SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
โครงงานคอมพิวเตอร์

  เรื่อง โครงงานสื่ อออนไลน์ อาเซียนศึกษา

             ( Asian Studies)

                   เสนอ

         คุณครูจตุรภัทร ประทุม

                    โดย
            นายณัฐวัฒน์ พลเยียม
                             ่

            นายคเณศ เยาวเสริฐ

            นายนพพร พลเยียม
                         ่

            นางสาวนิภาพร บุระพวง

            นางสาวเจษฎาภรณ์ ไชยโอชะ

        สมาชิกในกลุ่มที่ 3 ม. 6/1

         โรงเรียนคานาดีพทยาคม
                        ิ

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของ วิชาคอมพิวเตอร์

      ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
โครงงาน (ชื่อภาษาไทย)         สื่ อออนไลน์ อาเซียนศึกษา

โครงงาน (ชื่อภาษาอังกฤษ)      Asian studies.

ประเภทโครงงาน                สื่ อเพื่อการศึกษา

ชื่อผูทาโครงงาน
      ้                      นายณัฐวัฒน์ พลเยียม
                                              ่

                             นายคเณศ เยาวเสริ ฐ

                             นายนพพร พลเยียม
                                          ่

                             นางสาวนิภาพร บุระพวง

                             นางสาวเจษฎาภรณ์ ไชยโอชะ

ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน        อาจารย์จตุรภัทร ประทุม

ชื่อที่ปรึ กษาโครงงานร่ วม   อาจารย์ประภากร กระภูชย
                                                  ั

ระยะเวลาดาเนินงาน            เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
กิตติกรรมประกาศ
        โครงงานเรื่ องอาเซี ยนศึกษาสาเร็ จลุล่วงได้ดวยความกรุ ณาของอาจารย์ท่ีปรึ กษาโครงงาน ได้แก่
                                                    ้
อาจารย์จตุรภัทร ประทุม และอาจารย์ในแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ที่ได้ให้คาปรึ กษา แนะนา ชี้แนะใน
การศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอนและวิธีจดทาโครงงานจนสาเร็ จลุล่วงด้วยดี คณะผูจดทาจึงขอกราบ
                                    ั                                    ้ั
ขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้

        ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ประภากร กระภูชย ที่ให้ความอนุเคราะห์ตลอดจนได้ให้คาปรึ กษา
                                            ั
แนะนาการจัดทาโครงงานจนประสบผลสาเร็ จ

        ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรี ยน และสมาชิกในกลุ่มที่ให้ความ
ร่ วมมือเป็ นอย่างดีในการทาโครงงานครั้งนี้จนกระทังประสบความสาเร็ จด้วยดี
                                                 ่

                                                                                 คณะผูจดทา
                                                                                      ้ั

                                                                        นายณัฐวัฒน์ พลเยียม
                                                                                         ่

                                                                        นายคเณศ เยาวเสริ ฐ

                                                                        นายนพพร พลเยียม
                                                                                     ่

                                                                        นางสาวนิภาพร บุระพวง

                                                                         นางสาวเจษฎาภรณ์ ไชยโอชะ
บทคัดย่ อ
        โครงงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา กิจกรรมศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีจุดประสงค์เพื่อ
การศึกษาความรู ้ ความเข้าใจในการเตรี ยมตัวเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน คณะ

        ผูจดทาได้เลือกหัวข้อเรื่ องอาเซียนศึกษาในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็ นเรื่ องที่ มีความสาคัญ และ
          ้ั
ทุกคนต้องมีความตระหนักในการเตรี ยมความพร้อมด้านการศึกษาหาความรู้ ด้านวิชาการ ด้านภาษา ศึกษา
วัฒนธรรมประเพณี ความสาคัญต่าง ๆ ของประเทศในกลุ่มสมาชิกประชาคมอาเซี ยนจากการค้นหาข้อมูล
คณะผูจดทาได้มีความรู้ความเข้าใจในการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนเป็ นอย่างมาก
     ้ั

        คณะผูจดทาได้ดาเนินการศึกษาโดยสื บหาข้อมูลทางเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตศึกษาความเป็ นมาในการ
             ้ั
ก่อตั้งอาเซี ยน ศึกษาประเทศสมาชิก จากบทความต่าง ๆ ทางสื่ อโทรทัศน์ ผูจดทามีความสนใจในการเตรี ยม
                                                                     ้ั
ความพร้อมเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนเพื่อการพัฒนาในด้านการเรี ยนการสอนได้เป็ นอย่างมาก

        จาการศึกษาในเรื่ องอาเซียนศึกษาทาให้คณะผูจดทาได้มีความรู ้ในเรื่ องต่าง ๆได้เป็ นอย่างมาก ได้
                                                 ้ั
ประสบการณ์จากการทางานเป็ นหมู่คณะ และหวังเป็ นอย่างยิงว่าโครงงานฉบับนี้จะมีประโยชน์แก่ผพบเห็น
                                                     ่                                 ู้
เป็ นอย่างมาก
สารบัญ
 เรื่ อง                                         หน้า

กิตติกรรมประกาศ                                   ก

บทคัดย่อ                                           ข

บทที่ 1 บทนา                                       1

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน                        1

วัตถุประสงค์ของการศึกษา                           2

ขอบเขตการศึกษา                                     3

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ                         4

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง                       5

ความเป็ นมาประชาคมอาเซียน                         5-9

หลักการพื้นฐานของความร่ วมมืออาเซี ยน            9-10

คาขวัญอาเซียน                                     11

สัญลักษณ์อาเซียน                                   12

บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน                        13

ขั้นตอนการดาเนินงาน                                13

เครื่ องมือและอุปกรณ์                              14

ตารางปฏิบติกิจกรรม
         ั                                         15

วิธีการศึกษา                                       16
บทที่ 4 ผลการศึกษา                            17

ผลการศึกษา                                  17-19

บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษา อภิปรายและเสนอแนะ     20

สรุ ปผลการศึกษา                               20

ประโยชน์ที่ได้รับ                             21

ข้อเสนอแนะ                                    22

บรรณานุกรม                                    23

คู่มือการใช้งาน                               24
บทที่ 1 บทนา

                                         ทีมาและความสาคัญ
                                           ่

        ในปั จจุบนประชาคมอาเซี ยนเป็ นเป้ าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซี ยน เพื่อเพิม
                 ั                                                                            ่
อานาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซี ยน ในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้านรวมถึง
ความสามารถในการรับมือกับปั ญหาใหม่ๆในระดับโลกที่ส่งผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซี ยน เช่น ภาวะ
โลกร้อน การก่อการร้าย หรื อ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน คือ การทาให้ประเทศสมาชิก
อาเซี ยนเป็ นครอบครัวเดียวกันที่มีความแข็งแกร่ งและมีภูมิตานทานที่ดี
                                                          ้

        ดังนั้นคณะผูจดทาจึงได้จดทาโครงงานอาเซี ยน มาประยุกต์ใช้ในสื่ อออนไลน์เพื่อการศึกษา เพื่อ
                    ้ั         ั
เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนหรื อการนาโครงงานไปใช้งาน และก่อให้เกิดประโยชน์ในชีวตจริ งได้
                                                                             ิ
วัตถุประสงค์

1.เพื่อศึกษาประวัติ/สภาพความเป็ นมาของอาเซียน

2.เพื่อให้มีความรู้ในเรื่ องอาเซียนศึกษา

3.เพื่อเป็ นแนวทางในการนาความรู้ที่ได้คนคว้ามาบูรณาการสาหรับการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคม
                                       ้
อาเซียน
ขอบเขตโครงงาน

            ่
1.ขอบเขตที่วาด้วยเนื้อหาวิชา

-การทาโครงงานเรื่ องอาเซียนศึกษาในรายวิชาคอมพิวเตอร์ มีวตถุประสงค์เพื่อให้นกศึกษาได้สืบหาข้อมูล
                                                        ั                  ั
และมีประสบการณ์ในการทางานด้วยกระบวนการกลุ่ม นาความรู ้ มาร่ วมอภิปรายเพื่อการจัดทาในรู ปเล่ม
ของโครงงาน

2.ขอบเขตว่าด้วยเรื่ องระยะเวลาในการทาโครงงาน

-ในการทาโครงงานเรื่ องอาเซียนศึกษา คณะผูจดทาได้ใช้เวลาในการดาเนินงานประมาณ 3 เดือน
                                        ้ั

3.ขอบเขตว่าด้วยเรื่ องสถานที่

-ในการทาโครงงานเรื่ องอาเซียนศึกษา คณะผูจดทาได้ใช้ สถานที่ในการสื บหาข้อมูลที่โรงเรี ยนคานาดีพิทยา
                                        ้ั
คม
ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ
                                            ี่

1.   ได้รับความรู ้ และความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน

2.   เป็ นแนวทางในการศึกษาเพื่อเป็ นฐานในการศึกษาขึ้นสู งต่อไป

3.   เป็ นการเตรี ยมความเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน
บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง
                                                        ่

                            ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)




ความเป็ นมาประชาคมอาเซียน

          ยังมีคนอีกมากที่ไม่ทราบว่าประชาคมอาเซี ยนที่กาลังจะเป็ นส่ วนหนึ่งของในชีวตของเรานั้น
                                                                                    ิ
ประเทศไทยเป็ นประเทศที่คิดริ เริ่ มในการจัดตั้งสมาคมอาเซี ยน โดยรัฐมนตรี ต่างประเทศของไทยใน
ขณะนั้น (2510) คือ น.อ. (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ตรงกับสมัยรัฐบาลของจอมพลถนอม กิตติ ขจร เป็ น
หัวหน้าคณะนาผูนาจากประเทศสมาชิกอีก 4 ประเทศ ประกอบด้วย มาเลเซีย, ฟิ ลิปปิ นส์, อินโดนีเซีย และ
              ้
สิ งคโปร์ เข้าร่ วมประชุมหารื อ เพื่อกาหนดแนวทางในการจัดตั้งสมาคมอาเซี ยนขึ้น โดยใช้สถานที่บานพัก
                                                                                            ้
ตากอากาศที่แหลมแท่น ต. บางแสน อ. เมือง จ. ชลบุรี เป็ นที่ดาเนินการประชุม เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม พ.ศ.
2510 และมีได้การจัดทาเอกสารข้อตกลงร่ วมกัน เรี ยกว่า ‚Spirit of Bangsaen‛ หรื อ จิตวิญญาณแห่งบาง
แสน ต่อมาเมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามในปฏิญญาก่อตั้งอาเซี ยน ซึ่ งเรี ยกว่า ‚ปฏิญญา
กรุ งเทพ‛ (Bangkok Declaration) หรื อปฎิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration)




                                     น.อ.(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์
อาเซียน (ASEAN) เกิด เวลา 10:50 น. เช้าวันอังคารที่ 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2510 / ค.ศ. 1967 ที่
กระทรวงการต่างประเทศ วังสราญรมย์ กรุ งเทพมหานคร ราชอาณาจักรไทย

                             ่
          ผูต้ งชื่อสมาคมนี้วา สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรื อ อาเซี ยน (ASEAN มาจาก
            ้ั
คาเต็มว่า Association of Southeast Asain Nations) ก็คือ นายอาคัม มาลิค รัฐมนตรี ต่างประเทศอินโดนีเซี ย
เหตุผลการจัดตั้งสมาคมอาเซี ยน ในสมัยนั้นภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ ขาดความสมัครสมานสามัคคี
กัน กล่าวคือมาเลเซี ยกับฟิ ลิปปิ นส์มีความหวาดระแวงกันในเรื่ องของพรมแดนที่เป็ นเกาะและกรรมสิ ทธิ์
พื้นที่ทบซ้อน อินโดนีเซี ยก็ยงระส่ าระสายในเรื่ องการเมืองภายใน ส่ วนสิ งคโปร์ ก็เป็ นเกาะเล็กๆ ที่รู้สึกไม่
        ั                    ั
มันใจในการล่าอาณานิคมของประเทศมหาอานาจ สาหรับไทยเองก็ไม่มนใจจากภัยการแทรกซึ มของลัทธิ
  ่                                                      ั่
คอมมิวนิสต์ ที่ลามมาจากประเทศเวียดนาม เขมร และลาว




        อาเซียน (ASEAN) ประกอบด้วย 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย (2510) สิ งคโปร์ (2510) อินโดเนเซีย
(2510) มาเลเซีย (2510) ฟิ ลิปปิ นส์ (2510) บรู ไน (2527) เวียตนาม (2538) ลาว (2540) พม่า (2540) กัพชา
                                                                                                   ู
(2542) มีประชากรรวมกันประมาณ 570 ล้านคน มีขนาดเศรษฐกิจที่โตมาก เมื่อเดือนตุลาคม 2546 ผูนา
                                                                                       ้
อาเซี ยนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่ วมมืออาเซี ยน ที่เรี ยกว่า ข้อตกลงบาหลี 2 เห็นชอบให้จดตั้ง
                                                                                               ั
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือการให้อาเซี ยนรวมตัวเป็ นชุมชนหรื อประชาคมเดียวกันให้
สาเร็ จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่ นระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็ จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.
2015) เนื่องจากการแข่งขันรุ นแรง เช่น อัตราการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของจีนและอินเดียสู งมากในช่วงที่
ผ่านมา ในการประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 14 ที่ชะอา หัวหิน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 ผูนาอาเซียนได้ลง
                                                                                        ้
นามรับรองปฏิญญาชะอา หัวหิ น ว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซี ยน (ค.ศ. 2009-2015) เพื่อจัดตั้ง
ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558

ประชาคมอาเซียนประกอบด้ วยเสาหลัก 3 เสา

      1.ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซี ยน (ASEAN Security Community – ASC) มุ่งให้ประเทศ
                                ่
ในภูมิภาคอยูร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ดวยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มี
            ่                                                      ้
กรอบความร่ วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมันคงทั้งรู ปแบบเดิมและรู ปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมี
                                             ่
ความปลอดภัยและมันคง
                ่

      2.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic Community – AEC) มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทาง
เศรษฐกิจ และการอานวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทาให้ภูมิภาคมีความเจริ ญมังคัง
                                                                                        ่ ่
และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้เพื่อความอยูดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซี ยน โดย
                                               ่

         (ก) มุ่งให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรี ของ สิ นค้า บริ การ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
และการลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ าทางสังคมภายในปี 2020

         (ข) ทาให้อาเซียนเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base)

         (ค) ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซี ยนเพื่อลดช่องว่างการพัฒนาและช่วยให้
ประเทศเหล่านี้เข้าร่ วมกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน

         (ง) ส่ งเสริ มความร่ วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหาภาคตลาดการเงินและตลาดทุน การ
ปะกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม พัฒนาความร่ วมมือด้านกฎหมาย
การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝี มือ
แรงงาน

         กลุ่มสิ นค้าและบริ การนาร่ องที่สาคัญ ที่จะเกิดการรวมกลุ่มกัน คือ สิ นค้าเกษตร / สิ นค้าประมง /
ผลิตภัณฑ์ไม้ / ผลิตภัณฑ์ยาง / สิ่ งทอ / ยานยนต์ /อิเล็กทรอนิกส์ / เทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN) / การ
บริ การด้านสุ ขภาพ, ท่องเที่ยวและการขนส่ งทางอากาศ (การบิน) กาหนดให้ปี พ.ศ. 2558 เป็ นปี ที่เริ่ มรวมตัว
ั
กันอย่างเป็ นทางการ โดยผ่อนปรนให้กบประเทศ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียตนาม ประเทศไทยได้รับ
มอบหมายให้ทา Roadmap ทางด้านท่องเที่ยวและการขนส่ งทางอากาศ (การบิน)

     3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) เพื่อให้
ประชาชนแต่ละประเทศอาเซี ยนอยูร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมี
                             ่
ความมันคงทางสังคม
      ่

ประโยชน์ ทไทยได้ รับคือ
          ี่

         1. ประชากรเพิ่มเป็ น 600 ล้านคนโดยประมาณ ทาให้เพิ่มศักยภาพในการบริ โภค เพิ่มอานาจการ
ต่อรองในระดับโลก

         2. Economy Scale ยิงผลิตมาก ยิงต้นทุนต่า
                            ่          ่

                                      ่
         3. มีแรงดึงดูดเงินลงทุนที่อยูนอกอาเซี ยนสู งขึ้น

         4. สิ บเสี ยงย่อมดังกว่าเสี ยงเดียว

ผลกระทบได้ แก่

         1. การศึกษาในภาพใหญ่ของโลก มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุ นแรง ต้องไม่ให้การเปลี่ยนแปลงนี้มา
กระชากลากเราไปอย่างทุลกทุเล เราต้องเตรี ยมความพร้อมทันที ตลอดเวลา โดยเฉพาะบุคลากรต้องตามให้
                      ั
            ่
ทันและยืดหยุนปรับตัวให้รับสถานการณ์ได้

         2. ภาษาอังกฤษจะเป็ นภาษากลางของ ASEAN บุคลากรและนักศึกษา ต้องเพิ่มทักษะทางด้าน
ภาษาอังกฤษ ให้สามารถสื่ อสารได้

         3. ปรับปรุ งความเข้าใจทางประวัติศาสตร์ เพื่อลดข้อขัดแย้งในภูมิภาคอาเซียน (Conflict
Management) จึงต้องคานึงถึงการสร้างบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่ อง ASEAN ให้มากขึ้น

         4. สร้างบัณฑิตให้สามารถแข่งขันได้ใน ASEAN เพิ่มโอกาสในการทางาน ไม่เช่นนั้น จะถูกแย่ง
งานเพราะเกิดการเคลื่อนย้ายแรงงาน/บริ การอย่างเสรี คณะกรรมการวิชาชีพ สภาวิชาชีพ ต้องเตรี ยมการ
รองรับผลกระทบนี้อย่างเร่ งด่วน
5. โอกาสในการเป็ น Education Hub โดยอาศัยความได้เปรี ยบในเชิงภูมิศาสตร์ของประเทศไทย
แต่ตองเน้นในเรื่ องของคุณภาพการศึกษาเป็ นตัวนา
    ้

          6. เราต้องการเครื่ องมือในการ Transform คน การเรี ยนแบบ PBL หรื อ Project Based Learning
น่าจะได้มีการวิจยอย่างจริ งจังและนามาปรับใช้ ห้องเรี ยนไม่ใช่แค่หองสี่ เหลี่ยมเล็กๆอีกต่อไป ต้องเพิมการ
                ั                                                ้                                 ่
            ิ                         ่
เรี ยนจากชีวตจริ ง ลงมือทาเป็ นทีม อยูคนละประเทศก็ทาร่ วมกันได้ดวยไม่มีขอจากัดทางด้านเทคโนโลยีการ
                                                                ้       ้
สื่ อสาร ประเด็นนี้ อาจารย์จะสอนได้ยากขึ้น แต่เป็ นผูที่ช่วยให้นกศึกษาสามารถเรี ยนรู ้ได้ แสดงว่า อาจารย์
                                                     ้          ั
ต้องมีความพร้อมมากกว่าเดิมและเก่งจริ งๆ (MRAs) การประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 9 เมื่อ 7 ตุลาคม 2546
ที่บาหลี อินโดนีเซี ย ได้กาหนดจัดทาข้อตกลงร่ วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs)เกี่ยวกับ
คุณสมบัติของวิชาชีพหลัก แรงงานเชี่ยวชาญ หรื อผูมีความสามารถพิเศษ เพื่ออานวยความสะดวกในการ
                                               ้
เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี โดยจะเริ่ มต้นในปี พ.ศ. 2558 ในเบื้องต้น ได้ทาข้อตกลงร่ วมกันแล้ว 7 สาขา คือ

          1. วิศวกรรม (Engineering Services)

          2. พยาบาล (Nursing Services)

          3. สถาปัตยกรรม (Architectural Services)

          4. การสารวจ (Surveying Qualifications)

          5. แพทย์ (Medical Practitioners)

          6. ทันตแพทย์ (Dental Practitioners)

          7. บัญชี (Accountancy Services)

หลักการพืนฐานของความร่ วมมืออาเซียน
         ้

          ประเทศสมาชิกอาเซี ยนทั้ง 10 ประเทศ ได้ยอมรับในการปฏิบติตามหลักการพื้นฐาน ในการ
                                                               ั
                                                     ่
ดาเนินงานในเรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างกัน อันปรากฏอยูในกฎบัตรอาเซี ยนซึ่ งเป็ นกฎหมายสู งสุ ดของ
อาเซี ยน ที่เพิ่งมีผลบังคับใช้เมื่อกลางเดือนธันวาคม 2551 และสนธิ สัญญาไมตรี และความร่ วมมือในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia หรื อ TAC) ซึ่งประกอบด้วย
- การเคารพซึ่ งกันและกันในเอกราช อธิ ปไตย ความเท่าเทียม บูรณาการแห่งดินแดนและ
เอกลักษณ์ประจาชาติของทุกชาติ

                                        ่
          – สิ ทธิ ของทุกรัฐในการดารงอยูโดยปราศจากจากการแทรกแซง การโค่นล้มอธิ ปไตยหรื อการบีบ
บังคับจากภายนอก

          – หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่ งกันและกัน

          – ระงับความแตกต่างหรื อข้อพิพาทโดยสันติวธี
                                                  ิ

          – การไม่ใช้การขู่บงคับ หรื อการใช้กาลัง
                            ั

          – ความร่ วมมืออย่างมีประสิ ทธิ ภาพระหว่างประเทศสมาชิก

          นอกจากหลักการข้างต้นแล้ว ตั้งแต่อดีตจนถึงช่วงก่อนที่กฎบัตรอาเซี ยนมีผลบังคับใช้ อาเซี ยน
ยึดถือหลักการฉันทามติเป็ นพื้นฐานของกระบวนการตัดสิ นใจและกาหนดนโยบาย มาโดยตลอด หรื อกล่าว
อีกนัยหนึ่งคือ การที่อาเซี ยนจะตกลงกันดาเนินการใดๆ ประเทศสมาชิกอาเซี ยนทั้งหมดประเทศ จะต้อง
เห็นชอบกับข้อตกลงนั้นๆ ก่อน การที่อาเซี ยนยึดมันในหลัก ‘ฉันทามติ‛ และ ‚การไม่แทรกแซงกิจการ
                                               ่
ภายในซึ่ งกันและกัน’ หรื อที่ผสังเกตการณ์อาเซี ยนเรี ยกว่า ‘วิถีทางของอาเซียน’ (ASEAN’s Way)ในทาง
                              ู้
หนึ่งนั้น ก็ถือเป็ นผลดีเพราะเป็ นปั จจัย ที่ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซี ยนซึ่ งมีความแตกต่างกันเป็ นอย่างมาก
ในเรื่ องระบบการเมือง วัฒนธรรมและฐานะทางเศรษฐกิจ มีความ ‚สะดวกใจ‛ ในการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิก
และดาเนินความร่ วมมือในกรอบอาเซี ยน แต่ในอีกทางหนึ่ง ‚ฉันทามติและการไม่แทรกแซงกิจการภายใน
ซึ่ งกันและกัน‛ก็ได้รับการวิพากษ์วจารณ์ในหลายโอกาสว่า เป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้กระบวน การรวมตัว
                                  ิ
กันของอาเซี ยนเป็ นไปอย่างล่าช้า รวมถึงทาให้อาเซี ยนขาดความน่าเชื่อถือ เนื่องจากถูกมองว่ากลไกที่มีอยู่
ของอาเซี ยน ล้มเหลว ในการจัดการกับปั ญหา ของอาเซี ยนเองที่เกิดขึ้นในประเทศสมาชิกใดประเทศสมาชิก
                                                                                             ่
หนึ่งได้ อย่างไรก็ดี การยึดถือฉันทามติในกระบวนการตัดสิ นใจ ของอาเซี ยน ได้เริ่ มมี ความยืดหยุนมากขึ้น
หลังจากที่กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เนื่องจาก กฎบัตรอาเซี ยนได้เปิ ดช่องให้
ผูนาประเทศสมาชิกอาเซี ยน พิจารณาหาข้อยุติในเรื่ องที่ประเทศสมาชิกไม่มีฉนทามติได้
  ้                                                                    ั
สั ญลักษณ์ อาเซียน

-รวงข้าวสี เหลือง 10 ต้นมัดรวมกันบนพื้นสี แดง ล้อมรอบด้วยวงกลมสี แดง

-รวงข้าว 10 ต้นมัดรวมกัน หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ

รวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน
-สี เหลือง หมายถึง ความเจริ ญรุ่ งเรื อง

-สี แดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า

-สี ขาว หมายถึง ความบริ สุทธิ์

-สี น้ าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมันคง
                                      ่




                          (หนึ่งวิสัยทัศน์ ,หนึ่งเอกลักษณ์,หนึ่งประชาคม)

                          (One Vision, One Identity, One community)
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ

                                    ขั้นตอนการดาเนินงาน

       โครงงานฉบับนี้ผจดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
                      ู้ ั

1. ศึกษาความเป็ นมาและความสาคัญของกาเนิดอาเซี ยน

2. วิเคราะห์ขอมูลเพื่อเลือกหัวข้อในการทาโครงงานและนาเสนออาจารย์ที่ปรึ กษา
             ้

3. ปรึ กษาและรับคาแนะนาในการเขียนโครงงานจากอาจารย์ที่ปรึ กษา

4. นาเสนอเค้าโครงเรื่ อง สมาชิกในกลุ่มรวบรวมข้อมูลในการทาโครงงาน

5. ศึกษารู ปแบบการทาโครงงาน พร้อมการดาเนินการตามขั้นตอนของการทาโครงงาน

6. ดาเนินงานการจัดพิมพ์ตามรู ปแบบของโครงงานเพื่อจัดทาเป็ นรู ปแบบโครงงาน

7. การนาเสนอร่ างรู ปเล่มโครงงาน

8. จัดทาเล่มโครงงานฉบับสมบูรณ์
เครื่องมือและอุปกรณ์

1. เครื่ องคอมพิวเตอร์ จากการสื บค้นในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต

2. สมุดจดบันทึก พร้อมปากกา

3. แผ่นซี ดีเพื่อการบันทึกขั้นตอนต่าง ๆ ในการนาเสนอโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึ กษา

4. Flash Drive เพื่อการบันทึกข้อมูล

5.http://knpproject255560103.wordpress.com/



งบประมาณ

    - 300 บาท
ตารางการปฏิบัตงาน
                                                     ิ

                             ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษาที่ 2556
                                           ระยะเวลาการดาเนินการ
ที่       กิจกรรม/รายการปฏิบติ
                            ั                     (เดือน)           ผูรับผิดชอบ
                                                                      ้           หมายเหตุ
                                         พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.
1     แบ่งกลุ่มในการเลือกหัวข้อเพื่อ    25-30                       สมาชิกใน
      เสนอต่ออาจารย์                                                กลุ่มและ
                                                                    อาจารย์ที่
                                                                     ปรึ กษา
2     ค้นคว้าหาข้อมูลจากเครื อข่าย            5-25                  สมาชิกใน
      อินเตอร์ เน็ตตามหัวข้อที่กาหนด                                  กลุ่ม
      ไว้ เริ่ มพิมพ์งานในบทที่ 1
3     จัดเตรี ยมหาข้อมูลเอกสารที่                    4-28
      เกี่ยวข้องกับโครงงาน จัดพิมพ์                                 สมาชิกใน
      บทที่ 2 บทที่ 3 และปรึ กษา                                      กลุ่ม
      สมาชิกภายในกลุ่มเพื่อเตรี ยมผล
      การศึกษา
4     สรุ ปผลและเสนอแนะข้อมูล                               3-10    สมาชิกใน
      พร้อมจัดพิมพ์                                                   กลุ่ม
5      ศึกษาข้อมูลและจัดพิมพ์                               12-22
       บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ                                      สมาชิกใน
       ทาสารบัญ การพิมพ์อางอิงเพื่อ
                             ้                                         กลุ่ม
       จัดทาเป็ นรู ปเล่มฉบับสมบูรณ์
วิธีการศึกษา

1. ศึกษาจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ห้องสมุด เพื่อหาข้อมูลเรื่ องอาเซียนศึกษา

2. ศึกษาจากเอกสารอ้างอิง

3. ประเด็นการศึกษา

- ได้รู้และมีความเข้าใจเรื่ องการเตรี ยมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซี ยน

- ได้เห็นถึงความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับประชาคมอาเซี ยน

- มีความรู้และความเข้าใจในเรื่ องอาเซียนศึกษา
บทที่ 4 ผลการศึกษา

                                                ผลการศึกษา

        จากการที่ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประชาคมอาเซี ยนเพื่อทาโครงงาน และหลังจากการที่ได้ศึกษา
ข้อมูลแล้วผูจดทาได้รับความรู ้ดงนี้
            ้ั                 ั

1. ได้รับความรู ้ในเรื่ องการจัดตั้งอาเซี ยนและข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับอาเซี ยน

2. ได้รับความรู้ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน

3. ได้รู้จกสัญญาลักษณ์ของอาเซียนและความหมาย
          ั

4. ได้ตระหนักถึงการเตรี ยมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนในอนาคตที่จะถึง

5. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่ อง ธงและสัญลักษณ์ อาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

                               (Association of Southeast Asian Nations)

คาขวัญ

‚One Vision, One Identity, One Community‛

(หนึ่ งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม)

สั ญลักษณ์ อาเซียน

‚ต้นข้าวสี เหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้‛

หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ท้ ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็ นน้ า
                                                 ั
หนึ่งใจเดียวกัน โดยสี ที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซี ยน เป็ นสี ที่สาคัญของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิก
อาเซียน

-สี น้ าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมันคง
                                      ่

-สี แดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า

-สี ขาว หมายถึง ความบริ สุทธิ์

-สี เหลือง หมายถึง ความเจริ ญรุ่ งเรื อง

                                                  ่
-สานักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตั้งอยูที่ กรุ งจากาตาร์

-เลขาธิการ : ดร. สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ (เริ่ มดารงตาเเหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2551)

-ปฏิญญากรุ งเทพ 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2510

-กฎบัตรอาเซียน 16 ธันวาคม พ.ศ. 2551

-ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษ

-พิธีลงนามในปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรื อปฏิญญากรุ งเทพฯ
-ที่กรุ งเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2510
บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะ

                                           สรุปผลการศึกษา

        ในการจัดทาโครงงานการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน ผูจดทาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
                                                                      ้ั
                                                                                        ่
จากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต และข่าวสารจากสื่ อโทรทัศน์ ในการศึกษาครั้งนี้ทาให้ตระหนักได้วาในการเตรี ยม
ความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซี ยน ต้องมีความพร้อมหลายด้านทั้งการศึกษาด้านวิชาการ การศึกษาภาษาเพื่อน
บ้าน ศึกษาเรื่ องวัฒนธรรมประเพณี ของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซี ยนซึ่ งผูจดทาได้มีความรู ้เป็ นอย่าง
                                                                      ้ั
มาก และคาดว่าจะต้องมีการศึกษาต่อเพื่อได้รับความรู ้เพิ่มเติมและเป็ นการเผยแพร่ ให้ผอื่นได้รับรู ้ดวย
                                                                                   ู้             ้
ประโยชน์ ทได้ รับ
                                                       ี่

1. ได้รับความรู ้ที่สาคัญเกี่ยวกับอาเซี ยน

2. ได้รับความรู ้ความเข้าใจในการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนในด้านต่าง ๆ

3. ได้รับความรู้และทักษะในด้านภาษาของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน

4. ได้ตระหนักในการทางานเป็ นหมู่คณะอย่างมีจริ ยธรรม
ข้ อเสนอแนะ

1. ควรจะมีสื่อวีดีทศน์ประเทศเพื่อนบ้านของสมาชิกอาเซียน
                   ั

2. ควรมีการจัดนิทรรศการเรื่ องประชาคมอาเซียน

3. ควรจะมีการบูรณาการอย่างหลากหลายวิชาตามหัวข้อเพื่อให้ได้ขอมูลที่หลากหลายและมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                           ้
ต่อการเรี ยนการสอน
บรรณานุกรม
-http://203.144.226.201/bhubpha/?p=390


- http://203.144.226.201/bhubpha/?p=383

- http://www.thaiaec.com/

-http://www.lib.ru.ac.th/journal2/?p=3290

-กาเนิดอาเซี ยน (2555) สื บค้นจาก http://www.panyathipschool.ac.th. วันที่ 16 มิ.ย. 2555

-ประชาคมอาเซียน (2555) สื บค้นจาก http://www.ru.ac.th วันที่ 16 มิ.ย. 2555

-สมเกียรติ อ่อนวิมล. (2555) ‚บันทึกหน้าแรกของอาเซียน‛ นิตยสารคู่สร้างคู่สม.ปี ที่ 33 ฉบับที่ 747-749
(มิ.ย. 55) หน้า 16-17.

ภาพประกอบ

-Southeast Asia Maphttp.สื บค้นจาก kanitta04kaewthong.blogspot.com/. วันที่ 30 ส.ค. 2555

-คาขวัญอาเชียน.สื บค้นจาก http://joomlas.ru.ac.th/oasc. 30 ส.ค. 2555

-ความหมาย ของสัญลักษณ์อาเซียน. สื บค้นจาก http://nenenantana.wordpress.com/2012/08/24/ความหมาย-
ของสัญลักษณ์อา/. วันที่ 30 ส.ค. 2555

-น.อ.(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์ .สื บค้นจาก th.wikipedia.org/wiki/ถนัด_คอมันตร์ . วันที่ 30 ส.ค. 2555

เรี ยบเรี ยงโดย จารุ วรรณ ตันวิจิตร ฝ่ ายห้องสมุดวิทยาเขต บางนา
คู่มอการใช้ งาน
                                      ื

-http://knpproject255560103.wordpress.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1sompriaw aums
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1sompriaw aums
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & FreewareBoonlert Aroonpiboon
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3sompriaw aums
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์Moll Kim
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนChainarong Maharak
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญThitiwat Paisan
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556 แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556 Weerachat Martluplao
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
แผนอาเซียน ป.2
แผนอาเซียน  ป.2แผนอาเซียน  ป.2
แผนอาเซียน ป.2sompriaw aums
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 

Mais procurados (20)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556 แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
แผนอาเซียน ป.2
แผนอาเซียน  ป.2แผนอาเซียน  ป.2
แผนอาเซียน ป.2
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 

Destaque

Designing Teams for Emerging Challenges
Designing Teams for Emerging ChallengesDesigning Teams for Emerging Challenges
Designing Teams for Emerging ChallengesAaron Irizarry
 
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and ArchivesUX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and ArchivesNed Potter
 
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsStudy: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsLinkedIn
 
Visual Design with Data
Visual Design with DataVisual Design with Data
Visual Design with DataSeth Familian
 
Hype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerHype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerLuminary Labs
 
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 20173 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017Drift
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheLeslie Samuel
 

Destaque (7)

Designing Teams for Emerging Challenges
Designing Teams for Emerging ChallengesDesigning Teams for Emerging Challenges
Designing Teams for Emerging Challenges
 
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and ArchivesUX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
UX, ethnography and possibilities: for Libraries, Museums and Archives
 
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsStudy: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
 
Visual Design with Data
Visual Design with DataVisual Design with Data
Visual Design with Data
 
Hype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerHype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI Explainer
 
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 20173 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 

Semelhante a อาเซียนศึกษาสำเร็จ

โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1AseansTradition55
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนBlogAseanTraveler
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 

Semelhante a อาเซียนศึกษาสำเร็จ (20)

Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
Focus 5-55
Focus 5-55Focus 5-55
Focus 5-55
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 

อาเซียนศึกษาสำเร็จ

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานสื่ อออนไลน์ อาเซียนศึกษา ( Asian Studies) เสนอ คุณครูจตุรภัทร ประทุม โดย นายณัฐวัฒน์ พลเยียม ่ นายคเณศ เยาวเสริฐ นายนพพร พลเยียม ่ นางสาวนิภาพร บุระพวง นางสาวเจษฎาภรณ์ ไชยโอชะ สมาชิกในกลุ่มที่ 3 ม. 6/1 โรงเรียนคานาดีพทยาคม ิ รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของ วิชาคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
  • 2. โครงงาน (ชื่อภาษาไทย) สื่ อออนไลน์ อาเซียนศึกษา โครงงาน (ชื่อภาษาอังกฤษ) Asian studies. ประเภทโครงงาน สื่ อเพื่อการศึกษา ชื่อผูทาโครงงาน ้ นายณัฐวัฒน์ พลเยียม ่ นายคเณศ เยาวเสริ ฐ นายนพพร พลเยียม ่ นางสาวนิภาพร บุระพวง นางสาวเจษฎาภรณ์ ไชยโอชะ ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน อาจารย์จตุรภัทร ประทุม ชื่อที่ปรึ กษาโครงงานร่ วม อาจารย์ประภากร กระภูชย ั ระยะเวลาดาเนินงาน เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่ องอาเซี ยนศึกษาสาเร็ จลุล่วงได้ดวยความกรุ ณาของอาจารย์ท่ีปรึ กษาโครงงาน ได้แก่ ้ อาจารย์จตุรภัทร ประทุม และอาจารย์ในแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ที่ได้ให้คาปรึ กษา แนะนา ชี้แนะใน การศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอนและวิธีจดทาโครงงานจนสาเร็ จลุล่วงด้วยดี คณะผูจดทาจึงขอกราบ ั ้ั ขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ประภากร กระภูชย ที่ให้ความอนุเคราะห์ตลอดจนได้ให้คาปรึ กษา ั แนะนาการจัดทาโครงงานจนประสบผลสาเร็ จ ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรี ยน และสมาชิกในกลุ่มที่ให้ความ ร่ วมมือเป็ นอย่างดีในการทาโครงงานครั้งนี้จนกระทังประสบความสาเร็ จด้วยดี ่ คณะผูจดทา ้ั นายณัฐวัฒน์ พลเยียม ่ นายคเณศ เยาวเสริ ฐ นายนพพร พลเยียม ่ นางสาวนิภาพร บุระพวง นางสาวเจษฎาภรณ์ ไชยโอชะ
  • 4. บทคัดย่ อ โครงงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา กิจกรรมศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีจุดประสงค์เพื่อ การศึกษาความรู ้ ความเข้าใจในการเตรี ยมตัวเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน คณะ ผูจดทาได้เลือกหัวข้อเรื่ องอาเซียนศึกษาในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็ นเรื่ องที่ มีความสาคัญ และ ้ั ทุกคนต้องมีความตระหนักในการเตรี ยมความพร้อมด้านการศึกษาหาความรู้ ด้านวิชาการ ด้านภาษา ศึกษา วัฒนธรรมประเพณี ความสาคัญต่าง ๆ ของประเทศในกลุ่มสมาชิกประชาคมอาเซี ยนจากการค้นหาข้อมูล คณะผูจดทาได้มีความรู้ความเข้าใจในการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนเป็ นอย่างมาก ้ั คณะผูจดทาได้ดาเนินการศึกษาโดยสื บหาข้อมูลทางเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตศึกษาความเป็ นมาในการ ้ั ก่อตั้งอาเซี ยน ศึกษาประเทศสมาชิก จากบทความต่าง ๆ ทางสื่ อโทรทัศน์ ผูจดทามีความสนใจในการเตรี ยม ้ั ความพร้อมเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนเพื่อการพัฒนาในด้านการเรี ยนการสอนได้เป็ นอย่างมาก จาการศึกษาในเรื่ องอาเซียนศึกษาทาให้คณะผูจดทาได้มีความรู ้ในเรื่ องต่าง ๆได้เป็ นอย่างมาก ได้ ้ั ประสบการณ์จากการทางานเป็ นหมู่คณะ และหวังเป็ นอย่างยิงว่าโครงงานฉบับนี้จะมีประโยชน์แก่ผพบเห็น ่ ู้ เป็ นอย่างมาก
  • 5. สารบัญ เรื่ อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก บทคัดย่อ ข บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตการศึกษา 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 5 ความเป็ นมาประชาคมอาเซียน 5-9 หลักการพื้นฐานของความร่ วมมืออาเซี ยน 9-10 คาขวัญอาเซียน 11 สัญลักษณ์อาเซียน 12 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน 13 ขั้นตอนการดาเนินงาน 13 เครื่ องมือและอุปกรณ์ 14 ตารางปฏิบติกิจกรรม ั 15 วิธีการศึกษา 16
  • 6. บทที่ 4 ผลการศึกษา 17 ผลการศึกษา 17-19 บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษา อภิปรายและเสนอแนะ 20 สรุ ปผลการศึกษา 20 ประโยชน์ที่ได้รับ 21 ข้อเสนอแนะ 22 บรรณานุกรม 23 คู่มือการใช้งาน 24
  • 7. บทที่ 1 บทนา ทีมาและความสาคัญ ่ ในปั จจุบนประชาคมอาเซี ยนเป็ นเป้ าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซี ยน เพื่อเพิม ั ่ อานาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซี ยน ในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้านรวมถึง ความสามารถในการรับมือกับปั ญหาใหม่ๆในระดับโลกที่ส่งผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซี ยน เช่น ภาวะ โลกร้อน การก่อการร้าย หรื อ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน คือ การทาให้ประเทศสมาชิก อาเซี ยนเป็ นครอบครัวเดียวกันที่มีความแข็งแกร่ งและมีภูมิตานทานที่ดี ้ ดังนั้นคณะผูจดทาจึงได้จดทาโครงงานอาเซี ยน มาประยุกต์ใช้ในสื่ อออนไลน์เพื่อการศึกษา เพื่อ ้ั ั เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนหรื อการนาโครงงานไปใช้งาน และก่อให้เกิดประโยชน์ในชีวตจริ งได้ ิ
  • 8. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาประวัติ/สภาพความเป็ นมาของอาเซียน 2.เพื่อให้มีความรู้ในเรื่ องอาเซียนศึกษา 3.เพื่อเป็ นแนวทางในการนาความรู้ที่ได้คนคว้ามาบูรณาการสาหรับการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคม ้ อาเซียน
  • 9. ขอบเขตโครงงาน ่ 1.ขอบเขตที่วาด้วยเนื้อหาวิชา -การทาโครงงานเรื่ องอาเซียนศึกษาในรายวิชาคอมพิวเตอร์ มีวตถุประสงค์เพื่อให้นกศึกษาได้สืบหาข้อมูล ั ั และมีประสบการณ์ในการทางานด้วยกระบวนการกลุ่ม นาความรู ้ มาร่ วมอภิปรายเพื่อการจัดทาในรู ปเล่ม ของโครงงาน 2.ขอบเขตว่าด้วยเรื่ องระยะเวลาในการทาโครงงาน -ในการทาโครงงานเรื่ องอาเซียนศึกษา คณะผูจดทาได้ใช้เวลาในการดาเนินงานประมาณ 3 เดือน ้ั 3.ขอบเขตว่าด้วยเรื่ องสถานที่ -ในการทาโครงงานเรื่ องอาเซียนศึกษา คณะผูจดทาได้ใช้ สถานที่ในการสื บหาข้อมูลที่โรงเรี ยนคานาดีพิทยา ้ั คม
  • 10. ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ ี่ 1. ได้รับความรู ้ และความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน 2. เป็ นแนวทางในการศึกษาเพื่อเป็ นฐานในการศึกษาขึ้นสู งต่อไป 3. เป็ นการเตรี ยมความเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน
  • 11. บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ความเป็ นมาประชาคมอาเซียน ยังมีคนอีกมากที่ไม่ทราบว่าประชาคมอาเซี ยนที่กาลังจะเป็ นส่ วนหนึ่งของในชีวตของเรานั้น ิ ประเทศไทยเป็ นประเทศที่คิดริ เริ่ มในการจัดตั้งสมาคมอาเซี ยน โดยรัฐมนตรี ต่างประเทศของไทยใน ขณะนั้น (2510) คือ น.อ. (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ตรงกับสมัยรัฐบาลของจอมพลถนอม กิตติ ขจร เป็ น หัวหน้าคณะนาผูนาจากประเทศสมาชิกอีก 4 ประเทศ ประกอบด้วย มาเลเซีย, ฟิ ลิปปิ นส์, อินโดนีเซีย และ ้ สิ งคโปร์ เข้าร่ วมประชุมหารื อ เพื่อกาหนดแนวทางในการจัดตั้งสมาคมอาเซี ยนขึ้น โดยใช้สถานที่บานพัก ้ ตากอากาศที่แหลมแท่น ต. บางแสน อ. เมือง จ. ชลบุรี เป็ นที่ดาเนินการประชุม เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม พ.ศ. 2510 และมีได้การจัดทาเอกสารข้อตกลงร่ วมกัน เรี ยกว่า ‚Spirit of Bangsaen‛ หรื อ จิตวิญญาณแห่งบาง แสน ต่อมาเมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามในปฏิญญาก่อตั้งอาเซี ยน ซึ่ งเรี ยกว่า ‚ปฏิญญา กรุ งเทพ‛ (Bangkok Declaration) หรื อปฎิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) น.อ.(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์
  • 12. อาเซียน (ASEAN) เกิด เวลา 10:50 น. เช้าวันอังคารที่ 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2510 / ค.ศ. 1967 ที่ กระทรวงการต่างประเทศ วังสราญรมย์ กรุ งเทพมหานคร ราชอาณาจักรไทย ่ ผูต้ งชื่อสมาคมนี้วา สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรื อ อาเซี ยน (ASEAN มาจาก ้ั คาเต็มว่า Association of Southeast Asain Nations) ก็คือ นายอาคัม มาลิค รัฐมนตรี ต่างประเทศอินโดนีเซี ย เหตุผลการจัดตั้งสมาคมอาเซี ยน ในสมัยนั้นภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ ขาดความสมัครสมานสามัคคี กัน กล่าวคือมาเลเซี ยกับฟิ ลิปปิ นส์มีความหวาดระแวงกันในเรื่ องของพรมแดนที่เป็ นเกาะและกรรมสิ ทธิ์ พื้นที่ทบซ้อน อินโดนีเซี ยก็ยงระส่ าระสายในเรื่ องการเมืองภายใน ส่ วนสิ งคโปร์ ก็เป็ นเกาะเล็กๆ ที่รู้สึกไม่ ั ั มันใจในการล่าอาณานิคมของประเทศมหาอานาจ สาหรับไทยเองก็ไม่มนใจจากภัยการแทรกซึ มของลัทธิ ่ ั่ คอมมิวนิสต์ ที่ลามมาจากประเทศเวียดนาม เขมร และลาว อาเซียน (ASEAN) ประกอบด้วย 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย (2510) สิ งคโปร์ (2510) อินโดเนเซีย (2510) มาเลเซีย (2510) ฟิ ลิปปิ นส์ (2510) บรู ไน (2527) เวียตนาม (2538) ลาว (2540) พม่า (2540) กัพชา ู (2542) มีประชากรรวมกันประมาณ 570 ล้านคน มีขนาดเศรษฐกิจที่โตมาก เมื่อเดือนตุลาคม 2546 ผูนา ้ อาเซี ยนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่ วมมืออาเซี ยน ที่เรี ยกว่า ข้อตกลงบาหลี 2 เห็นชอบให้จดตั้ง ั ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือการให้อาเซี ยนรวมตัวเป็ นชุมชนหรื อประชาคมเดียวกันให้ สาเร็ จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่ นระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็ จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) เนื่องจากการแข่งขันรุ นแรง เช่น อัตราการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของจีนและอินเดียสู งมากในช่วงที่
  • 13. ผ่านมา ในการประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 14 ที่ชะอา หัวหิน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 ผูนาอาเซียนได้ลง ้ นามรับรองปฏิญญาชะอา หัวหิ น ว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซี ยน (ค.ศ. 2009-2015) เพื่อจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ประชาคมอาเซียนประกอบด้ วยเสาหลัก 3 เสา 1.ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซี ยน (ASEAN Security Community – ASC) มุ่งให้ประเทศ ่ ในภูมิภาคอยูร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ดวยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มี ่ ้ กรอบความร่ วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมันคงทั้งรู ปแบบเดิมและรู ปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมี ่ ความปลอดภัยและมันคง ่ 2.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic Community – AEC) มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทาง เศรษฐกิจ และการอานวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทาให้ภูมิภาคมีความเจริ ญมังคัง ่ ่ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้เพื่อความอยูดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซี ยน โดย ่ (ก) มุ่งให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรี ของ สิ นค้า บริ การ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ าทางสังคมภายในปี 2020 (ข) ทาให้อาเซียนเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) (ค) ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซี ยนเพื่อลดช่องว่างการพัฒนาและช่วยให้ ประเทศเหล่านี้เข้าร่ วมกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน (ง) ส่ งเสริ มความร่ วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหาภาคตลาดการเงินและตลาดทุน การ ปะกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม พัฒนาความร่ วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝี มือ แรงงาน กลุ่มสิ นค้าและบริ การนาร่ องที่สาคัญ ที่จะเกิดการรวมกลุ่มกัน คือ สิ นค้าเกษตร / สิ นค้าประมง / ผลิตภัณฑ์ไม้ / ผลิตภัณฑ์ยาง / สิ่ งทอ / ยานยนต์ /อิเล็กทรอนิกส์ / เทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN) / การ บริ การด้านสุ ขภาพ, ท่องเที่ยวและการขนส่ งทางอากาศ (การบิน) กาหนดให้ปี พ.ศ. 2558 เป็ นปี ที่เริ่ มรวมตัว
  • 14. ั กันอย่างเป็ นทางการ โดยผ่อนปรนให้กบประเทศ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียตนาม ประเทศไทยได้รับ มอบหมายให้ทา Roadmap ทางด้านท่องเที่ยวและการขนส่ งทางอากาศ (การบิน) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) เพื่อให้ ประชาชนแต่ละประเทศอาเซี ยนอยูร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมี ่ ความมันคงทางสังคม ่ ประโยชน์ ทไทยได้ รับคือ ี่ 1. ประชากรเพิ่มเป็ น 600 ล้านคนโดยประมาณ ทาให้เพิ่มศักยภาพในการบริ โภค เพิ่มอานาจการ ต่อรองในระดับโลก 2. Economy Scale ยิงผลิตมาก ยิงต้นทุนต่า ่ ่ ่ 3. มีแรงดึงดูดเงินลงทุนที่อยูนอกอาเซี ยนสู งขึ้น 4. สิ บเสี ยงย่อมดังกว่าเสี ยงเดียว ผลกระทบได้ แก่ 1. การศึกษาในภาพใหญ่ของโลก มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุ นแรง ต้องไม่ให้การเปลี่ยนแปลงนี้มา กระชากลากเราไปอย่างทุลกทุเล เราต้องเตรี ยมความพร้อมทันที ตลอดเวลา โดยเฉพาะบุคลากรต้องตามให้ ั ่ ทันและยืดหยุนปรับตัวให้รับสถานการณ์ได้ 2. ภาษาอังกฤษจะเป็ นภาษากลางของ ASEAN บุคลากรและนักศึกษา ต้องเพิ่มทักษะทางด้าน ภาษาอังกฤษ ให้สามารถสื่ อสารได้ 3. ปรับปรุ งความเข้าใจทางประวัติศาสตร์ เพื่อลดข้อขัดแย้งในภูมิภาคอาเซียน (Conflict Management) จึงต้องคานึงถึงการสร้างบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่ อง ASEAN ให้มากขึ้น 4. สร้างบัณฑิตให้สามารถแข่งขันได้ใน ASEAN เพิ่มโอกาสในการทางาน ไม่เช่นนั้น จะถูกแย่ง งานเพราะเกิดการเคลื่อนย้ายแรงงาน/บริ การอย่างเสรี คณะกรรมการวิชาชีพ สภาวิชาชีพ ต้องเตรี ยมการ รองรับผลกระทบนี้อย่างเร่ งด่วน
  • 15. 5. โอกาสในการเป็ น Education Hub โดยอาศัยความได้เปรี ยบในเชิงภูมิศาสตร์ของประเทศไทย แต่ตองเน้นในเรื่ องของคุณภาพการศึกษาเป็ นตัวนา ้ 6. เราต้องการเครื่ องมือในการ Transform คน การเรี ยนแบบ PBL หรื อ Project Based Learning น่าจะได้มีการวิจยอย่างจริ งจังและนามาปรับใช้ ห้องเรี ยนไม่ใช่แค่หองสี่ เหลี่ยมเล็กๆอีกต่อไป ต้องเพิมการ ั ้ ่ ิ ่ เรี ยนจากชีวตจริ ง ลงมือทาเป็ นทีม อยูคนละประเทศก็ทาร่ วมกันได้ดวยไม่มีขอจากัดทางด้านเทคโนโลยีการ ้ ้ สื่ อสาร ประเด็นนี้ อาจารย์จะสอนได้ยากขึ้น แต่เป็ นผูที่ช่วยให้นกศึกษาสามารถเรี ยนรู ้ได้ แสดงว่า อาจารย์ ้ ั ต้องมีความพร้อมมากกว่าเดิมและเก่งจริ งๆ (MRAs) การประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 9 เมื่อ 7 ตุลาคม 2546 ที่บาหลี อินโดนีเซี ย ได้กาหนดจัดทาข้อตกลงร่ วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs)เกี่ยวกับ คุณสมบัติของวิชาชีพหลัก แรงงานเชี่ยวชาญ หรื อผูมีความสามารถพิเศษ เพื่ออานวยความสะดวกในการ ้ เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี โดยจะเริ่ มต้นในปี พ.ศ. 2558 ในเบื้องต้น ได้ทาข้อตกลงร่ วมกันแล้ว 7 สาขา คือ 1. วิศวกรรม (Engineering Services) 2. พยาบาล (Nursing Services) 3. สถาปัตยกรรม (Architectural Services) 4. การสารวจ (Surveying Qualifications) 5. แพทย์ (Medical Practitioners) 6. ทันตแพทย์ (Dental Practitioners) 7. บัญชี (Accountancy Services) หลักการพืนฐานของความร่ วมมืออาเซียน ้ ประเทศสมาชิกอาเซี ยนทั้ง 10 ประเทศ ได้ยอมรับในการปฏิบติตามหลักการพื้นฐาน ในการ ั ่ ดาเนินงานในเรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างกัน อันปรากฏอยูในกฎบัตรอาเซี ยนซึ่ งเป็ นกฎหมายสู งสุ ดของ อาเซี ยน ที่เพิ่งมีผลบังคับใช้เมื่อกลางเดือนธันวาคม 2551 และสนธิ สัญญาไมตรี และความร่ วมมือในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia หรื อ TAC) ซึ่งประกอบด้วย
  • 16. - การเคารพซึ่ งกันและกันในเอกราช อธิ ปไตย ความเท่าเทียม บูรณาการแห่งดินแดนและ เอกลักษณ์ประจาชาติของทุกชาติ ่ – สิ ทธิ ของทุกรัฐในการดารงอยูโดยปราศจากจากการแทรกแซง การโค่นล้มอธิ ปไตยหรื อการบีบ บังคับจากภายนอก – หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่ งกันและกัน – ระงับความแตกต่างหรื อข้อพิพาทโดยสันติวธี ิ – การไม่ใช้การขู่บงคับ หรื อการใช้กาลัง ั – ความร่ วมมืออย่างมีประสิ ทธิ ภาพระหว่างประเทศสมาชิก นอกจากหลักการข้างต้นแล้ว ตั้งแต่อดีตจนถึงช่วงก่อนที่กฎบัตรอาเซี ยนมีผลบังคับใช้ อาเซี ยน ยึดถือหลักการฉันทามติเป็ นพื้นฐานของกระบวนการตัดสิ นใจและกาหนดนโยบาย มาโดยตลอด หรื อกล่าว อีกนัยหนึ่งคือ การที่อาเซี ยนจะตกลงกันดาเนินการใดๆ ประเทศสมาชิกอาเซี ยนทั้งหมดประเทศ จะต้อง เห็นชอบกับข้อตกลงนั้นๆ ก่อน การที่อาเซี ยนยึดมันในหลัก ‘ฉันทามติ‛ และ ‚การไม่แทรกแซงกิจการ ่ ภายในซึ่ งกันและกัน’ หรื อที่ผสังเกตการณ์อาเซี ยนเรี ยกว่า ‘วิถีทางของอาเซียน’ (ASEAN’s Way)ในทาง ู้ หนึ่งนั้น ก็ถือเป็ นผลดีเพราะเป็ นปั จจัย ที่ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซี ยนซึ่ งมีความแตกต่างกันเป็ นอย่างมาก ในเรื่ องระบบการเมือง วัฒนธรรมและฐานะทางเศรษฐกิจ มีความ ‚สะดวกใจ‛ ในการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิก และดาเนินความร่ วมมือในกรอบอาเซี ยน แต่ในอีกทางหนึ่ง ‚ฉันทามติและการไม่แทรกแซงกิจการภายใน ซึ่ งกันและกัน‛ก็ได้รับการวิพากษ์วจารณ์ในหลายโอกาสว่า เป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้กระบวน การรวมตัว ิ กันของอาเซี ยนเป็ นไปอย่างล่าช้า รวมถึงทาให้อาเซี ยนขาดความน่าเชื่อถือ เนื่องจากถูกมองว่ากลไกที่มีอยู่ ของอาเซี ยน ล้มเหลว ในการจัดการกับปั ญหา ของอาเซี ยนเองที่เกิดขึ้นในประเทศสมาชิกใดประเทศสมาชิก ่ หนึ่งได้ อย่างไรก็ดี การยึดถือฉันทามติในกระบวนการตัดสิ นใจ ของอาเซี ยน ได้เริ่ มมี ความยืดหยุนมากขึ้น หลังจากที่กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เนื่องจาก กฎบัตรอาเซี ยนได้เปิ ดช่องให้ ผูนาประเทศสมาชิกอาเซี ยน พิจารณาหาข้อยุติในเรื่ องที่ประเทศสมาชิกไม่มีฉนทามติได้ ้ ั
  • 17. สั ญลักษณ์ อาเซียน -รวงข้าวสี เหลือง 10 ต้นมัดรวมกันบนพื้นสี แดง ล้อมรอบด้วยวงกลมสี แดง -รวงข้าว 10 ต้นมัดรวมกัน หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ รวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน
  • 18. -สี เหลือง หมายถึง ความเจริ ญรุ่ งเรื อง -สี แดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า -สี ขาว หมายถึง ความบริ สุทธิ์ -สี น้ าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมันคง ่ (หนึ่งวิสัยทัศน์ ,หนึ่งเอกลักษณ์,หนึ่งประชาคม) (One Vision, One Identity, One community)
  • 19. บทที่ 3 วิธีดาเนินการ ขั้นตอนการดาเนินงาน โครงงานฉบับนี้ผจดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ ู้ ั 1. ศึกษาความเป็ นมาและความสาคัญของกาเนิดอาเซี ยน 2. วิเคราะห์ขอมูลเพื่อเลือกหัวข้อในการทาโครงงานและนาเสนออาจารย์ที่ปรึ กษา ้ 3. ปรึ กษาและรับคาแนะนาในการเขียนโครงงานจากอาจารย์ที่ปรึ กษา 4. นาเสนอเค้าโครงเรื่ อง สมาชิกในกลุ่มรวบรวมข้อมูลในการทาโครงงาน 5. ศึกษารู ปแบบการทาโครงงาน พร้อมการดาเนินการตามขั้นตอนของการทาโครงงาน 6. ดาเนินงานการจัดพิมพ์ตามรู ปแบบของโครงงานเพื่อจัดทาเป็ นรู ปแบบโครงงาน 7. การนาเสนอร่ างรู ปเล่มโครงงาน 8. จัดทาเล่มโครงงานฉบับสมบูรณ์
  • 20. เครื่องมือและอุปกรณ์ 1. เครื่ องคอมพิวเตอร์ จากการสื บค้นในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต 2. สมุดจดบันทึก พร้อมปากกา 3. แผ่นซี ดีเพื่อการบันทึกขั้นตอนต่าง ๆ ในการนาเสนอโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึ กษา 4. Flash Drive เพื่อการบันทึกข้อมูล 5.http://knpproject255560103.wordpress.com/ งบประมาณ - 300 บาท
  • 21. ตารางการปฏิบัตงาน ิ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษาที่ 2556 ระยะเวลาการดาเนินการ ที่ กิจกรรม/รายการปฏิบติ ั (เดือน) ผูรับผิดชอบ ้ หมายเหตุ พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 1 แบ่งกลุ่มในการเลือกหัวข้อเพื่อ 25-30 สมาชิกใน เสนอต่ออาจารย์ กลุ่มและ อาจารย์ที่ ปรึ กษา 2 ค้นคว้าหาข้อมูลจากเครื อข่าย 5-25 สมาชิกใน อินเตอร์ เน็ตตามหัวข้อที่กาหนด กลุ่ม ไว้ เริ่ มพิมพ์งานในบทที่ 1 3 จัดเตรี ยมหาข้อมูลเอกสารที่ 4-28 เกี่ยวข้องกับโครงงาน จัดพิมพ์ สมาชิกใน บทที่ 2 บทที่ 3 และปรึ กษา กลุ่ม สมาชิกภายในกลุ่มเพื่อเตรี ยมผล การศึกษา 4 สรุ ปผลและเสนอแนะข้อมูล 3-10 สมาชิกใน พร้อมจัดพิมพ์ กลุ่ม 5 ศึกษาข้อมูลและจัดพิมพ์ 12-22 บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สมาชิกใน ทาสารบัญ การพิมพ์อางอิงเพื่อ ้ กลุ่ม จัดทาเป็ นรู ปเล่มฉบับสมบูรณ์
  • 22. วิธีการศึกษา 1. ศึกษาจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ห้องสมุด เพื่อหาข้อมูลเรื่ องอาเซียนศึกษา 2. ศึกษาจากเอกสารอ้างอิง 3. ประเด็นการศึกษา - ได้รู้และมีความเข้าใจเรื่ องการเตรี ยมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซี ยน - ได้เห็นถึงความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับประชาคมอาเซี ยน - มีความรู้และความเข้าใจในเรื่ องอาเซียนศึกษา
  • 23. บทที่ 4 ผลการศึกษา ผลการศึกษา จากการที่ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประชาคมอาเซี ยนเพื่อทาโครงงาน และหลังจากการที่ได้ศึกษา ข้อมูลแล้วผูจดทาได้รับความรู ้ดงนี้ ้ั ั 1. ได้รับความรู ้ในเรื่ องการจัดตั้งอาเซี ยนและข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับอาเซี ยน 2. ได้รับความรู้ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน 3. ได้รู้จกสัญญาลักษณ์ของอาเซียนและความหมาย ั 4. ได้ตระหนักถึงการเตรี ยมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนในอนาคตที่จะถึง 5. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่ อง ธงและสัญลักษณ์ อาเซียน
  • 24. สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations) คาขวัญ ‚One Vision, One Identity, One Community‛ (หนึ่ งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม) สั ญลักษณ์ อาเซียน ‚ต้นข้าวสี เหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้‛ หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ท้ ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็ นน้ า ั หนึ่งใจเดียวกัน โดยสี ที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซี ยน เป็ นสี ที่สาคัญของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิก อาเซียน -สี น้ าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมันคง ่ -สี แดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า -สี ขาว หมายถึง ความบริ สุทธิ์ -สี เหลือง หมายถึง ความเจริ ญรุ่ งเรื อง ่ -สานักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตั้งอยูที่ กรุ งจากาตาร์ -เลขาธิการ : ดร. สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ (เริ่ มดารงตาเเหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2551) -ปฏิญญากรุ งเทพ 8 สิ งหาคม พ.ศ. 2510 -กฎบัตรอาเซียน 16 ธันวาคม พ.ศ. 2551 -ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษ -พิธีลงนามในปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรื อปฏิญญากรุ งเทพฯ
  • 26. บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ในการจัดทาโครงงานการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน ผูจดทาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล ้ั ่ จากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต และข่าวสารจากสื่ อโทรทัศน์ ในการศึกษาครั้งนี้ทาให้ตระหนักได้วาในการเตรี ยม ความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซี ยน ต้องมีความพร้อมหลายด้านทั้งการศึกษาด้านวิชาการ การศึกษาภาษาเพื่อน บ้าน ศึกษาเรื่ องวัฒนธรรมประเพณี ของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซี ยนซึ่ งผูจดทาได้มีความรู ้เป็ นอย่าง ้ั มาก และคาดว่าจะต้องมีการศึกษาต่อเพื่อได้รับความรู ้เพิ่มเติมและเป็ นการเผยแพร่ ให้ผอื่นได้รับรู ้ดวย ู้ ้
  • 27. ประโยชน์ ทได้ รับ ี่ 1. ได้รับความรู ้ที่สาคัญเกี่ยวกับอาเซี ยน 2. ได้รับความรู ้ความเข้าใจในการเตรี ยมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนในด้านต่าง ๆ 3. ได้รับความรู้และทักษะในด้านภาษาของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน 4. ได้ตระหนักในการทางานเป็ นหมู่คณะอย่างมีจริ ยธรรม
  • 28. ข้ อเสนอแนะ 1. ควรจะมีสื่อวีดีทศน์ประเทศเพื่อนบ้านของสมาชิกอาเซียน ั 2. ควรมีการจัดนิทรรศการเรื่ องประชาคมอาเซียน 3. ควรจะมีการบูรณาการอย่างหลากหลายวิชาตามหัวข้อเพื่อให้ได้ขอมูลที่หลากหลายและมีประสิ ทธิ ภาพ ้ ต่อการเรี ยนการสอน
  • 29. บรรณานุกรม -http://203.144.226.201/bhubpha/?p=390 - http://203.144.226.201/bhubpha/?p=383 - http://www.thaiaec.com/ -http://www.lib.ru.ac.th/journal2/?p=3290 -กาเนิดอาเซี ยน (2555) สื บค้นจาก http://www.panyathipschool.ac.th. วันที่ 16 มิ.ย. 2555 -ประชาคมอาเซียน (2555) สื บค้นจาก http://www.ru.ac.th วันที่ 16 มิ.ย. 2555 -สมเกียรติ อ่อนวิมล. (2555) ‚บันทึกหน้าแรกของอาเซียน‛ นิตยสารคู่สร้างคู่สม.ปี ที่ 33 ฉบับที่ 747-749 (มิ.ย. 55) หน้า 16-17. ภาพประกอบ -Southeast Asia Maphttp.สื บค้นจาก kanitta04kaewthong.blogspot.com/. วันที่ 30 ส.ค. 2555 -คาขวัญอาเชียน.สื บค้นจาก http://joomlas.ru.ac.th/oasc. 30 ส.ค. 2555 -ความหมาย ของสัญลักษณ์อาเซียน. สื บค้นจาก http://nenenantana.wordpress.com/2012/08/24/ความหมาย- ของสัญลักษณ์อา/. วันที่ 30 ส.ค. 2555 -น.อ.(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์ .สื บค้นจาก th.wikipedia.org/wiki/ถนัด_คอมันตร์ . วันที่ 30 ส.ค. 2555 เรี ยบเรี ยงโดย จารุ วรรณ ตันวิจิตร ฝ่ ายห้องสมุดวิทยาเขต บางนา
  • 30. คู่มอการใช้ งาน ื -http://knpproject255560103.wordpress.com