิดเปนรอยละ
38 เห็นดวยปานกลาง 16 คน คิดเปนรอยละ 32 เห็นดวยนอย 3 คน คิดเปนรอยละ 6 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปน
รอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.8 อยูในระดับมาก ระดับการศึกษาที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง
มีผูเห็นดวยมากที่สุด 11 คน คิดเปนรอยละ 22 เห็นดวยมาก 14 คน คิดเปนรอยละ 28 เห็นดวยปานกลาง 15 คน
คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวยนอย 10 คน คิดเปนรอยละ 20 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ
3.52 อยูในระดับมาก ทัศนคติที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยารางมีผูเห็นดวยมากที่สุด 23 คน คิด
เปนรอยละ 46 เห็นดวยมาก 9 คน คิดเปนรอยละ 18 เห็นดวยปานกลาง 13 คน คิดเปนรอยละ 26 เห็นดวยนอย 5
คน คิดเปนรอยละ 10 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.00 อยูในระดับมาก เด็กที่อาศัยอยูใน
ครอบครัวที่มีปญหาการหยารางจะสงผลกระทบตอสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด 16 คน คิดเปนรอยละ 32
เห็นดวยมาก 9 คน คิดเปนรอยละ 18 เห็นดวยปานกลาง 17 คน คิดเปนรอยละ 34 เห็นดวยนอย 8 คน คิดเปนรอย
ละ 16 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 อยูในระดับมาก เด็กที่มาจากการหยารางและการ
สมรสใหมของพอแมจะกลัวการถูกวิพากษวิจารณและลําบากใจในการดําเนินชีวิตมีผูเห็นดวยมากที่สุด 15 คน
คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวยมาก 16 คน คิดเปนรอยละ 32 เห็นดวยปานกลาง 15 คน คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวย
นอย 4 คน คิดเปนรอยละ 8 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.84 อยูในระดับมาก การหยา
รางกอใหเกิดความรูสึกสะเทือนจิตใจตอผูที่เกี่ยวของมีผูเห็นดวยมากที่สุด 17 คน คิดเปนรอยละ 34 เห็นดวยมาก
14 คน คิดเปนรอยละ 28 เห็นดวยปานกลาง 10 คน คิดเปนรอยละ 20 เห็นดวยนอย 9 คน คิดเปนรอยละ 18 ไม
เห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.78 อยูในระดับมาก คูสามี – ภรรยาควรตระหนักถึงผลที่
ตามมาหลังจากการหยารางมีผูเห็นดวยมากที่สุด 24 คน คิดเปนรอยละ 48 เห็นดวยมาก 9 คน คิดเปนรอยละ 18
เห็นดวยปานกลาง 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็นดวยนอย 5 คน คิดเปนรอยละ 10 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอย
ละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.04 อยูในระดับมาก ปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด
26 คน คิดเปนรอยละ 52 เห็นดวยมาก 10 คน คิดเปนรอยละ 20 เห็นดวยปานกลาง 8 คน คิดเปนรอยละ 16 เห็น
ดวยนอย 5 คน คิดเปนรอยละ 10 ไมเห็นดวย 1 คน คิดเปนรอยละ 2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.1 อยูในระดับมาก
สรุปไดวาจากการศึกษาปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทยเปนอยางมาก ทั้งนี้คูสามี – ภรรยา
ควรตระหนักถึงผลที่ตามมาหลังจากการหยาราง เพราะปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทย ซึ่งสาเหตุ
ของการหยารางอาจเกิดจากทัศนคติที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง ปญหาทางเศรษฐกิจสงผล
ใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทย ทําใหเด็กที่มาจากการหยารางและการสมรสใหมของพอแมจะกลัวการ
ถูกวิพากษวิจารณ และลําบากใจในการดําเนินชีวิต รวมไปถึงคูสมรสที่มีฐานะแตกตางกันกอใหเกิดปญหาการ
หยาราง การหยารางกอใหเกิดความรูสึกสะเทือนจิตใจตอผูที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนพอแม พี่นองของทั้งฝายหญิง
ชาย ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรกอใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทยก็เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่อาจจะ
ทําใหเกิดการหยารางขึ้น เด็กที่อาศัยอยูในครอบครัวที่มีปญหาการหยารางจะสงผลกระทบตอสังคมไทย และอีก
สาเหตุหนึ่งที่สําคัญที่อาจทําใหเกิดการหยารางคือระดับการศึกษาที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยา
ราง เปนตน
ขอเสนอแนะ
จากแบบสอบถามความคิดเห็นของคูสมรสในชุมชนบานศรีอุดม2 ตําบลศรีสุทโธ อําเภอบานดุง จังหวัด
อุดรธานี ขอเสนอแนะสวนมากผูตอบแบบสอบถามตองการที่จะอยากใหมีการเสนอใหหนวยงานที่เกี่ยวของให
ความรูผลกระทบหลังการหยากับประชาชน เสนอการออกกฎหมายการหยารางโดยเหตุอันไมควรมีความผิดเลย
เชน หยาเพราะพฤติกรรมเมาบอยครั้ง ควรจะหาวิธีแกปญหาใหกับเด็กที่อยูในครอบครัวที่มีปญหาการหยาราง
สามี-ภรรยาควรตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากการหยาราง ปรับทัศนคติใหคนในสังคมเกี่ยวกับเด็ก
ที่มาจากครอบครัวที่หยารางกัน ควรที่จะมีการแกไขปญหาการหยารางในสังคมอยางจริงจัง และแบบสอบถาม
ไมครอบคลุม
บรรณานุกรม
ประสิทธิ์ สวาสดิ์ญาติ, ระบบเครือญาติและการจัดระเบียบสังคม, เอกสารอัดสําเนา (กรุงเทพฯ :
โครงการตําราคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533), น.43-57.
พระบุญแทน ขันธศรี, “ศึกษาเปรียบเทียบหลักคําสอนเกี่ยวกับการครองเรือนในพุทธศาสนาและ
ศาสนาอิสลาม” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2537), น.20.
ภัทรพร สิริกาญจน (บรรณาธิการ), ความรูพื้นฐานทางศาสนา (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2537), น.20.
วันทนา กลิ่นงาม, “พฤติกรรมการหยาราง” วารสารสังคมศาสตร, น.17-20.
สุเกสินี สุภธีระ, “การหยาราง : อุบัติเหตุชีวิต” จุลสารสังคมศาสตร (ขอนแกน) ปที่ 3 ฉบับที่ 1
(พฤศจิกายน 2523-2524) : 81.
สุพัตรา สุภาพ, ปญหาสังคม (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิชย, 2539), น.31.
ภาคผนวก
ชื่อโครงราง: การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางของสังคมไทย
สาระการเรียนรู: วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชื่อผูคนควา
นายวธันยู มูลตรีสา เลขที่ 7
นางสาวเจนจิรา จันทรกุมาร เลขที่ 18
นางสาวดาราภรณ โอทอง เลขที่ 22
นางสาวปยะภรณ สุวรรณรอด เลขที่ 29
นางสาวมนัสนันท สมสวาง เลขที่ 33
นางสาวอารียา บุตรชารี เลขที่ 51
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1
โปรแกรมวิชา วิทย-คณิต
โรงเรียนบานดุงวิทยา
ปที่ศึกษาคนควา 2558
ความเปนมาและความสําคัญ
ครอบครัวนั้นคือสถาบันขั้นมูลฐานที่ทําใหชีวิตมีความเจริญและความเสื่อม นอกจากนั้นแลวครอบครัว
ยังถือเปนแหลงเพาะปลูกฝงคุณคาทางศีลธรรม ดังนั้น ครอบครัวจึงมีความสําคัญตอสังคมเปนอยางยิ่ง โดยมีคู
สมรสเปนแกนกลางในการสรางความอบอุน หากกลาวไปแลวชีวิตสมรสเปรียบไดกับนาวาที่ลอยอยูกลางทะเล
กัปตันเรือทั้งสองจะตองชวยกันประคองเรือใหถึงฝง หากพายุโหมกระหน่ํา โอกาสที่เรือจะอับปางก็มีมาก จึง
จําเปนอยางยิ่งที่จะตองประคองเรือใหไปตลอดรอดฝง ความมั่นคงของคูสมรสจึงเปนที่มาของความปลอดภัย
ทางสถาบันสังคม แมสังคมเองก็ปรารถนาที่จะใหคูสมรสอยูกันไปตลอดรอดฝง สังคมในอดีตมักยึดแนนอยูกับ
วัฒนธรรมครอบครัว ในศริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิกถือวา การยึดมั่นระหวางคูสมรสเปนประกาศิตของ
พระเจา มนุษยจักตองรักษาไว
ในอดีตการหยารางไมเปนที่ยอมรับของสังคม เพราะถือวาเปนเรื่องนาอับอาย และถาสามีภรรยาคูใด
หยารางกัน ก็จะถือเปนเรื่องที่ไมดี จะไดรับการติฉินนินทา ดังนั้นปญหาการหยารางจึงไมคอยเกิดขึ้น ทั้งๆที่
สมัยกอนสวนใหญเปนการแตงงานแบบคลุมถุงชน คือ พอแมจับใหแตงงานกัน แตเมื่ออยูกินดวยกันแลวก็รัก
กันและอยูดวยกันจนตายจากกัน ซึ่งอาจเปนเพราะผูหญิงไทยในอดีตมีหนาที่อยูกับบานคอยปรนนิบัติรับใชพอ
แมและเปนแมบานแมเรือนดูแลการงานภายในบานทุกอยาง ไมไดออกไปทํางานนอกบานเหมือนในปจจุบัน
ปญหาการหยารางจึงไมเกิดขึ้น
แตปจจุบันสภาพสังคม เศรษฐกิจไดเปลี่ยนแปลงไป ครอบครัวไดถูกลดทอนความสําคัญในฐานะหนวย
พื้นฐานทางสังคมลงไป สถานการณดังกลาวไดทําใหสถาบันครอบครัวแตกสลาย เพราะปญหาการหยารางที่
กําลังทวีความรุนแรงขึ้นตามลําดับ ชีวิตมีการเริ่มตนก็ตองมีจุดจบ มีเกิดก็ตองมีตาย เมื่อถึงจุดจบ แตละคนก็
เปนไปตามวิถี ชีวิตของตน ชีวิตการแตงงานก็เชนกัน มีการสิ้นสุดลงโดยวิธีการหยาราง การตายจากกัน การละ
ทิ้ง การแยกกันอยู คูสมรสอาจจะอยูกันนาน บางคูก็อาจจะอยูกันสั้น การหยารางเปนการสิ้นสุดชีวิตแตงงานของ
คูสมรส ยอมเปนเรื่องเศราที่เกิดขึ้นใน สังคมไทย โดยเฉพาะผูหญิงที่หยารางมักจะตองทําหนาที่รับผิดชอบเลี้ยง
ดูลูก หรือ ทํางานหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว
วัตถุประสงคของการศึกษา
1.เพื่อศึกษาสาเหตุของการหยารางของสังคมไทย
2.เพื่อศึกษาผลกระทบของการหยารางของสังคมไทย
สมมติฐานของการศึกษา
การหยารางมีผลกระทบโดยตรงตอสถาบันครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.ทราบถึงสาเหตุการหยารางของสังคมไทย
2.ทราบถึงผลกระทบของการหยารางของสังคมไทย
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรม
ชื่อการศึกษา การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางในสังคมไทย ภาคการเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2558
ลําดับที่ เดือน รายละเอียดการปฏิบัติกิจกรรม ผูรับผิดชอบ
1 พ.ย. 58 เขียนโครงรางรายงาน คณะผูจัดทํา
2 พ.ย. 58 สรุปความรูที่ไดจากการเรียนในภาคเรียนที่ 1 คณะผูจัดทํา
3 ธ.ค. 59 ออกแบบรูปแบบการเก็บขอมูลในภาคเรียนที่ 2 คณะผูจัดทํา
4 ธ.ค. 59 กําหนดกลุมตัวอยางที่จะเก็บขอมูล คณะผูจัดทํา
5 ธ.ค. 59 กําหนดคาสถิติตางๆ เกณฑคะแนน ชวงคะแนน
และการแปลผลคะแนน
คณะผูจัดทํา
6 ม.ค. 59 สรุปวิเคราะห สังเคราะหขอมูลที่ได คณะผูจัดทํา
7 ก.พ. 59 นําเสนอผลงานในรูปแบบตางๆ คณะผูจัดทํา
ภาพการทํางานรวมกันของสมาชิกในกลุม
การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการหย่าร้างในสังคมไทย

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...
Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...
Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...Sidifinni Francisco
 
Matemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capital
Matemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capitalMatemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capital
Matemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capitalJUAN ANTONIO GONZALEZ DIAZ
 
Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2
Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2
Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2JUAN ANTONIO GONZALEZ DIAZ
 
Matemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupón
Matemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupónMatemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupón
Matemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupónJUAN ANTONIO GONZALEZ DIAZ
 
лесна рецепта за шоколадови мъфини
лесна рецепта за шоколадови мъфинилесна рецепта за шоколадови мъфини
лесна рецепта за шоколадови мъфиниIrinka Dacheva
 
【講義】昭君詩
【講義】昭君詩【講義】昭君詩
【講義】昭君詩逸柔 洪
 
Matemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominal
Matemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominalMatemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominal
Matemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominalJUAN ANTONIO GONZALEZ DIAZ
 

Destaque (8)

Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...
Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...
Copyreadingandheadlinewriting bciscampusjournalismtraining-workshop2012-12081...
 
Matemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capital
Matemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capitalMatemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capital
Matemáticas Financieras. Problemas de préstamos pago unico capital
 
Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2
Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2
Matemáticas Financieras. Rentas anuales constantes. problema 2
 
Matemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupón
Matemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupónMatemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupón
Matemáticas Financieras. Emprestito con pérdida del último cupón
 
лесна рецепта за шоколадови мъфини
лесна рецепта за шоколадови мъфинилесна рецепта за шоколадови мъфини
лесна рецепта за шоколадови мъфини
 
【講義】昭君詩
【講義】昭君詩【講義】昭君詩
【講義】昭君詩
 
Matemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominal
Matemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominalMatemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominal
Matemáticas Financieras. Emprestito con reducción de nominal
 
vertigo 1
vertigo 1vertigo 1
vertigo 1
 

Semelhante a การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการหย่าร้างในสังคมไทย

ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศWichuta Junkhaw
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นPanda Jing
 
รายการข่าว
รายการข่าวรายการข่าว
รายการข่าวWichuta Junkhaw
 
รายการสาคดี
รายการสาคดีรายการสาคดี
รายการสาคดีWichuta Junkhaw
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุniralai
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิงสิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิงNhui Srr
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)45606
 
รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53
รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53
รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53Sircom Smarnbua
 
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์sirirak Ruangsak
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556oryornoi
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการrorsed
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 

Semelhante a การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการหย่าร้างในสังคมไทย (20)

ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
รายการข่าว
รายการข่าวรายการข่าว
รายการข่าว
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
รายการสาคดี
รายการสาคดีรายการสาคดี
รายการสาคดี
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุ
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิงสิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
 
รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53
รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53
รายงานผลการประชุมสัมมนาเด็กสตรี 53
 
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 

การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการหย่าร้างในสังคมไทย

  • 1. รายงานการศึกษาคนควา เรื่อง การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางของสังคมไทย นายวธันยู มูลตรีสา นางสาวเจนจิรา จันทรกุมาร นางสาวดาราภรณ โอทอง นางสาวปยะภรณ สุวรรณรอด นางสาวมนัสนันท สมสวาง นางสาวอารียา บุตรชารี โรงเรียนบานดุงวิทยา อําเภอ บานดุง จังหวัดอุดรธานี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1 รายงานการศึกษานี้เปนสวนหนึ่งของวิชา การสื่อสารและการนําเสนอ 2558
  • 2. รายงานการศึกษาคนควา เรื่อง การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางของสังคมไทย นายวธันยู มูลตรีสา นางสาวเจนจิรา จันทรกุมาร นางสาวดาราภรณ โอทอง นางสาวปยะภรณ สุวรรณรอด นางสาวมนัสนันท สมสวาง นางสาวอารียา บุตรชารี โรงเรียนบานดุงวิทยา อําเภอ บานดุง จังหวัดอุดรธานี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1 รายงานการศึกษานี้เปนสวนหนึ่งของวิชา การสื่อสารและการนําเสนอ 2558
  • 3. กิตติกรรมประกาศ การศึกษาคนควานี้สําเร็จรุรวงไดดวยดีดวยความกรุณาจาก คุณครูที่อบรมสั่งสอนทุกทานที่ใหความรู และใหคําปรึกษา ซึ่งไดใหคําแนะนําตรวจแกขอบกพรองตางๆ ดวยความเอาใจใสปลูกฝงใหคณะผูศึกษา คนควารักการทํางาน สนับสนุนใหกําลังใจและเปนแบบอยางที่ดีใหกับคณะผูศึกษามาโดยตลอด คณะผูศึกษา คนควาขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย ทั้งนี้คณะผูศึกษารูสึกซาบซึ้งและประทับใจในความกรุณาของคุณครูทุกทานที่ประสิทธิประสาทความรู ในวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ จนทําใหการศึกษาคนควานี้สําเร็จเรียบรอย คณะผูศึกษาขอขอบพระคุณ เปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ดวย ขอขอบพระคุณคุณครูเอกนรินทร แกวอุนเรือน ครูโรงเรียนบานดุงวิทยา ที่กรุณาไดตรวจสอบ การศึกษาคนควา ใหคําแนะนําและใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการแกไขเพิ่มเติมใหการศึกษาคนควานี้มี ความสมบูรณและมีคุณคาสูงยิ่งขึ้น คณะผูศึกษาขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย ทายสุดนี้ ผูขอขอบพระคุณพี่ๆเพื่อนๆนองๆ ที่ไมสามารถเอยนามไดหมดในที่นี้ทุกคนเปนกําลังใจอัน สําคัญยิ่งในการศึกษา และในการทํางานการศึกษาคนควาในครั้งนี้ คุณูปการอันเกิดจากการศึกษาคนควา ขออุทิศใหบุพการีและครูอาจารยทุกทาน คณะผูศึกษา
  • 4. สารบัญ เรื่อง หนา กิตติกรรมประกาศ ก สรุปผลการศึกษา 1 แบบสอบถามเรื่องปญหา/สาเหตุการหยารางในสังคมไทย 4 สรุปผลจากแบบสอบถาม 6 บรรณานุกรม 9 ภาคผนวก -โครงราง 11 -ภาพการทํางานรวมกันของสมาชิกในกลุม 13
  • 5. สรุปผลการศึกษา การศึกษาสรุปผลไดดังนี้ จากการศึกษาพบวาในสังคมไทยเดิมการแตงงานเปนเรื่องความสัมพันธระหวางเครื่องญาติไมใชเฉพาะ คูสมรสจึงอยูภายใตความดูแลคอยไกลเกลี่ยความขัดแยงของกลุมเครือญาติ การปลูกฝงคานิยมเกี่ยวกับ พรหมจรรยคานิยมเกี่ยวกับการแตงงานแบบผัวเดียวเมียเดียว มีสวนสําคัญอยางมากที่ทําใหผูหญิงพยายามรักษา ชีวิตการแตงงานของตนเองไวใหยาวนานที่สุด ถึงแมวาผูหญิงหลายคนตองทนทุกขทรมานจากการแตงงาน เชน สามีมีเมียนอย สามีไมมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ถูกสามีทํารายรางกาย เพราะเมื่อมีการหยารางผูที่ไดรับ ผลกระทบมากที่สุดก็คือ ผูหญิง และการหยารางยังถือเปนเรื่องนาอับอายขายหนาไมเปนที่พึงประสงคใหมีการ หยารางเกิดขึ้น สามีภรรยาจึงตองอยูรวมกันตอไป ทั้งที่มีเรื่องขุนของหมองใจโดยถือวาเปนเรื่องของเคราะห กรรม ถึงแมวาสมัยกอนการหยารางจะทําไดอยาก แตการหยารางก็สามารถทําไดในกรณีคูสมรสมีความประสงค ที่จะหยาราง ดังจะเห็นไดจากจดหมายจากลาลูแบร (simon de la loubere) ที่กลาวการหยารางในสังคมไทยสมัย อยุธยาไววาการอยูกินฐานสามีภรรยาในประเทศสยามนั้นแทบจะราบรื่นแทบทุกครัวเรือนแตหากสามีภรรยาคู ใดไมประสงคที่จะอยูรวมกันตอไป ก็สามารถที่จะหยารางกันไดตามกฎหมายผูเปนสามีนั้นเปนตัวสําคัญในการ หยารางเพราะจะยอมอยาหรือไมก็ได แตก็ไมปฏิเสธหากภรรยามีความตองการอยางแรงกลาที่จะหยากับตน การ หยารางจึงไมใชเรื่องผิดปกติแตอยางใด ภายหลังการหยารางก็สามารถแตงงานใหมได ซึ่งเปนการแสดงใหเห็น วาการหยารางเปนสิ่งที่สังคมไทยยอมรับได ถึงแมวาการหยารางจะเกิดขึ้นไมบอยครั้งนักก็ตามมีผลกระทบ โดยตรงตอสถาบันครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ดังนี้ ปญหาการหยารางมีผลกระทบทําไหเด็กในสังคมไทยกอปญหาทางสังคมมากมาย ดวยสาเหตุที่เด็กอยู ในครอบครัวแตกแยก จะขาดความรัก ความอบอุน มีความรูสึกไมมั่นคง เนื่องจากลูกเคยชินตอสภาพพอแม ให ความรัก ความอุน และความมันใจแกเขา แตความสัมพันธแบบนี้ตองถูกทําลายไป ทําใหมีผลกระทบกระเทือน ตอการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคล เชน เด็กที่เคยยึดพอแมเปนแบบฉบับ ในเรื่องคานิยม อารมณ แบบของความ ประพฤติที่ชวยใหเด็กมีบุคลิกภาพที่ดี แตเมื่อหนวยของครอบครัวถูกทําลายลงลูกๆบางครั้งก็ไมทราบวาจะหัน หนาไปพึ่งใคร ซื่งอาจทําไหเขาผิดหวัง และมีเรื่องที่ทําใหสะเทือนใจกลายเปนเด็กกระทําผิด เชน การประพฤติ ผิดทางเพศ ติดยาเสพติด และการเปนเด็กจรจัด การปรับตัวของเด็กหลังการหยาราง ลูกๆมักจะอยูกับแม ซึ่งมีผม กระทบกระเทือนตอบุคลิกภาพของเด็ก เพราะทั้งพอและแมจะเปนคนอบรบเด็ก จะเปนคนอบรมเด็กและเด็กก็ เรียนรูบทบาทจากพอแมซึ่งเปนตนฉบับสําหรับชีวิตของผูใหญแตถาเหลือแตแม และแมตองทําหนาที่เปนทั้งพอ และแม โดยบางครั้งแมก็ไมสามารถปลูกฝงพฤติกรรมแบบพอ ใหแกลูกได ทําใหเด็กมีปญหาทาเพศ เชน
  • 6. เด็กผูชายจะมีนิสัยเปนผูหญิง (ตุด) ในอีกแงมุมหนึ่งเด็กที่ถูกเลี้ยงดูจากพอก็จะมีพฤติกรรมเลียนแบบพอ แต อยางไรก็ตามเด็กทั้งหญิงและชายโดยทั่วไปมักจะมีความใกลชิดชอบแมมากกวาพอ แมจึงมีอิทธิพลโนมนาว จิตใจเด็กมากกวาและในกรณีที่ครอบครัวไมมีความสุข ลูกสาวและลูกชายมักจะเขาขางแมมากกวาพอ การหยา รางเปนการสิ้นสุดชีวิตของคูสมรส ยอมเปนเรื่องเศราที่เกิดขึ้นทางสังคมไทยโดยเฉพาะผูหญิงที่หยารางจะตอง ทําหนาที่รับผิดชอบเลี้ยงดูลูก หรือ ทํางานหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว การอภิปรายผล สาเหตุของการหยารางในสังคมไทย สามารถสรุปและอภิปรายผลไดดังตอไปนี้ สาเหตุที่ 1 เกิดจากความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัว ตั้งแตความสัมพันธของสามีภรรยาจนถึงความสัมพันธระหวางลูกกับพอแม ความไมเขาใจซึ่งกันและ กัน ฝายหนึ่งก็อางการทํางาน ในขณะอีกฝายก็ทําแตงาน ขาดความใสใจ ไมมีเวลาใหกันและกัน เพราะประเด็น หลักที่ทําใหปญหาของการหยารางเกิดขึ้น เกิดจากพฤติกรรมของคนในครอบครัวที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อโลก โลกาภิวัตนเขามาในสังคม ทําใหมนุษยมีเวลาใหกันนอยลง ครอบครัวไมมีเวลามาเจอหนากัน สาเหตุที่ 2 เพราะวาคุณหรือเขาตางคาดหวังใหเขาเปน กอนที่จะแตงงานกัน(ชวงที่รักกันใหมๆ) คุณและเขาก็อาจคาดหวังวาพอไดแตงงานกันไปเขาหรือเธอ คงจะเปนแบบนั้นแบบนี้ เชน เธออาจจะเปนแมบานที่ดี เปนแมที่ดี หรืออาจจะคาดหวังวา เขาคงจะเปนหัวหนา ครอบครัวที่ดี มีความรับผิดชอบชวยเราดูแลครอบครัว และชวยดูแลบาน หากสิ่งที่คุณๆไดคาดหวังไว แตคุณไม เคยบอกคูของคุณใหรูกอนเลยละก็เมื่อคุณไดมาอยูรวมกันแลวละก็ คุณอาจจะเพิ่งจะรูความจริงก็ไดวา เขาเอง ไมไดเปนไปอยางที่คุณคาดหวัง หรืออยากใหเขาเปน สาเหตุที่ 3 สามีภรรยาขาดความอดทนซึ่งกันและกัน สามีและภรรยาขาดความอดทนไมมีการเสียสละและใหอภัยกันที่เปนเชนนี้เพราะ การที่มีคนมาอยู รวมกันมากกวาหนึ่งคนขึ้นไป ยอมตองมีเรื่องกระทบกระทั่งการเกิดขึ้นบางเปนธรรมดา สาเหตุที่ 4 คานิยมพื้นฐานที่แตกตางกันเกินไป คานิยมพื้นฐานหมายถึง ความเชื่อ ความชอบ และความเห็นวาดีและไมดีในเรื่องตางๆ ตั้งแตพื้นฐาน ของชีวิต การกิน นอน ศาสนา ความเชื่อ ความสําเร็จ คานิยมสวนตัว เชน หากคุณเปนผูหญิงที่มีมุมมอง แนวคิด ที่อยากจะทํางาน อยากใชความสามารถของตนเองในการทํางาน หรือ ทําธุรกิจ
  • 7. ขอเสนอแนะ ในการศึกษาคนควาในครั้งนี้คณะผูศึกษาคนความีขอเสนอแนะดังนี้ ขอเสนอแนะทั่วไป 1.ถาหากคนใน ครอบครัวมีเวลาใหครอบครัวกิจกรรมภายในครอบครัวก็จะเกิดขึ้น ไมวาจะเปนการรดน้ําตนไม พากันไปกิน ขาว ไปเที่ยวดวยกัน สัมพันธภาพในครอบครัวก็จะดีขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเรามีเวลาใหแกกันเวลาที่เราจะเรียนรูซึ่งกัน และกันก็เกิดขึ้นและกิจกรรมที่เราทําดวยกัน สามารถที่จะสอนลูกๆไปในตัวดวย แลวสิ่งที่พอแมทําใหลูกเห็น ลูกๆก็จะเรียนรูถึงสิ่งเหลานั้นและซึบซับไปเองโดยอัตโนมัติ 2.คูแตงงานควรหันหนาพูดคุยกันกอนเลยวา คุณ ตองการอะไร และเขาคาดหวังอะไรจากคุณ เพราะหากแตงไปแลวคุณหรือเขาพึ่งมารูความจริงละก็ หากเขารับ ไดก็โชคดีไป แตหากรับไมไดจากรักวันหวานก็กลายเปนรักช้ําในวันนี้ก็ได 3.รวมชวยกันแกไขปญหาตางๆที่ เกิดขึ้นและลุลวงลงไดดวยดี ขอเสนอแนะเพื่อทําการศึกษาคนควาในครั้งตอไป 1. ในการศึกษา “ปญหาการหยารางของสังคมไทย” ในครั้งนี้เปนการศึกษากับกลุมคูสมรสกลุมเล็กๆที่ ใหความรวมมือ ไมสามารถที่จะสรุปครอบคลุมถึงปญหาการหยารางของสังคมไทยไดทั้งหมด ดังนั้นผล การศึกษาจึงเปนเพียงแงมุมหนึ่งที่สามารถอธิบายไดเพียงกลุมหนึ่งเทานั้น ถาหากการศึกษาในครั้งตอไปมี การศึกษาปญหาการหยารางของสังคมไทยที่มีลักษณะแตกตางออกไปจากการศึกษาในครั้งนี้ ก็อาจจะทําให ทราบผลสรุปอื่นๆ ที่มีความนาสนใจมากขึ้น 2. การวิจัยครั้งตอไปควรมีการศึกษาในเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพราะจะทําใหคณะผูศึกษาคนควา สามารถเก็บขอมูลไดลึกซึ่งมากตามที่ตองการ เพราะมีความยืดหยุนในการออกแบบการใชเครื่องมือสําหรับเก็บ ขอมูล และการดําเนินการศึกษา จะทําใหไดทราบถึงสาเหตุ ปรากฏการณขอเท็จจริงในเรื่องที่ศึกษาไดลึกซึ้งมาก ยิ่งขึ้น
  • 8. แบบสอบถามเรื่องปญหา/สาเหตุการหยารางในสังคมไทย คําชี้แจง: แบบสอบถามนี้ใชศึกษาเรื่องสาเหตุการหยารางในสังคมไทย ขอมูลนี้ไดใชประกอบการเรียน วิชาการสื่อสารและการนําเสนอ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2558 สวนที่1: ขอมูลผูตอบแบบสอบถาม เพศ:  ชาย  หญิง อายุ:  16-20 ป  21-25 ป  26-30 ป  31 ปขึ้นไป อาชีพ:  สวนตัว  นร.-นศ.  ลูกจาง  ขาราชการ  อื่นๆ การศึกษา:  ม.3-6  ระดับอุดมศึกษา  ไมไดกําลังศึกษา รายได:  ต่ํากวา 5,000/เดือน  5,001-9,999/เดือน  10,000-15,000/เดือน  15,001 ขึ้นไป/เดือน สวนที่2: ปญหา/สาเหตุการหยารางในสังคมไทย ใหผูตอบทําเครื่องหมาย  ในชองระดับความคิดเห็น ที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุด คาระดับความคิดเห็น เห็นดวยมากที่สุด มีคาเปน 5 เห็นดวยมาก มีคาเปน 4 เห็นดวยปานกลาง มีคาเปน 3 เห็นดวยนอย มีคาเปน 2 เห็นดวยนอยที่สุด มีคาเปน 1
  • 9. รายการ ความคิดเห็น เห็น ดวย มาก ที่สุด ( 5 ) เห็น ดวย มาก ( 4 ) เห็น ดวย ปาน กลาง ( 3 ) เห็น ดวย นอย ( 2 ) ไม เห็น ดวย ( 1 ) 1.ปญหาทางเศรษฐกิจสงผลใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทย 2.ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรกอใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทย 3.คูสมรสที่มีฐานะแตกตางกันกอใหเกิดปญหาการหยาราง 4.ระดับการศึกษาที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง 5.ทัศนคติที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง 6.เด็กที่อาศัยอยูในครอบครัวที่มีปญหาการหยารางจะสงผลกระทบตอสังคมไทย 7.เด็กที่มาจากการหยารางและการสมรสใหมของพอแมจะกลัวการถูกวิพากษวิจารณ และลําบากใจในการดําเนินชีวิต 8.การหยารางกอใหเกิดความรูสึกสะเทือนจิตใจตอผูที่เกี่ยวของ 9.คูสามี – ภรรยาควรตระหนักถึงผลที่ตามมาหลังจากการหยาราง 10.ปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทย ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… เกณฑการแปลความหมายของคะแนนจากการหาคาเฉลี่ย เพื่อใหการแปลความหมายของผลการวิเคราะหขอมูลสอดคลองกับความเปนจริง คณะผูศึกษาจึง กําหนดเกณฑการแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ยดังนี้ 4.50 – 5.00 หมายถึง อยูในระดับมากที่สุด 3.50 - 4.49 หมายถึง อยูในระดับมาก 2.50 – 3.49 หมายถึง อยูในระดับปานกลาง 1.50– 2.49 หมายถึง อยูในระดับนอย 1.00 – 1.49 หมายถึง อยูในระดับนอยที่สุด
  • 10. สรุปผลจากแบบสอบถาม ขนาดของกลุมตัวอยาง คูสมรสในชุมชนบานศรีอุดม2 ตําบลศรีสุทโธ อําเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี จํานวน 500 ครัวเรือน คิดเปนกลุมตัวอยางอยางนอย 10% คือ 500 100 𝑥𝑥10 = 50 แจกแบบสอบถามไป 50 ชุด ไดรับคืน 50 ชุด ซึ่งไดผลจากแบบสอบถาม ดังนี้ สวนที่1: ขอมูลผูตอบแบบสอบถาม ไดขอมูลดังนี้ จากขอมูล เพศชาย 19 คน คิดเปนรอยละ 38 เพศหญิง 31 คน คิดเปนรอยละ 62 รวม 50 คน คิดเปนรอยละ 100 อายุ 16-20 ป คิดเปนรอยละ 16 อายุ 21-25 ป คิดเปนรอยละ 20 อายุ 26-30 ป คิดเปนรอยละ 24 อายุ 31 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 40 ประกอบอาชีพสวนตัว คิดเปนรอยละ 6 นักเรียน-นักศึกษา คิดเปนรอยละ 34 ลูกจาง คิดเปนรอยละ 18 ขาราชการ คิดเปนรอยละ 18 และอาชีพอื่นๆที่ไมไดระบุในแบบสอบถาม คิดเปนรอยละ 24 การศึกษา ม.3-ม.6 คิดเปนรอยละ 26 ระดับอุดมศึกษา คิดเปนรอยละ 40 ไมไดทําการศึกษา คิดเปนรอยละ 34 รายได ต่ํากวา 5,000/เดือน คิดเปนรอยละ 30 รายได 5,001-9,999/เดือน คิดเปนรอยละ 24 รายได 10,000-15,000/ เดือน คิดเปนรอยละ 26 รายได 15,001 ขึ้นไป/เดือน คิดเปนรอยละ 20 สวนที่2: การประเมินตามระดับความคิดเห็นจากตารางแบบสอบถามไดขอมูลดังนี้ ปญหาทางเศรษฐกิจสงผลใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด 17 คน คิดเปน รอยละ 34 เห็นดวยมาก 16 คน คิดเปนรอยละ 32 เห็นดวยปานกลาง 15 คน คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวยนอย 2 คน คิดเปนรอยละ 4 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.96 อยูในระดับมาก ความเจริญกาวหนา ทางวิทยาศาสตรกอใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็น ดวยมาก 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็นดวยปานกลาง 24 คน คิดเปนรอยละ 48 เห็นดวยนอย 2 คน คิดเปนรอยละ 4 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 อยูในระดับมาก คูสมรสที่มีฐานะแตกตางกัน กอใหเกิดปญหาการหยารางมีผูเห็นดวยมากที่สุด 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็นดวยมาก 19 คน คิดเปนรอยละ
  • 11. 38 เห็นดวยปานกลาง 16 คน คิดเปนรอยละ 32 เห็นดวยนอย 3 คน คิดเปนรอยละ 6 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปน รอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.8 อยูในระดับมาก ระดับการศึกษาที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง มีผูเห็นดวยมากที่สุด 11 คน คิดเปนรอยละ 22 เห็นดวยมาก 14 คน คิดเปนรอยละ 28 เห็นดวยปานกลาง 15 คน คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวยนอย 10 คน คิดเปนรอยละ 20 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 อยูในระดับมาก ทัศนคติที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยารางมีผูเห็นดวยมากที่สุด 23 คน คิด เปนรอยละ 46 เห็นดวยมาก 9 คน คิดเปนรอยละ 18 เห็นดวยปานกลาง 13 คน คิดเปนรอยละ 26 เห็นดวยนอย 5 คน คิดเปนรอยละ 10 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.00 อยูในระดับมาก เด็กที่อาศัยอยูใน ครอบครัวที่มีปญหาการหยารางจะสงผลกระทบตอสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด 16 คน คิดเปนรอยละ 32 เห็นดวยมาก 9 คน คิดเปนรอยละ 18 เห็นดวยปานกลาง 17 คน คิดเปนรอยละ 34 เห็นดวยนอย 8 คน คิดเปนรอย ละ 16 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 อยูในระดับมาก เด็กที่มาจากการหยารางและการ สมรสใหมของพอแมจะกลัวการถูกวิพากษวิจารณและลําบากใจในการดําเนินชีวิตมีผูเห็นดวยมากที่สุด 15 คน คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวยมาก 16 คน คิดเปนรอยละ 32 เห็นดวยปานกลาง 15 คน คิดเปนรอยละ 30 เห็นดวย นอย 4 คน คิดเปนรอยละ 8 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.84 อยูในระดับมาก การหยา รางกอใหเกิดความรูสึกสะเทือนจิตใจตอผูที่เกี่ยวของมีผูเห็นดวยมากที่สุด 17 คน คิดเปนรอยละ 34 เห็นดวยมาก 14 คน คิดเปนรอยละ 28 เห็นดวยปานกลาง 10 คน คิดเปนรอยละ 20 เห็นดวยนอย 9 คน คิดเปนรอยละ 18 ไม เห็นดวย 0 คน คิดเปนรอยละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.78 อยูในระดับมาก คูสามี – ภรรยาควรตระหนักถึงผลที่ ตามมาหลังจากการหยารางมีผูเห็นดวยมากที่สุด 24 คน คิดเปนรอยละ 48 เห็นดวยมาก 9 คน คิดเปนรอยละ 18 เห็นดวยปานกลาง 12 คน คิดเปนรอยละ 24 เห็นดวยนอย 5 คน คิดเปนรอยละ 10 ไมเห็นดวย 0 คน คิดเปนรอย ละ 0 มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.04 อยูในระดับมาก ปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทยมีผูเห็นดวยมากที่สุด 26 คน คิดเปนรอยละ 52 เห็นดวยมาก 10 คน คิดเปนรอยละ 20 เห็นดวยปานกลาง 8 คน คิดเปนรอยละ 16 เห็น ดวยนอย 5 คน คิดเปนรอยละ 10 ไมเห็นดวย 1 คน คิดเปนรอยละ 2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.1 อยูในระดับมาก สรุปไดวาจากการศึกษาปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทยเปนอยางมาก ทั้งนี้คูสามี – ภรรยา ควรตระหนักถึงผลที่ตามมาหลังจากการหยาราง เพราะปญหาการหยารางสงผลกระทบตอสังคมไทย ซึ่งสาเหตุ ของการหยารางอาจเกิดจากทัศนคติที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยาราง ปญหาทางเศรษฐกิจสงผล ใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทย ทําใหเด็กที่มาจากการหยารางและการสมรสใหมของพอแมจะกลัวการ ถูกวิพากษวิจารณ และลําบากใจในการดําเนินชีวิต รวมไปถึงคูสมรสที่มีฐานะแตกตางกันกอใหเกิดปญหาการ หยาราง การหยารางกอใหเกิดความรูสึกสะเทือนจิตใจตอผูที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนพอแม พี่นองของทั้งฝายหญิง ชาย ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรกอใหเกิดปญหาการหยารางในสังคมไทยก็เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่อาจจะ
  • 12. ทําใหเกิดการหยารางขึ้น เด็กที่อาศัยอยูในครอบครัวที่มีปญหาการหยารางจะสงผลกระทบตอสังคมไทย และอีก สาเหตุหนึ่งที่สําคัญที่อาจทําใหเกิดการหยารางคือระดับการศึกษาที่ตางกันของคูสมรสกอใหเกิดปญหาการหยา ราง เปนตน ขอเสนอแนะ จากแบบสอบถามความคิดเห็นของคูสมรสในชุมชนบานศรีอุดม2 ตําบลศรีสุทโธ อําเภอบานดุง จังหวัด อุดรธานี ขอเสนอแนะสวนมากผูตอบแบบสอบถามตองการที่จะอยากใหมีการเสนอใหหนวยงานที่เกี่ยวของให ความรูผลกระทบหลังการหยากับประชาชน เสนอการออกกฎหมายการหยารางโดยเหตุอันไมควรมีความผิดเลย เชน หยาเพราะพฤติกรรมเมาบอยครั้ง ควรจะหาวิธีแกปญหาใหกับเด็กที่อยูในครอบครัวที่มีปญหาการหยาราง สามี-ภรรยาควรตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากการหยาราง ปรับทัศนคติใหคนในสังคมเกี่ยวกับเด็ก ที่มาจากครอบครัวที่หยารางกัน ควรที่จะมีการแกไขปญหาการหยารางในสังคมอยางจริงจัง และแบบสอบถาม ไมครอบคลุม
  • 13. บรรณานุกรม ประสิทธิ์ สวาสดิ์ญาติ, ระบบเครือญาติและการจัดระเบียบสังคม, เอกสารอัดสําเนา (กรุงเทพฯ : โครงการตําราคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533), น.43-57. พระบุญแทน ขันธศรี, “ศึกษาเปรียบเทียบหลักคําสอนเกี่ยวกับการครองเรือนในพุทธศาสนาและ ศาสนาอิสลาม” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2537), น.20. ภัทรพร สิริกาญจน (บรรณาธิการ), ความรูพื้นฐานทางศาสนา (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2537), น.20. วันทนา กลิ่นงาม, “พฤติกรรมการหยาราง” วารสารสังคมศาสตร, น.17-20. สุเกสินี สุภธีระ, “การหยาราง : อุบัติเหตุชีวิต” จุลสารสังคมศาสตร (ขอนแกน) ปที่ 3 ฉบับที่ 1 (พฤศจิกายน 2523-2524) : 81. สุพัตรา สุภาพ, ปญหาสังคม (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิชย, 2539), น.31.
  • 15. ชื่อโครงราง: การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางของสังคมไทย สาระการเรียนรู: วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชื่อผูคนควา นายวธันยู มูลตรีสา เลขที่ 7 นางสาวเจนจิรา จันทรกุมาร เลขที่ 18 นางสาวดาราภรณ โอทอง เลขที่ 22 นางสาวปยะภรณ สุวรรณรอด เลขที่ 29 นางสาวมนัสนันท สมสวาง เลขที่ 33 นางสาวอารียา บุตรชารี เลขที่ 51 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1 โปรแกรมวิชา วิทย-คณิต โรงเรียนบานดุงวิทยา ปที่ศึกษาคนควา 2558 ความเปนมาและความสําคัญ ครอบครัวนั้นคือสถาบันขั้นมูลฐานที่ทําใหชีวิตมีความเจริญและความเสื่อม นอกจากนั้นแลวครอบครัว ยังถือเปนแหลงเพาะปลูกฝงคุณคาทางศีลธรรม ดังนั้น ครอบครัวจึงมีความสําคัญตอสังคมเปนอยางยิ่ง โดยมีคู สมรสเปนแกนกลางในการสรางความอบอุน หากกลาวไปแลวชีวิตสมรสเปรียบไดกับนาวาที่ลอยอยูกลางทะเล กัปตันเรือทั้งสองจะตองชวยกันประคองเรือใหถึงฝง หากพายุโหมกระหน่ํา โอกาสที่เรือจะอับปางก็มีมาก จึง จําเปนอยางยิ่งที่จะตองประคองเรือใหไปตลอดรอดฝง ความมั่นคงของคูสมรสจึงเปนที่มาของความปลอดภัย ทางสถาบันสังคม แมสังคมเองก็ปรารถนาที่จะใหคูสมรสอยูกันไปตลอดรอดฝง สังคมในอดีตมักยึดแนนอยูกับ วัฒนธรรมครอบครัว ในศริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิกถือวา การยึดมั่นระหวางคูสมรสเปนประกาศิตของ พระเจา มนุษยจักตองรักษาไว ในอดีตการหยารางไมเปนที่ยอมรับของสังคม เพราะถือวาเปนเรื่องนาอับอาย และถาสามีภรรยาคูใด หยารางกัน ก็จะถือเปนเรื่องที่ไมดี จะไดรับการติฉินนินทา ดังนั้นปญหาการหยารางจึงไมคอยเกิดขึ้น ทั้งๆที่ สมัยกอนสวนใหญเปนการแตงงานแบบคลุมถุงชน คือ พอแมจับใหแตงงานกัน แตเมื่ออยูกินดวยกันแลวก็รัก กันและอยูดวยกันจนตายจากกัน ซึ่งอาจเปนเพราะผูหญิงไทยในอดีตมีหนาที่อยูกับบานคอยปรนนิบัติรับใชพอ
  • 16. แมและเปนแมบานแมเรือนดูแลการงานภายในบานทุกอยาง ไมไดออกไปทํางานนอกบานเหมือนในปจจุบัน ปญหาการหยารางจึงไมเกิดขึ้น แตปจจุบันสภาพสังคม เศรษฐกิจไดเปลี่ยนแปลงไป ครอบครัวไดถูกลดทอนความสําคัญในฐานะหนวย พื้นฐานทางสังคมลงไป สถานการณดังกลาวไดทําใหสถาบันครอบครัวแตกสลาย เพราะปญหาการหยารางที่ กําลังทวีความรุนแรงขึ้นตามลําดับ ชีวิตมีการเริ่มตนก็ตองมีจุดจบ มีเกิดก็ตองมีตาย เมื่อถึงจุดจบ แตละคนก็ เปนไปตามวิถี ชีวิตของตน ชีวิตการแตงงานก็เชนกัน มีการสิ้นสุดลงโดยวิธีการหยาราง การตายจากกัน การละ ทิ้ง การแยกกันอยู คูสมรสอาจจะอยูกันนาน บางคูก็อาจจะอยูกันสั้น การหยารางเปนการสิ้นสุดชีวิตแตงงานของ คูสมรส ยอมเปนเรื่องเศราที่เกิดขึ้นใน สังคมไทย โดยเฉพาะผูหญิงที่หยารางมักจะตองทําหนาที่รับผิดชอบเลี้ยง ดูลูก หรือ ทํางานหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว วัตถุประสงคของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาสาเหตุของการหยารางของสังคมไทย 2.เพื่อศึกษาผลกระทบของการหยารางของสังคมไทย สมมติฐานของการศึกษา การหยารางมีผลกระทบโดยตรงตอสถาบันครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.ทราบถึงสาเหตุการหยารางของสังคมไทย 2.ทราบถึงผลกระทบของการหยารางของสังคมไทย ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรม ชื่อการศึกษา การศึกษาเกี่ยวกับปญหาการหยารางในสังคมไทย ภาคการเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2558 ลําดับที่ เดือน รายละเอียดการปฏิบัติกิจกรรม ผูรับผิดชอบ 1 พ.ย. 58 เขียนโครงรางรายงาน คณะผูจัดทํา 2 พ.ย. 58 สรุปความรูที่ไดจากการเรียนในภาคเรียนที่ 1 คณะผูจัดทํา 3 ธ.ค. 59 ออกแบบรูปแบบการเก็บขอมูลในภาคเรียนที่ 2 คณะผูจัดทํา 4 ธ.ค. 59 กําหนดกลุมตัวอยางที่จะเก็บขอมูล คณะผูจัดทํา 5 ธ.ค. 59 กําหนดคาสถิติตางๆ เกณฑคะแนน ชวงคะแนน และการแปลผลคะแนน คณะผูจัดทํา 6 ม.ค. 59 สรุปวิเคราะห สังเคราะหขอมูลที่ได คณะผูจัดทํา 7 ก.พ. 59 นําเสนอผลงานในรูปแบบตางๆ คณะผูจัดทํา