SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 77
Baixar para ler offline
วิชา คอมพิวเตอร์


  จัดทาโดย
  นางสาว มลทิรา เอกกุล
  มัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ 23
  เสนอ
  อาจารย์ ธิติพร ไหวดี
การเรียนรู้ที่ 1วัตถุประสงค์ของการจัดการข้อมูล หน่วยข้อมูลและ
                          เขตข้อมูลคีย์ .
         ในปัจจุบันสังคมเป็นสังคมสารสนเทศ ข้อมูลถือเป็น
 ทรัพยากรที่มีค่าของทุก ๆ หน่วยงาน ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่
 หน่วยงานที่       สามารถจัดการข้อมูลได้ดีกว่าย่อมได้เปรียบกว่า
 ในทุก ๆ ด้าน ดังนั้นจึงได้มความพยายามนาเทคโนโลยีด้าน
                             ี
 คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล โดยมีจุดประสงค์
 เพื่อให้ข้อมูลของหน่วยงานมีความถูกต้อง แม่นยา ทันสมัย และ
 สะดวกต่อการเรียกใช้งานมากที่สุด หากจะพิจารณาถึงการจัดการ
 ข้อมูลย่อมจะหมายถึง การจัดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล รวมถึง
 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนามาใช้งาน ลองพิจารณาถึงคลินิกแห่ง
 หนึ่ง ซึ่งเป็นหน่วยงานเล็ก ๆ ก็ยังต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล
 คนไข้ที่มารับการรักษา ข้อมูลที่ต้องการเก็บ ได้แก่ ประวัติส่วนตัว
 ของคนไข้ อาการที่มารับการรักษา วิธีการรักษา และผลการรักษา
 วิธีหนึ่งที่ทากันก็คือการจดบันทึกข้อมูลทั้งหมดลงบนกระดาษ
 และเก็บกระดาษนั้นไว้ ซึ่งมีหัวข้อที่ซ้ากัน เช่น ข้อความของ
 หัวข้อ ชื่อคนไข้ และที่อยู่ ฯลฯ หากเจ้าหน้าที่ต้องเขียนทุกใบก็
 จะเป็นการเสียเวลา ดังนั้นทางคลินิกอาจใช้วิธีจ้างโรงพิมพ์พิมพ์
 แบบฟอร์มขึ้นมา เพื่อให้การกรอกข้อมูลง่ายขึ้น รูปที่ 2.8 แสดง
 ตัวอย่างของแบบฟอร์มที่คลินิกแห่งหนึ่งใช้
ตัวอย่าง
รูปที่ 2.8 ตัวอย่างแบบฟอร์มบัตรคนไข้
                  เมื่อพิจารณาบัตรคนไข้ จะเห็นว่า ข้อมูลที่อยู่บนบัตรมี
ความหมายต่าง ๆ กัน การที่ข้อมูลแสดงความหมายได้ จะต้องประกอบด้วย
ส่วนข้อมูลที่พมพ์บนบัตรกับส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติม ข้อมูลที่พิมพ์บนบัตร
               ิ
คือส่วนที่อธิบายลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ ทาให้ส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติม
ชัดเจน การจะใช้งานข้อมูลให้ได้ผลดี จึงต้องมีทั้งตัวข้อมูลและคาอธิบาย
ลักษณะของข้อมูล
                  ในการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ ทางคลินิกใช้ตเก็บเอกสารขนาด
                                                             ู้
ใหญ่สาหรับเก็บแบบฟอร์มและเรียงไว้ในลิ้นชัก เมื่อมีคนไข้ใหม่เพิ่มขึ้นก็เพิ่ม
แบบฟอร์มแผ่นใหม่เข้าไป และในการเรียกใช้ข้อมูลเมื่อมีคนไข้มาติดต่อ
เจ้าหน้าที่ต้องค้นหาข้อมูลเดิมของคนไข้ วิธีหนึ่งที่ทาได้คือตรวจดูข้อมูลบน
บัตรคนไข้ทีละใบตั้งแต่ใบแรกจนพบ การค้นหาวิธีนี้อาจเสียเวลามาก แต่ถ้า
จัดเก็บข้อมูลโดยเรียงชื่อตามตัวอักษรไว้แล้วจะทาได้รวดเร็วขึ้น
                 การจัดการข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่จาเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งาน
ในชีวิตประจาวัน และมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยประมวลผล เพื่อได้ขอมูล    ้
ที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีหลักการ
และวิธีการที่เป็นระบบ และการเก็บข้อมูลควรพยายามลดขนาดของข้อมูลให้
เล็กที่สด แต่ยังคงความหมายในตัวเองมากที่สด
         ุ                                      ุ
ดังที่กล่าวมาแล้วว่าการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์นั้น
เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึก เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นบันทึก หรือจาน
แม่เหล็ก โดยที่ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้น
ในการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลจึงต้องกาหนดรูปแบบหรือ
โครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
ตรงกัน โดยโครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลาดับ ดังนี้
            (1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดใน
ระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด
ในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
          (2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจ
เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวใน
คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจานวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์”
(Byte)
          (3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่
กาหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขต
ประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป
          (4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มี
ความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป
          (5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบ
เดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป
เนื้อหา                       ข้อมูล         ลักษณะของข้อมูล


       รหัสลูกค้า               832501                       ตัวอักษร 6 ตัว


       ชื่อลูกค้า               บริษัท ร่วมค้า จากัด         ตัวอักษร 30ตัว


       ที่อยู่                  235/8 ถนนเพชรบุรี            ตัวอักษร 30ตัว


       โทรศัพท์                 2253581                      ตัวอักษร 7ตัว


       หนี้ค้างชาระ             4000                         ตัวอักษร 8ตัว




                     การมองลักษณะของเอนทิตดังได้กล่าวนี้อาจมองในรูปแบบ
                                                 ี
ของแฟ้มข้อมูลก็ได้ รายละเอียดของข้อสนเทศที่จะนามาใช้ได้ต้องประกอบด้วย
เนื้อหา ข้อมูล และลักษณะของข้อมูล สาหรับลักษณะของข้อมูลในแฟ้มข้อมูล
เรียกว่า โครงสร้างแฟ้ม (file structure) ส่วนตัวข้อมูลที่เก็บนี้จะเป็นข้อมูลที่เก็บไว้
ในหน่วยความจานั่นเอง
                     การจัดเก็บข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ถือว่ามีประสิทธิภาพ
คือ การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลน้อยที่สด และจะต้องเรียกค้นหาข้อมูลได้ง่าย
                                             ุ
ดังนั้นจึงมีการแบ่งเอนทิตีออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อใช้เรียกข้อมูลย่อย ส่วนย่อยของ
เอนทิตีนี้เรียกว่า เขตข้อมูล (field) ดังตัวอย่างโครงสร้างแฟ้ข้อมูลลูกค้าใน
เนื้อหา                                        ลักษณะของข้อมูล


                                           ข้อมูล
                                                                           จานวน
          ชื่อเขตข้อมูล ความหมาย                                 ชนิด
                                                                          ตัวอักษร



          IDNO       รหัสลูกค้า     832501              ตัวอักษร              6


          NAME       ชื่อลูกค้า     บริษัท ร่วมค้า      ตัวอักษร             30


          ADDR       ที่อยู่        235/8 ถนนเพชรบุรี   ตัวอักษร             30


          TELNO      โทรศัพท์       2253581             ตัวอักษร              7


          DEBT       หนี้ค้างชาระ   4000                ตัวเลข                8




               เมื่อนาเขตข้อมูลทั้งหมดของแฟ้มมาวางเรียงกัน จะเกิด
รูปแบบที่ทางคอมพิวเตอร์มองเห็น เรียกว่า ระเบียน (record) ซึ่งสามารถ
ใช้เป็นเครื่องบ่งบอกถึงโครงสร้างของแฟ้มนั้นได้ เช่น แฟ้มลูกค้า มี
โครงสร้างระเบียนตามตารางที่ 3.5
โครงสร้างข้อมูลในระบบฐานข้อมูล
รูปที่ 3.4 ตัวอย่างโครงสร้างข้อมูลในระบบฐานข้อมูลที่สัมพันธ์กัน
                    โครงสร้างข้อมูลในฐานข้อมูลตามรูปที่ 3.4
ประกอบด้วย 3 แฟ้ม ในแต่ละแฟ้มมีความสัมพันธ์ถึงกัน เช่น ข้อมูล
ในแฟ้มนักเรียนจะมีส่วนที่เป็นกุญแจที่ชี้บอกความสัมพันธ์กับแฟ้ม
อาจารย์ว่าอาจารย์ประจาชั้นชื่ออะไร
                     กรณีทการหาข้อมูลของนักเรียน เช่น นักเรียน
                             ี่
รหัสประจาตัว 008 มีชื่อว่าอะไร มีใครเป็นอาจารย์ประจาชั้น และ
เรียนวิชาอะไร ลักษณะการค้นหาคือ ค้นหาในแฟ้มนักเรียนทีละ
ระเบียนจนพบระเบียนที่มระรหัสเป็น 008 ก็จะทราบชื่อนักเรียนและ
                           ี
มีกุญแจที่เป็นตัวชี้ว่าข้อมูลนี้สัมพันธ์กบข้อมูลในแฟ้มอาจารย์ ทาให้
                                         ั
โยงต่อว่าอาจารย์ชื่ออะไร และจะทราบกุญแจซึ่งเป็นตัวชี้ว่าอาจารย์
สอนวิชาอะไร เป็นต้น การค้นหาข้อมูลที่มีกุญแจเป็นตัวชี้ข้อมูลจะ
ทาให้เราเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น
การแบ่งประเภทแฟ้ม
              ในการเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ในรูปแบบแฟ้มนั้น
ต้องประกอบด้วยเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตรวมกันเป็นระเบียน การ
เก็บและการเรียกข้อมูลจะกระทาทีละระเบียน การแบ่งประเภท
ของแฟ้มจึงมักแบ่งแยกตามรูปแบบลักษณะการเรียกค้นหา ซึง        ่
แบ่งออกเป็น 3 แบบด้วยกันคือ แฟ้มลาดับ (sequential file)
แฟ้มสุ่ม (random file) และ แฟ้มดัชนี (index file) ดังนี้
            1) แฟ้มลาดับ เป็นแฟ้มที่มีโครงสร้างการเก็บข้อมูล
แบบพื้นฐานที่สุด กล่าวคือ เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลลงในแฟ้มทีละ
ระเบียน ข้อมูลจะเข้าต่อท้ายเรียงกันไป ในการย้ายข้อมูลก็จะอ่าน
ข้อมูลที่ละระเบียน เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายอาจเปรียบเทียบได้กับการ
เก็บข้อมูลเพลงในเทปคาสเซต ซึ่งสมมติว่าในม้วนเทปหนึ่งมีการ
เก็บเพลงได้ 10 เพลง ความยาวเพลงละ 3 นาที ซึ่งหากต้องการ
ค้นหาเพลงใดก็ต้องเริ่มต้นจากเพลงแรกไปเป็นลาดับจนกว่าจะ
พบ
2) แฟ้มสุ่ม เป็นแฟ้มที่มีคุณสมบัติทผู้ใช้สามารถ
                                                     ี่
อ่านหรือเขียนที่ตาแหน่งใด ๆ ก็ได้โดยไม่ต้องเรียงลาดับจากต้น
แฟ้ม เช่น กรณีของการเก็บข้อมูลเพลงในเทปคาสเซต ถ้าต้องการ
อ่นเพลงที่ 5 ก็จะคานวณความยาวของสายเทป เพื่อให้มีการเคลื่อน
สายเทปไปยังตาแหน่งที่ต้องการแล้วจึงเริ่มอ่าน กรณีนี้จะทาได้เร็ว
กว่าสแบบลาดับ
                3) แฟ้มแบบดัชนี แฟ้มแบบนี้จาเป็นต้องมีการ
จัดเรียงข้อมูลในเขตข้อมูลที่เป็นดัชนีเสียก่อน เพื่อประโยชน์ในการ
ค้นหา การหาตาแหน่งในการเขียนการอ่านในระเบียนที่ต้องการปกติ
จะใช้ข้อมูลที่เป็นกุญแจสาหรับการค้นหา เพื่อความสะดวกในการ
กาหนดตาแหน่งการเขียนอ่าน ดังตัวอย่างเช่น ถ้าใช้ชื่อเพลงเป็น
กุญแจสาหรับการค้นหา จะมีการเก็บชื่อเพลงโดยมีการจัดเรียงตาม
ตัวอักษร เมื่อค้นหาชื่อเพลงได้ ก็ได้ลาดับเพลง ซึ่งสามารถนาไป
คานวณหาตาแหน่งที่ต้องการเขียนอ่านได้ต่อไป
การเรียนรู้ที่ 2 ชนิดข้อมูลและประเภทของแฟ้มข้อมูล

ประเภทของแฟ้มข้อมูล
                   แฟ้มข้อมูลหลัก (master file)แฟ้มข้อมูลหลักเป็น
แฟ้มข้อมูลทีบรรจุข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับระบบงาน และเป็น
                 ่
ข้อมูลหลักทีเก็บไว้ใช้ประโยชน์ข้อมูลเฉพาะเรื่องไม่มีรายการ
               ่
เปลี่ยนแปลงในช่วงปัจจุบัน มีสภาพค่อนข้างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงหรือ
เคลื่อนไหวบ่อยแต่จะถูกเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการสิ้นสุดของข้อมูล เป็น
ข้อมูลที่สาคัญที่เก็บไว้ใช้ประโยชน์ ตัวอย่าง เช่น แฟ้มข้อมูลหลักของ
นักศึกษาจะแสดงรายละเอียดของนักศึกษา ซึ่งมี ชื่อนามสกุล ที่อยู่
ผลการศึกษา แฟ้มข้อมูลหลักของลูกค้าในแต่ละระเบียนของ
แฟ้มข้อมูลนีจะแสดงรายละเอียดของลูกค้า เช่น ชื่อสกุล ที่อยู่ หรือ
             ้
ประเภทของลูกค้า
6.2 แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (transaction file)
แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเป็นแฟ้มข้อมูลที่ประกอบด้วย
ระเบียนข้อมูลที่มีการเคลื่อนไหว ซึ่งจะถูกรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล
รายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละงวดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
ข้อมูลนั้น แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงนี้จะนาไปปรับรายการใน
แฟ้มข้อมูลหลัก ให้ได้ยอดปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น แฟ้มข้อมูล
ลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา
      6.3 แฟ้มข้อมูลตาราง (table file)แฟ้มข้อมูลตารางเป็น
แฟ้มข้อมูลทีมีค่าคงที่ ซึ่งประกอบด้วยตารางที่เป็นข้อมูลหรือชุดของ
             ่
ข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันและถูกจัดให้อยู่รวมกันอย่างมีระเบียบ
โดยแฟ้มข้อมูลตารางนี้จะถูกใช้ในการประมวลผลกับแฟ้มข้อมูลอื่น
เป็นประจาอยู่เสมอ เช่น ตารางอัตราภาษี ตารางราคาสินค้า
ตัวอย่างเช่น ตารางราคาสินค้าของบริษัทขายอะไหล่
เครื่องคอมพิวเตอร์ดังนี้

       รหัสสินค้า      รายชื่อสินค้า        ราคา
            51                     จอภาพ           4,500
            52                    แป้นพิมพ์        1,200
            53                   แรม 4 M         4,500
            54                   แรม 8 M         7,000
            55             กระดาษต่อเนื่อง            500
            56             แฟ้มคอมพิวเตอร์           200
ในแฟ้มข้อมูลนี้จะประกอบด้วยระเบียนแฟ้มข้อมูล
ตารางของสินค้าที่มีฟลด์ต่าง ๆ ได้แก่ รหัสสินค้า รายชื่อ สินค้า และราคา
                       ิ
สินค้าต่อหน่วย แฟ้มข้อมูลตารางรายการสินค้า จะใช้ร่วมกับแฟ้มข้อมูลหลาย
แฟ้มข้อมูลในระบบสินค้า ได้แก่ แฟ้มข้อมูลคลังสินค้า (inventory master
file) แฟ้มข้อมูลใบสั่งซื้อของลูกค้า (customer order master file) และ
แฟ้มข้อมูลรายการสิตค้าของฝ่ายผลิต (production master file) มีข้อควร
สังเกตว่าแฟ้มข้อมูลตาราง แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง และแฟ้มข้อมูล
หลัก ทั้ง 3 แฟ้ม จะมีฟิลด์ที่เกี่ยวกับตัวสินค้าร่วมกัน คือ ฟิลด์รหัสสินค้า
(product code) ฟิลด์ร่วมกันนี้จะเป็นตัวเชื่องโยงระหว่างแฟ้มข้อมูลตาราง
กับฟ้มข้อมูลอื่น ๆ ทั้งหมดที่ต้องการจะใช้ค่าของฟิดล์รายชื่อสินค้า
(product description) และราคาสินค้า (product price) จากแฟ้มข้อมูล
ตาราง การจัดแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะทาให้ประหยัดเนื้อที่ในอุปกรณ์เก็บข้อมูล
ของแฟ้มข้อมูลหลัก กล่าวคือในแฟ้มข้อมูลหลักไม่ต้องมี 2 ฟิลด์ คือ ฟิลด์
รายการสินค้าและฟิลด์ราคาสินค้า มีแต่เพียงฟิลด์รหัสสินค้าก็เพียงพอแล้ว
เมื่อใดที่ต้องการใช้ฟิลด์รายการสินค้าในการแสดงผลก็อ่านค่าออกมาจาก
แฟ้มข้อมูลตารางได้ นอกจากนั้นยังเป็นการลดความซ้าซ้อนของข้อมูลและ
เมื่อผู้ใช้ระบบต้องการเปลี่ยนแปลงรายการสินค้าหรือราคาสินค้าก็จะเปลี่ยน
ในแฟ้มข้อมูลตารางทีเดียว โดยไม่ต้องไปเปลี่ยนแปลงในแฟ้มข้อมูลอื่น
การออกแบบตาราง(TABLE)


                 หมายถึง การออกแบบโครงสร้างข้อมูลเพื่อกาหนด
ข้อมูลแต่ละชนิดหรือแต่ละฟิลด์ (Field) ให้กับการบันทึกข้อมูลแต่ละ
รายการ (Record) ในการเก็บข้อมูลดิบ (Input Data) ที่จะนาไปใช้
ในการประมวลผลข้อมูลต่อไป ดังนั้นการสร้าง Table จึงเป็นส่วนแรก
ของแฟ้มข้อมูลในการออกแบบฐานข้อมูลที่จะนาไปใช้ในส่วนอื่น ๆ
ต่อไป
           ขั้นตอนการออกแบบ
           - เลือก เมนู Table (ตาราง)
           - เลือก New (สร้างใหม่) เลือกประเภทการออกแบบให้
เลือกดังต่อไปนี้
ประเภทการ
                                                ความหมาย
    ออกแบบ



  สร้างตารางใน   การสร้างตารางที่ผออกแบบเป็นผู้กาหนดโครงสร้างข้อมูลขึ้นด้วยตนเอง ก่อนที่
                                    ู้
 มุมมองออกแบบ    จะเริ่มบันทึกข้อมูลลงใน Table




สร้างตารางโดยใช้
                 การสร้างตารางที่ตองการตัวช่วยสร้าง (Wizard) ในการออกแบบตาราง
                                  ้
   ตัวช่วยสร้าง




                 การสร้างตารางที่ผออกแบบสามารถป้อนข้อมูลได้ทันที โดยไม่ต้องออกแบบ
                                   ู้
สร้างตารางโดยการ
                 โครงสร้างข้อมูลก่อน โปรแกรมจะกาหนดโครงสร้างตามชนิดของข้อมูลที่ป้อนเข้า
     ป้อนข้อมูล
                 ไป
ในหน่วยนี้จะกล่าวเฉพาะกรณีผออกแบบกาหนดเอง ดังนั้นหลังจาก
                           ู้
เลือก สร้างตารางในมุมมองออกแบบ ก็จะปรากฏเมนูการออกแบบ
โครงสร้างตาราง
รูปแสดงการใช้แฟ้มข้อมูลแบบดั้งเดิม(Traditional file) กับงาน
ประยุกต์ต่างๆ
จากรูปจะเห็นว่าโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ อาจจะมีการ
เรียกใช้แฟ้มข้อมูลร่วมกัน ซึ่งทาให้โอกาสทีจะเกิด ข้อผิดพลาด (Error) มี
                                          ่
มากขึ้น หากไม่มีการควบคุมการใช้แฟ้มทีดี ดังนั้นปัญหาอาจจะเกิดขึ้นได้
                                       ่
หลายประการเช่น
1. การซ้าซ้อน และการสับสนของข้อมูล (Data Redundancy and
confusion)
2. ข้อมูลและโปรแกรมขึ้นต่อกัน (Program-data dependence)
3. ขาดความยืดหยุ่น (Lack of flexibility)
4. ขาดความปลอดภัยของข้อมูล (Poor security)
5. ข้อมูลขาดความสะดวกในการใช้และการแบ่งปันกัน (Lack of data
sharing and availability)
การเรียนรู้ที่ 3 ลักษณะการประมวลผลข้อมูล

  ลักษณะการประมวลผลข้อมูล

  ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการ
  ประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมถูกต้อง จนได้รูปแบบผลลัพธ์ ตรงความ
  ต้องการของผู้ใช้
  ข้อมูลที่จะนามาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐาน
  ดังต่อไปนี้
  ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะ
  ทาให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่ง
  เป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และมีโอกาสผิดพลาด
  ได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้
  ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วน
  ใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร
  การออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้
ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทนต่อความ
                                                                     ั
ต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ
เหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงาน ตามความ
ต้องการของผู้ใช้
         ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมและวิธีการ
ทางปฏิบัติ ในการดาเนินการจัดทาสารสนเทศ ต้องสารวจและสอบถามความต้องการ
ของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มความสมบูรณ์เหมาะสม
                               ี
          ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล
มาก จึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด สือความหมายได้ มีการใช้
                                                         ่
รหัสหรือย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
          ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องสาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจ
เพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือ
ความกว้างของขอบเขตข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ
ในการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะ
นาไปใช้ประโยชน์ได้ จาเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผล
ข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ
การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคานวณ
การจัดลาดับหรือการเรียงลาดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มความสาคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่
                                     ี
รอบๆ ตัวเรามีเป็นจานวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้
เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วย
กิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย
กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล
การคานวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทาสาเนา ทา
รายงาน เพื่อแจกจ่าย
หน่วยข้อมูล (DATA UNITS)

· บิต (bit) เลขฐานสองหนึ่งหลักซึ่งมีค่าเป็น 0 หรือ 1
· ตัวอักษร (character) กลุ่มของบิตสามารถแทนค่าตัวอักษรได้ ในชุดอักขระ
ASCII 1 ไบต์(8 บิต) แทนตัวอักษร 1 ตัว
· เขตข้อมูล หรือฟิลด์ (field) เขตข้อมูลซึ่งประกอบด้วยกลุ่มตัวอักษรที่แทน
ข้อเท็จจริง
· ระเบียน (record) ระเบียน คือโครงสร้างข้อมูลที่แทนตัววัตถุชิ้นหนึ่ง
· แฟ้ม (file) ตารางที่เป็นกลุ่มของระเบียนที่มีโครงสร้างเดียวกัน
· ฐานข้อมูล (database) กลุ่มของตาราง (และความสัมพันธ์)
ชนิดของข้อมูล (DATA TYPES)

· ค่าตรรกะ (Boolean values) ซึ่งมีเพียงสองค่าคือ จริง กับ เท็จ
· จานวนเต็ม (integers) หมายถึง เลขที่ไม่มีเศษส่วน หรือทศนิยม
· จานวนจริง (floating-point numbers) หมายถึง จานวนใดๆ ทั้งจานวนเต็ม
และจานวนทศนิยม
· ตัวอักษร (characters) หมายถึง ข้อมูลประเภทตัวอักษรเพียงตัวเดียว
· สายอักขระ (strings) หมายถึง กลุ่มตัวอักษรที่ประกอบกันขึ้นเป็นข้อความ
· วันที่และเวลา (date/time) หมายถึง ข้อมูลที่แทนค่าวันที่และเวลา
· ไบนารี (binary) หมายถึง ข้อมูลที่เก็บในคอมพิวเตอร์ อาจเป็นแฟ้มโปรแกรม
รูปภาพ หรือ วิดีโอ
ประเภทของแฟ้มข้อมูล
 · แฟ้มหลัก (master files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือ
โดยทั่วไป
แฟ้มหลักจะเก็บข้อมูลถาวร หรือกึ่งถาวร หรือข้อมูลที่เป็นประวัตศาสตร์
                                                                 ิ
· แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (transaction files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูลรายการ
เปลี่ยนแปลง
เก็บสะสมรวบรวมไว้ เพื่อนามาประมวลผลและนาไปปรับปรุงแฟ้มหลักอีกทีหนึ่ง

ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (DATA PROCESSING)
· การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่าง
ช่วงเวลาที่กาหนด เมื่อถึงกาหนด ข้อมูลทีสะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้ง
                                       ่
เดียว
· การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที
เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล
การเข้าถึงข้อมูล
 · การเข้าถึงแบบลาดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น
จนถึงข้อมูลที่ตองการเหมาะสาหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลาดับ แต่
               ้
ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจา
· การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น
การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตาแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะ
สาหรับการค้นหาข้อมูลจานวนไม่มาก และเหมาะสาหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และ
แก้ไขเป็นประจา
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (FILE ORGANIZATION)
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบต่างๆ มีลักษณะเฉพาะตัวในการเข้าถึงข้อมูล มี
ดังนี้
ระบบแฟ้มข้อมูล (FILE SYSTEMS)
             ข้อดีคือ การประมวลผลข้อมูลมีความรวดเร็ว การลงทุนในส่วนของเครื่อง
คอมพิวเตอร์และโปรแกรมประยุกต์ใช้งานก็ไม่ยุ่งยาก เนื่องจากไม่ต้องการระบบที่ใหญ่
อย่างไรก็ตามการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะนี้อาจมีปัญหาที่เกิดขึ้นได้ดังต่อไปนี้
· ความซ้้าซ้อนของข้อมูล (data redundancy)
· ความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล (data inconsistency)
· ข้อมูลแยกอิสระต่อกัน (data isolation)
· ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล (poor security)
· ขาดบูรณภาพของข้อมูล (lack of data integrity)
· ความขึ้นต่อกันระหว่างโปรแกรมประยุกต์กบโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล (application /
                                        ั
data
dependence)
การเรียนรู้ที่ 4 แฟ้มโปรแกรมและแฟ้มข้อมูล

              ประเภทของแฟ้มข้อมูล (File Type) เราสามารถจ้าแนกแฟ้มข้อมูลออก
ตามลักษณะของข้อมูลที่เก็บบันทึกไว้และสามารถแบ่งแฟ้มข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท
ใหญ่ๆ คือ
1. แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลซึ่งเก็บข้อมูลที่ส้าคัญ เช่น
แฟ้มข้อมูลประวัติ ลูกค้า (Customer master file) ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น
แฟ้มข้อมูลประวัตผู้จัดส่งสินค้า (Supplier master file) แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ
                   ิ
(Inventory master file) แฟ้มข้อมูลบัญชี (Account master file) เป็นต้น
ซึ่งแฟ้มข้อมูลหลักเหล่านี้เป็นส่วนประกอบของระบบงานบัญชี (Account system)
2. แฟ้มรายการปรับปรุง (Transaction file) เป็นแฟ้มที่บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ
แฟ้มข้อมูลหลักทีมีการเปลียนแปลงในแต่ละวัน รายการที่เกิดขึ้นต้องน้าไปปรับปรุงกับ
                 ่          ่
แฟ้มข้อมูลหลักเพื่อให้แฟ้มข้อมูลหลักมีข้อมูลที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
การปรับปรุงแฟ้มข้อมูลสามารถท้าได้หลายอย่าง เช่น การเพิ่มรายการ
(Add record) การลบรายการ (Delete record) และการแก้ไขรายการ (Edit)
การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล (File organization) มีวิธีการจัดได้หลายประเภท เช่น
1. การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลแบบตามลาดับ (Sequential File
organization) ลักษณะการจัดข้อมูลรายการจะเรียงตามฟิลด์ทก้าหนด (Key
                                                                ี่
field) เช่น เรียงจากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อยหรือเรียงตามตัวอักษร โดย
ส่วนมากมักจะใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อในการเก็บข้อมูลซึ่งการเก็บโดยวิธีนี้จะมีทั้งข้อดีและ
ข้อเสีย
ข้อดี                                                    ข้อเสีย




                                                               1. เสียเวลาในการปรับปรุงในกรณีที่มีรายการ ปรับปรุงน้อยเพราะ
       1. เป็นวิธีที่เข้าใจง่าย เพราะการเก็บจะเรียงตาม ลาดับ
                                                               จะต้องอ่านทุกรายการจนกว่า จะถึงรายการที่ต้องการปรับปรุง




       2. ประหยัดเนื้อที่ในการเก็บ และง่ายต่อการสร้าง แฟ้ม 2. ต้องมีการจัดเรียงข้อมูลที่เข้ามาใหม่ให้อยู่ในลาดับ เดียวกันใน
       ใหม่                                                แฟ้มข้อมูลหลักก่อนที่จะประมวลผล




ตารางแสดงข้อดีและข้อเสียในการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลตามล้าดับ
2. การจัดระเบียนแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือแบบสุม (Direct or
                                                                   ่
random file organization) โดยส่วนมากมักจะใช้จานแม่เหล็ก (Hard disk)
เป็นหน่วยเก็บข้อมูล การบันทึกหรือการเรียกข้อมูลขึ้นมาสามารถเรียกได้โดยตรง ไม่ต้อง
ผ่านรายการอื่นก่อน เราเรียกวิธีนี้ว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct access)
หรือการเข้าถึงโดยการสุ่ม (Random Access) การค้นหาข้อมูลโดยวิธีนี้จะเร็วกว่า
แบบตามล้าดับ ทังนี้เพราะการค้นหาจะก้าหนดดัชนี (Index) จะนั้นจะวิ่งไปหาข้อมูลที่
                  ้
ต้องการหรืออาจจะเข้าหาข้อมูลแบบอาศัยดัชนีและเรียงล้าดับควบคู่กน (Indexed
                                                                 ั
Sequential Access Method (ISAM) โดยวิธีนี้จะก้าหนดดัชนีที่ต้องการ
ค้นหาข้อมูล เมื่อพบแล้วต้องการเอาข้อมูลมาอีกกี่ รายการก็ให้เรียงตามล้าดับของ
รายการที่ต้องการ ซึ่งการเก็บโดยวิธีนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี                                                               ข้อเสีย

                                                              1. สิ้นเปลืองเนื้อที่ในหน่วยสารองข้อมูล


1. สามารถบันทึก เรียกข้อมูล และปรับปรุงข้อมูลที่ ต้องการได้
โดยตรง ไม่ต้องผ่านรายการที่อยู่ก่อนหน้า




                                                              2. ต้องมีการสารองข้อมูลเนื่องจากโอกาสที่ข้อมูล จะมีปัญหาเกิดได้ง่ายกว่า
2. ในการปรับปรุงและแก้ข้อมูลสามารถทาได้ทันที
                                                              แบบตามลาดับ




ตารางแสดงข้อดีและข้อเสียในการจัดแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือสุ่ม
การจัดการแฟ้มข้อมูล (File Management) ในอดีตข้อมูลที่จัดเก็บไว้จะอยู่ใน
รูปของแฟ้มข้อมูลอิสระ (Conventional File) ซึ่งระบบงานแต่ละระบบก็จะสร้าง
แฟ้มของตนเองขึ้นมาโดยไม่เกียวข้องสัมพันธ์กน เช่น ระบบบัญชี ที่สร้างแฟ้มข้อมูลของ
                            ่              ั
ตนเอง ระบบพัสดุคงคลัง (Inventory) ระบบการจ่ายเงินเดือน(Payroll) ระบบออก
บิล (Billing) และระบบอื่นๆต่างก็มีแฟ้มข้อมูลเป็นของตนเอง หากมีการปรับปรุงแก้ไขก็
จะท้าเฉพาะส่วนจึงท้าข้อมูลขององค์การ บางครังเกิดสับสนเนื่องจากข้อมูลขัดแย้งกันและ
                                             ้
ในบางองค์การอาจจะมีการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาทีเ่ ขียนที่ต่างกัน เช่นภาษาโคบอล
(COBOL language) ภาษาอาร์พีจี(RPG) ภาษาปาสคาล (PASCAL) หรือ
ภาษาซี (C language) ซึ่งมีลักษณะของแฟ้มข้อมูลที่สร้างด้วยภาษาที่ต่างกันก็ไม่
สามารถจะใช้งานร่วมกันได้ จึงท้าให้องค์การเกิดการสูญเสียในข้อมูล ดังนั้นก่อนที่
องค์การจะน้าคอมพิวเตอร์มาใช้จะต้องมีการวางแผนถึงระบบการบริหารแฟ้มข้อมูล การ
แบ่งประเภทของแฟ้มข้อมูลและการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล
   การบริหารแฟ้มข้อมูลจะต้องมีการก้าหนดโปรแกรมที่จะพัฒนาขึ้นมาว่าจะใช้ภาษาอะไร
มีหน่วยงานใดต้องใช้ ต้องการข้อมูลอะไร ข้อมูลที่แต่ละแผนกต้องการซ้้ากันหรือไม่ หรือมี
ข้อมูลอะไรทีขาดหายไปและข้อมูลฟิลด์ไหนที่จะใช้เป็นคีย์ในการค้นหาข้อมูล เช่น การสร้าง
            ่
แฟ้มประวัติลูกค้า
รูปแฟ้มประวัติลกค้า
               ู
วิธีการประมวลผล
          1. การประมวลผลแบบชุด (Batch Processing) คือ การ
ประมวลผลโดยผู้ใช้จะท้าการรวบรวมเอกสารทีต้องการประมวลผลไว้เป็นชุดๆ ซึ่ง
                                               ่
แต่ละชุดอาจจะก้าหนดเท่ากับเอกสาร 10 หรือ 20 รายการหรือมากกว่าก็ได้แต่ให้
มีขนาดเท่ากัน แล้วป้อนข้อมูลดังกล่าวสูเ่ ครืองคอมพิวเตอร์ จากนันจึงใช้ค้าสั่งให้
                                             ่                    ้
ประมวลผลพร้อมกันทีละชุดตัวอย่าง บริษัทหนึ่งอาจจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ
                        ่
ออกบิลโดยมีการรวบรวมใบสั่งซื้อจากลูกค้าภายในหนึ่งวันจากแผนกขาย จากนันก็        ้
ส่งให้แผนกคอมพิวเตอร์ท้าการป้อนข้อมูลและตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูล
ก่อนที่จะเก็บบันทึกไว้ จากนั้นก็จะน้าข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล ซึ่งอาจจะต้อง
อาศัยแฟ้มข้อมูลอื่นๆ มาประกอบการประมวลผล เช่น แฟ้ม ข้อมูลสินค้าคงเหลือ
แฟ้มข้อมูลลูกหนี้ กรณีลกค้าซื้อเงินเชื่อและแฟ้มประวัติลูกค้า เป็นต้น จากนั้นก็จะน้า
                          ู
ข้อมูล ดังกล่าวไปประมวลผล ซึ่งอาจจะต้องอาศัยแฟ้มข้อมูลอื่นๆ มาประกอบการ
ประมวลผล เช่น แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ แฟ้ม ข้อมูลลูกหนี้ กรณีลูกค้าซือ เงินเชื่อ
                                                                         ้
และแฟ้มประวัตลูกค้า เป็นต้น จากนั้นจึงออกบิลเพื่อส่งต่อให้กับผู้ขายเพื่อเบิกสินต้า
                ิ
ที่แผนกพัสดุ สินค้าหรือโกดัง (Warehouse) พิจารณา แสดงข้อดีและข้อเสีย
ของการประมวลผลแบบชุด
รูปแสดงขั้นตอนการรวบรวมบิลเป็นชุดก่อนประมวลผลแบบชุด
้้ข้อดีของการทางานแบบชุด                                         ข้อเสียของการทางานแบบชุด

1. เหมาะสาหรับบริษัทที่มีขนาดใหญ่ มีปริมาณงาน มากแต่ไม่
จาเป็นต้องบริการข้อมูลทันทีทันใด


                                                           1. เสียเวลาในการข้อมูลที่ต้องการทันทีทันใด อาจจะไม่ทันสมัย(Update) เนื่องจาก
                                                           การประมวลผลข้อมูลจะทาเป็นช่วงๆ ปรับปรุงในกรณีที่มีรายการ ปรับปรุงน้อย
                                                           เพราะจะต้องอ่านทุกรายการจนกว่า จะถึงรายการที่ต้องการปรับปรุง




                                                           2. เสียเวลาในการรวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบ ก่อนจะทาการ ประมวลผล

2. ง่ายต่อการตรวจสอบ หากข้อมูลผิดพลาด สามารถตรวจสอบเฉพาะ
ชุดของข้อมูลที่ผิดพลาด



  ตารางที่ 5.4 แสดงข้อดีและข้อเสียของการประมวลผลแบบโต้ตอบ
  (Interactive)
2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive) หมายถึง การทางานในลักษณะที่มีการ
โต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา เช่น กรณีที่ลูกค้า นาย
วัลลภ คลองหก จากบริษัทราชมงคล จากัด ติดต่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์จากแผนกขาย เจ้าหน้าที่พนักงานขาย
จะต้องป้อนรหัสลูกค้าเพื่อเรียกประวัตินายวัลลภขึ้นมาพิจารณาว่าในขณะนี้ได้สั่งซื้อสินค้าเกินวงเงินเครดิตหรือไม่ ถ้าไม่
เกินก็อนุมัติการขายแต่ถ้าหากเกินก็อาจจะให้ชาระเป็นเงินสด จากนั้นจะมีการตรวจสอบแฟ้มสินค้าคงคลังว่ามีสินค้า
ดังกล่าวหรือไม่เพื่อตัดสต็อก (Stock) แล้วพิมพ์บิลเพื่อจัดส่งให้ลูกค้า แสดงการทางานการออกบิลโดยการ
ประมวลผลแบบโต้ตอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
การเรียนรู้ที่ 5 ชนิดของโครงสร้างข้อมูล



1. ความหมายของโครงสร้างข้อมูล
     โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทีอยู่ใน
                                                                      ่
โครงสร้างนั้นๆ รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง เช่น เพิ่ม แก้ไข
ลบ ตัวอย่างของโครงสร้างข้อมูลประเภทต่างๆ ได้แก่ แถวลาดับ ลิงลิสต์ สแตก คิว
ทรี และกราฟ.
2. ประเภทของโครงสร้างข้อมูล

     แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ (Physical Data Structure)
1.ข้อมูลเบื้องต้น (Primitive Data Types)
 - จานวนเต็ม (Integer)
 - จานวนทศนิยม (Floating point)
 - ข้อมูลบูลีน (Boolean)
 - จานวนจริง (Real)
 - ข้อมูลอักขระ (Character)

2.ข้อมูลโครงสร้าง (Structure Data Types)
 - แถวลาดับ (Array)
 - ระเบียนข้อมูล (Record)
 - แฟ้มข้อมูล (File)
การออกแบบระบบ
                เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถที่จะเข้าใจและแกไขปัญหา
บางอย่างได้ จึงต้องมีวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาโดยการออกแบบระบบ ซึ่งเป็นการ
วางแผนออกแบบที่แยกแยะออกเป็นปัญหาย่อย และพิจารณาสร้างชุดค้าสั่งเพื่อแก้ไข
ปัญหาย่อยนั้น จากนั้นมารวมกันเป็นระบบที่สามารถแก้ไขปัญหาทั้งหมด มีลกษณะ   ั
การวางแผนออกแบบจากบนลงล่าง (Top-down Design) ซึ่งประกอบด้วย 2
ส่วนหลัก ๆ คือ
               1. โครงสร้างข้อมูล (Data Strutcure) ใช้ควบคุมและจัดการ
กับข้อมูลของปัญหานั้น ๆ หรือที่เรียกว่าชนิดข้อมูลมีโครงสร้าง เรียกสั้น ๆ ว่าชนิด
ข้อมูล เช่น ชนิดข้อมูลอาร์เรย์ ชนิดข้อมูลสแตก และชนิดข้อมูลลิงค์ ลิสต์ การ
                                                             ้
ออกแบบระบบต้องเลือกใช้โครงสร้างข้อมูลอย่างเหมาะสมเพื่อจัดการกับข้อมูลที่ใช้ใน
ระบบ
               2. การออกแบชุดคาสั่ง (Module Design) ในการแก้ไข
ปัญหาจะต้องมีกระบวนการท้างานเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารหรือเอ้าท์พุต ที่
ต้องการโดยชุดค้าสั่งเป็นส่วนประกอบของระบบ จึงต้องมีการออกแบบการท้างานที่
เป็นชุดค้าสั่งหรือโมดุลนั้นๆ และเรียกว่า อัลกอรึทึม ได้เป็น
การทีจะเลือกใช้โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมในการออกแบบให้การท้างานอย่สงมี
                  ่
ประสิทธิภาพ ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจส้าคัญของการออกแบบซอฟต์แวร์จะพิจารณาได้จากลักษณะ
ดังต่อไปนี้
ความถูกต้อง
ระยะเวลาการท้างาน
จ้านวนพื้นที่ใช้งาน
ความเรียบง่าย
ความเหมาะสมที่สุด
การเขียนคาสั่งและรวมกัน
                การเขียนคาสั่ง (Coding) คือ การเขียนค้าสั่งต่าง ๆ ของโปรแกรมให้ท้างาน
เป็นไปตามโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทมด้วยภาษาเขียนโปรแกรมภาหนึ่ง ถ้าโครงสร้างข้อมูล
                                        ึ
และอัลกอริทมถูกออกแบบไว้เป็นอย่างดีท้าให้กระบวนการแปลงค้าสั่งจากภาษาเขียนให้เป็น
              ึ
ภาษาเครื่องก็จะง่ายไม่ยุ่งยากล้าบาก
                การรวมกัน (Integration) เป็นกระบวนการน้าค้าสั่งต่าง ๆ ที่เขียนเป็นแต่
ละชุดค้าสั่งมารวมกันและให้มีการท้างานร่วมกันได้เป็นซอฟต์แวร์โปรแกรมขึ้นมา
                การเขียนโปรแกรมที่ดีนั้นจะต้องมีความถูกต้องในการท้างาน สามารถอ่านค้าสั่ง
และท้าความเข้าใจได้ง่าย จึงต้องมีโครงสร้างการเขียนโปรแกรมที่ดี ซึ่งมีวิธีการเข้ามาช่วยเหลือ
ในการเขียนโดยพิจารณาได้จากเรื่องต่อไปนี้
1. การเขียนโปรแกรมควรเป็นแบบบนลงล่าง (Top-Down)
โดยเฉพาะกับปัญหาที่มีขนาดใหญ่หรือมีความซับซ้อน จึงควรแยกปัญหาใหญ่
ออกเป็นปัญหาย่อย ๆ จากการเขียนค้าสั่งทั้งหมดในโปรแกรม ก็แยกเป็นชุดค้าสั่ง
ย่อย ๆ
                2. ใช้โครงสร้างควบคุมการท้างาน (Control Structure) ใน
การเขียนโปรแกรมหรือชุดค้าสั่ง เช่น การใช้เงื่อนไข IF การใช้วนลูปแบบต่าง ๆ
                3. ควรใช้ตัวแปรที่เป็นแบบโลคอล (Local Variable) และใช้กับ
ชุดค้าสั่งเพื่อแก้ปัญหาย่อย
                4. ควรใช้ตัวแปรพารามิเตอร์ (Parameter) กับชุดค้าสั่งเพือ   ่
แก้ไขปัญหาย่อย หลีกเลี่ยงที่จะใช้ตัวแปรที่เป็นแบบโกลบอล และตัวพารามิเตอร์ควรมี
การป้องกันหากมีการแก้ไขค่า
                5. น้าตัวแปรค่าคงที่ ( Constant Variable) มาใช้ จะช่วยให้
การเขียนโปรแกรมมีความยืดหยุ่นมากขึ้นและอ่านเข้าใจง่าย
                6. การเขียนโปรแกรมควรมีการจัดพื้นที่หรือบรรทัดว่างเพื่อให้อาน่
สะดวก มีการย่อหน้าเพื่อจัดระดับของค้าสั่งและมีลกษณะที่เป็นกรอบ
                                                 ั
การท้างานของคอมพิวเตอร์จะมีการจัดการอย่างไรเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสาร และ
ความหมายโครงสร้างข้อมูล/ชนิดาข้อมูล ปแบบต่าง ๆ ที่ท้าความเข้าใจได้ แต่
   สามารถน้ามาใช้งานออกมาเป็นข้อมูลข่ วสารในรู
   เนื่องจากคอมพิวเตอร์เป็นเพียงเครื่องจักรที่ไม่สามารถเข้าใจความหมายของข้อมูลข่าวสาร
   ได้เช่นเดียวกับคน จึงมีการก้าหนดรูปแบบที่ใช้สื่อความหมายของข้อมูลข้าวสารให้
   คอมพิวเตอร์กับผูใช้งานเข้าในตรงกันเรียกว่า โครงสร้างข้อมูลหรือชนิดข้อมูล โดยแบ่งออก
                      ้
   ได้เป็นดังนี้
    บิต (Bit)
                  เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในการท้างานของคอมพิวเตอร์ที่แสดงเป็นสถานะได้ 2
   สถานะ คือ เปิดกับปิด จึงก้าหนดเป็นการเก็บค่าได้ 2 ค่า คือ 0 กับ 1 เรียกว่าไบนารี่ดิจิต
   (Binary Digit)
   ไบต์ (Byte)
                  เป็นการน้าบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อรวมกันเพื่อก้าหนดค่าได้มากขึ้น เช่น 3
   บิต มาต่อเรียงกันจะท้าให้เกิดสถานะทีต่างกันคือ 000,001,010,100,011,010,
                                           ่
   และ 111 ก็จะได้เป็น 8 สถานะ เมื่อน้าบิตมาเรียงต่อรวมกันเป็น 8 บิต เรียกว่าไบต์ มี
   256 สถานะ และก้าหนดเป็นโครงสร้างข้อมูลทีมีขนาดเล็กที่สุดที่ใช้งานได้ มีค่าตั้งแต่ 0
                                                   ่
   – 255 (00000000 – 11111111)
เลขจานวนเต็ม (Integer)
               เป็นการน้าบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อรวมกันเพื่อก้าหนดเป็นเลขจ้านวนเต็ม ซึ่งได้เป็น
ระบบเลขฐานสอง โดยแต่ละบิตมีความหมายเป็นเลขยกก้าลังสอง เช่น 20 = 1, 23 = 8 หรือ
21 + 22 +25 = 2+4+32 = 38 เลขที่ได้เป็นเลขจ้านวนเต็มบวก ถ้าต้องการเป็นเลขจ้านวน
เต็มลบ จะต้องใช้วิธีการเรียกว่า One-complement Notation โดยการเปลี่ยนค่าของบิตที่เป็น
0 ให้เป็น 1 และค่าที่เป็น 1 ให้เป็น 0 เช่น 00100110 = 38 เมื่อสลับค่าจะได้บิต
11011001 = -38 ด้วยวิธีนี้ท้าให้เก็บค่าได้ทั้งเลขจ้านวนเต็มบวกและเต็มลบ ซึ่งมีบิตซ้ายสุดเป็น
ตัวก้าหนดให้มีค่าบวกหรือลบเรียกว่า Sign Bit เมื่อน้าบิตมาเรียงต่อกัน 16 บิตได้เป็นเลขจ้านวน
เต็มฐานสิบ มีอีกวิธีคือ Two-complement Notation โดยการบวกค่า 1 เข้าไปกับค่าของ
One-complement Notation เช่นจาก 11011001 = -38 เมื่อบวก 1 จะได้
11011010 = -38 เช่นกัน แต่วิธีนี้จ้าท้าให้เก็บค่าได้มากกว่า คือ มีตั้งแต่ -2n-1 ถึง 2n-1 -1
ดังต่อไปนี้
1000000000000000 = -32768                           0000000000000000 = 0
1000000000000001 = -32767                           0000000000000001 = 1
1000000000000010 = -32766                           0000000000000010 = 2
1111111111111101 = -3                               0111111111111101 = 32765
1111111111111110 = -2                               0111111111111110 = 32766
1111111111111111 = -1                               0111111111111111 = 32767
เลขจานวนจริง (Real Number)
              เป็นรูปแบบของตัวเลขทีมีเลขทศนิยมเรียกว่า Floating – point
                                     ่
Number โดยท้าการแบ่งบิตออกเป็นสองส่วน โดยบิตที่อยู่ดานซ้ายเก็บค่าเป็น
                                                          ้
ตัวเลขจ้านวนเต็ม เรียกว่า แมนทิสสา (Mantissa) การเก็บค่าเป็นแบบเดียวกับ
ตัวเลขจ้านวนเต็ม ส่วนบิตทีอยู่ดานขวาเก็บค้าเป็นจ้านวนหลักของ เลขทศนิยมเรียกว่า
                           ่ ้
เอ็กซ์โพเนนท์ (Exponent) ในการเก็บจะใช้วธี Two – complement
                                            ิ
Notation ซึ่งได้มาจากเลขยกก้าลังของ 10 เช่น .01 = 10-2, 6.25 x 10-
2 การเก็บค่าเลขทศนิยมจะใช้บิตจ้านวน 32 บิต โดยแบ่งส่วนที่เป็นแมนทิสสาจ้านวน
24 บิต และส่วนที่เป็นเอ็กซ์โพเนนท์จ้านวน 8 บิต ดังนี้
           00000000000000000000000000000000 = 0
           00000000000000000000110000000011 =
12000
           00000000000000000000010111111111 = 0.5
           00000000000000000000010111111010 =
0.000005
           11111111011010001001111111111110 = -
387.53
ตัวอักษร (Character)
               เป็นการเก็บค่าที่เป็นตัวอักษร แต่เนืองจากคอมพิวเตอร์ไม่
                                                   ่
สามารถเข้าใจจึงใช้เลขจ้านวนเต็มสือความหมายแทนโดยใช้บิตจ้านวน 8 บิต
                                    ่
เรียกว่า Bit String ซึ่งค่าตัวเลขที่ได้จะก้าหนดเป็นตัวอกษรหนึ่งตัว ดังนั้นจะ
ได้ตัวอักษรทั้งหมด 256 ตัวที่เรียกว่าเอ็บซีดิก (EBCDIC) เช่น
 ตัวอักษรA จะมีค่า 01000001 = 65 หรือ B มีค่า 01000010 =
66 ประกอบด้วยอักษรตัวเล็ก ตัวใหญ่ ตัวเลข และตัวอักษรพิเศษ และที่ใช้เพียง
7 บิตเรียกว่าวหัสแอสกี (ASCII Code) ใช้ครึ่งเดียวของเอ็บซีดิกแต่การ
ท้างานรวดเร็วกว่า เมื่อใดที่น้าตัวอักษรหลาย ๆ ตัวมาเรียงต่อกันก็จะได้เป็น
ข้อความ เช่น AB จะได้เป็น 0100000101000010 หากต้องการเก็บ
จ้านวนรูปแบบของตัวอักษรมากกว่านี้ก็สามารถท้าได้โดยการเพิ่มจ้านวนบิตเข้า
ไป ซึ่งขึ้นกับสถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์จะรับได้หรือไม่ เช่นใช้ 10 บิตก็จะ
ได้ตัวอักษร 1024 รูปแบบ
การเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะของข้อมูล

         สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการประมวลข้อมูล และสามารถ น้าไปใช้ประโยชน์
ในการวางแผน การตัดสินใจ และการคาดการณ์ ในอนาคตได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูป
ของข้อความ ตาราง แผนภูมิ รูปภาพ
ความ รู้ การารับรู้และเข้าใจสารสนเทศจนถึงระดับทีสามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ได้คือมี
                                                ่
ความเข้าใจในองค์ประกอบต่างๆจนอาจสร้างเป็นทฤษฏี หรือเป็นแบบจ้าลองทางความคิด
และสามารถแก้ปัญหาในการด้าเนินงานได้
ระบบสารสนเทศ
ระบบ (System) ประกอบไปด้วย Input Process output และอาจจะมี
Feedback
ระบบสารสนเทศ (Information system) คือการน้าเอาองค์ประกอบความสัมพันธ์
ของระบบ มาใช้การรวบรวมบันทึก ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการ
วางแผนควบคุมจัดการและสนับสนุนการตัดสินใจ
คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
     ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้
นั้น ดังที่กล่าวมาแล้วว่าข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส้าคัญอย่างมากต่อทุก
องค์การ ทั้งนี้สารสนเทศที่ดีควรมีลกษณะ ดังต่อไปนี้
                                   ั

     1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเทียงตรง     ่
และเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้น
ประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบ
ท้าให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย
     2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศของ
องค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการ
ที่สามารถน้าสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้
เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการ
เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง
3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์
ที่จะช่วยท้าให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้
หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการด้าเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็น
สารสนเทศที่ไม่มีความส้าคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจท้าให้
ไม่ได้สารสนเทศที่ส้าคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะน้าไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมี
ประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์
ก่อนจึงจะท้าการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ
ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอย
ของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็
จ้าเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการ
ตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะใน
บางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับ
สารสนเทศที่ส้าคัญครบในทุกด้านที่ท้าการตัดสินใจ
คุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีความส้าคัญอย่างยิ่งที่ผู้บริหารงานบุคคล
จะต้องพยายามจัดระบบให้มีความพร้อมครบถ้วนและพร้อมที่จะใช้งานได้ ปัญหาส้าคัญที่
องค์การส่วนมากมักจะต้องเผชิญ คือ การไม่สามารถสนองข้อมูลที่เกียวกับบุคคลให้ทันกับ
                                                                     ่
ความจ้าเป็นใช้ในการที่จะต้องด้าเนินการหรือตัดสินปัญหาบางประการ ดังเช่น ถ้าหากมีเหตุ
เฉพาะหน้าที่ต้องการบุคคลที่มี         คุณสมบัติอย่างหนึ่งในการบรรจุเข้าต้าแหน่งหนึ่งอย่าง
รวดเร็วในเวลาอันสั้น ซึ่งหากผู้จัดเตรียม ข้อมูลจะต้องใช้เวลาประมวลขึ้นมานานเป็นเดือนก็
ย่อมถือได้ว่า ข้อมูลที่สนองให้นั้นช้ากว่าเหตุการณ์ หรือในอีกทางหนึ่ง บางครั้งแม้จะเสนอ
ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แต่เป็นข้อมูลที่เป็นรายละเอียดมากเกินไปที่ไม่อาจพิจารณาแยกแยะ
คุณสมบัติที่ส้าคัญ หรือข้อมูลที่ส้าคัญที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอย่างเด่นชัด ก็ย่อมท้าให้การใช้
ข้อมูลนั้นเป็นไปด้วยความยากล้าบาก

            นอกจากลักษณะที่ดีของสารสนเทศดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีคุณสมบัติที่แอบ
แฝงของสารสนเทศอีกบางลักษณะที่สัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ และวิธีการด้าเนินงานของ
ระบบ      สารสนเทศ ซึ่งจะมีความส้าคัญแตกต่างกันไปตามลักษณะงานเฉพาะอย่าง ซึ่ง
ได้แก่
1. ความละเอียดแม่นย้า คือ สารสนเทศจะต้องมีความละเอียดแม่นย้าในการวัดข้อมูล ให้ความ
เชื่อถือได้สูง มีรายละเอียดของข้อมูล และแหล่งที่มาของข้อมูลที่ถูกต้อง
   2. คุณสมบัติเชิงปริมาณ คือความสามารถที่จะแสดงออกมาในรูปของตัวเลขได้ และ
สามารถเปรียบเทียบในเชิงปริมาณได้
     3. ความยอมรับได้ คือ ระดับความยอมรับได้ของกลุ่มผูใช้สารสนเทศอย่างเดียวกัน
                                                           ้
สารสนเทศควรมีลักษณะเดียวกันในกลุ่มผู้ใช้งาน หรือใกล้เคียงกันโดยสามารถใช้ร่วมกันได้
เช่น การใช้เครื่องมือเพื่อวัดคุณภาพการผลิตสินค้า เครื่องมือดังกล่าวจะต้องเป็นที่ยอมรับได้
ว่าสามารถวัดค่าของคุณภาพได้อย่างถูกต้อง
     4. การใช้ได้ง่าย คือ ความสามารถน้าไปใช้งานได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทั้งในส่วนของ
ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
     5. ความไม่ล้าเอียง ซึ่งหมายถึง ไม่เป็นสารสนเทศที่มีจุดประสงค์ทจะปกปิดข้อเท็จจริง
                                                                      ี่
บางอย่าง ซึ่งท้าให้ผู้ใช้เข้าใจผิดไปจากความเป็นจริง หรือแสดงข้อมูลทีผิดจากความเป็นจริง
                                                                    ่
     6. ชัดเจน ซึ่งหมายถึง สารสนเทศจะต้องมีความคลุมเครือน้อยที่สุด สามารถท้าความ
เข้าใจได้ง่าย
ระบบย่อย หรือส่วนประกอบของ MIS
ระบบประมวลผลรายการ (TPS = Transaction processing Systems)
เช่น การบันทึกรายการบัญชี การขาย การผลิต เป็นต้น
ระบบการจัดการรายงาน (MRS = Management Reporting System)
ช่วยจัดเตรียมรายงานสนองความต้องการของผูใช้ เช่น Grade report
                                            ้
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS = Decision Support System)
ช่วยเตรียมรายงาน เพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหารระดับต่าง ๆ
ระบบสารสนเทศส้านักงาน (OIS = Office Information System)
ระบบสารสนเทศในส้านักงานโดยอาศัยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์


การรวมความสัมพันธ์ของแต่ละระบบย่อยเข้าด้วยกัน
ESS = Executive Support Systems
MIS = Management Information Systems
DDS = Decision Support Systems
OIS = Office Information Systems
TPS = Transaction Processing Systems
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ปิยะดนัย วิเคียน
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
Nuanlaor Nuan
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
kunanya12
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
sa
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
Orapan Chamnan
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 

Mais procurados (15)

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 

Semelhante a งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร

ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
sariya25
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
miwmilk
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
Hitsuji12
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
kruthanyaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
chaiwat vichianchai
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
filjerpark
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Isareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
Opas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
Opas Kaewtai
 

Semelhante a งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร (20)

it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 

งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร

  • 1. วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาว มลทิรา เอกกุล มัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ 23 เสนอ อาจารย์ ธิติพร ไหวดี
  • 2.
  • 3. การเรียนรู้ที่ 1วัตถุประสงค์ของการจัดการข้อมูล หน่วยข้อมูลและ เขตข้อมูลคีย์ . ในปัจจุบันสังคมเป็นสังคมสารสนเทศ ข้อมูลถือเป็น ทรัพยากรที่มีค่าของทุก ๆ หน่วยงาน ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ หน่วยงานที่ สามารถจัดการข้อมูลได้ดีกว่าย่อมได้เปรียบกว่า ในทุก ๆ ด้าน ดังนั้นจึงได้มความพยายามนาเทคโนโลยีด้าน ี คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้ข้อมูลของหน่วยงานมีความถูกต้อง แม่นยา ทันสมัย และ สะดวกต่อการเรียกใช้งานมากที่สุด หากจะพิจารณาถึงการจัดการ ข้อมูลย่อมจะหมายถึง การจัดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล รวมถึง การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนามาใช้งาน ลองพิจารณาถึงคลินิกแห่ง หนึ่ง ซึ่งเป็นหน่วยงานเล็ก ๆ ก็ยังต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล คนไข้ที่มารับการรักษา ข้อมูลที่ต้องการเก็บ ได้แก่ ประวัติส่วนตัว ของคนไข้ อาการที่มารับการรักษา วิธีการรักษา และผลการรักษา วิธีหนึ่งที่ทากันก็คือการจดบันทึกข้อมูลทั้งหมดลงบนกระดาษ และเก็บกระดาษนั้นไว้ ซึ่งมีหัวข้อที่ซ้ากัน เช่น ข้อความของ หัวข้อ ชื่อคนไข้ และที่อยู่ ฯลฯ หากเจ้าหน้าที่ต้องเขียนทุกใบก็ จะเป็นการเสียเวลา ดังนั้นทางคลินิกอาจใช้วิธีจ้างโรงพิมพ์พิมพ์ แบบฟอร์มขึ้นมา เพื่อให้การกรอกข้อมูลง่ายขึ้น รูปที่ 2.8 แสดง ตัวอย่างของแบบฟอร์มที่คลินิกแห่งหนึ่งใช้
  • 5. รูปที่ 2.8 ตัวอย่างแบบฟอร์มบัตรคนไข้ เมื่อพิจารณาบัตรคนไข้ จะเห็นว่า ข้อมูลที่อยู่บนบัตรมี ความหมายต่าง ๆ กัน การที่ข้อมูลแสดงความหมายได้ จะต้องประกอบด้วย ส่วนข้อมูลที่พมพ์บนบัตรกับส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติม ข้อมูลที่พิมพ์บนบัตร ิ คือส่วนที่อธิบายลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ ทาให้ส่วนข้อมูลที่กรอกเพิ่มเติม ชัดเจน การจะใช้งานข้อมูลให้ได้ผลดี จึงต้องมีทั้งตัวข้อมูลและคาอธิบาย ลักษณะของข้อมูล ในการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ ทางคลินิกใช้ตเก็บเอกสารขนาด ู้ ใหญ่สาหรับเก็บแบบฟอร์มและเรียงไว้ในลิ้นชัก เมื่อมีคนไข้ใหม่เพิ่มขึ้นก็เพิ่ม แบบฟอร์มแผ่นใหม่เข้าไป และในการเรียกใช้ข้อมูลเมื่อมีคนไข้มาติดต่อ เจ้าหน้าที่ต้องค้นหาข้อมูลเดิมของคนไข้ วิธีหนึ่งที่ทาได้คือตรวจดูข้อมูลบน บัตรคนไข้ทีละใบตั้งแต่ใบแรกจนพบ การค้นหาวิธีนี้อาจเสียเวลามาก แต่ถ้า จัดเก็บข้อมูลโดยเรียงชื่อตามตัวอักษรไว้แล้วจะทาได้รวดเร็วขึ้น การจัดการข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่จาเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งาน ในชีวิตประจาวัน และมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยประมวลผล เพื่อได้ขอมูล ้ ที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีหลักการ และวิธีการที่เป็นระบบ และการเก็บข้อมูลควรพยายามลดขนาดของข้อมูลให้ เล็กที่สด แต่ยังคงความหมายในตัวเองมากที่สด ุ ุ
  • 6. ดังที่กล่าวมาแล้วว่าการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์นั้น เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึก เช่น เทปแม่เหล็ก แผ่นบันทึก หรือจาน แม่เหล็ก โดยที่ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้น ในการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลจึงต้องกาหนดรูปแบบหรือ โครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ตรงกัน โดยโครงสร้างของข้อมูลจะประกอบด้วย 5 ลาดับ ดังนี้ (1) บิต (Bit) ดังที่เคยกล่าวไปแล้วว่า บิต คือตัวเลขโดดใน ระบบเลขฐานสอง ซึ่งมีค่าได้เพียง 0 หรือ 1 บิต เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ในการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ (2) ตัวอักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักขระแต่ละตัว ซึ่งอาจ เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใด ๆ การแทนตัวอักขระแต่ละตัวใน คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐานสองจานวน 8 บิต ซึ่งเราเรียกอีกอย่างว่า “ไบต์” (Byte) (3) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยข้อมูลหน่วยหนึ่งที่ กาหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลแต่ละเขต ประกอบด้วยตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป (4) ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึงกลุ่มของเขตข้อมูลที่มี ความเกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไป (5) แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนข้อมูลแบบ เดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป
  • 7. เนื้อหา ข้อมูล ลักษณะของข้อมูล รหัสลูกค้า 832501 ตัวอักษร 6 ตัว ชื่อลูกค้า บริษัท ร่วมค้า จากัด ตัวอักษร 30ตัว ที่อยู่ 235/8 ถนนเพชรบุรี ตัวอักษร 30ตัว โทรศัพท์ 2253581 ตัวอักษร 7ตัว หนี้ค้างชาระ 4000 ตัวอักษร 8ตัว การมองลักษณะของเอนทิตดังได้กล่าวนี้อาจมองในรูปแบบ ี ของแฟ้มข้อมูลก็ได้ รายละเอียดของข้อสนเทศที่จะนามาใช้ได้ต้องประกอบด้วย เนื้อหา ข้อมูล และลักษณะของข้อมูล สาหรับลักษณะของข้อมูลในแฟ้มข้อมูล เรียกว่า โครงสร้างแฟ้ม (file structure) ส่วนตัวข้อมูลที่เก็บนี้จะเป็นข้อมูลที่เก็บไว้ ในหน่วยความจานั่นเอง การจัดเก็บข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ถือว่ามีประสิทธิภาพ คือ การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลน้อยที่สด และจะต้องเรียกค้นหาข้อมูลได้ง่าย ุ ดังนั้นจึงมีการแบ่งเอนทิตีออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อใช้เรียกข้อมูลย่อย ส่วนย่อยของ เอนทิตีนี้เรียกว่า เขตข้อมูล (field) ดังตัวอย่างโครงสร้างแฟ้ข้อมูลลูกค้าใน
  • 8. เนื้อหา ลักษณะของข้อมูล ข้อมูล จานวน ชื่อเขตข้อมูล ความหมาย ชนิด ตัวอักษร IDNO รหัสลูกค้า 832501 ตัวอักษร 6 NAME ชื่อลูกค้า บริษัท ร่วมค้า ตัวอักษร 30 ADDR ที่อยู่ 235/8 ถนนเพชรบุรี ตัวอักษร 30 TELNO โทรศัพท์ 2253581 ตัวอักษร 7 DEBT หนี้ค้างชาระ 4000 ตัวเลข 8 เมื่อนาเขตข้อมูลทั้งหมดของแฟ้มมาวางเรียงกัน จะเกิด รูปแบบที่ทางคอมพิวเตอร์มองเห็น เรียกว่า ระเบียน (record) ซึ่งสามารถ ใช้เป็นเครื่องบ่งบอกถึงโครงสร้างของแฟ้มนั้นได้ เช่น แฟ้มลูกค้า มี โครงสร้างระเบียนตามตารางที่ 3.5
  • 10. รูปที่ 3.4 ตัวอย่างโครงสร้างข้อมูลในระบบฐานข้อมูลที่สัมพันธ์กัน โครงสร้างข้อมูลในฐานข้อมูลตามรูปที่ 3.4 ประกอบด้วย 3 แฟ้ม ในแต่ละแฟ้มมีความสัมพันธ์ถึงกัน เช่น ข้อมูล ในแฟ้มนักเรียนจะมีส่วนที่เป็นกุญแจที่ชี้บอกความสัมพันธ์กับแฟ้ม อาจารย์ว่าอาจารย์ประจาชั้นชื่ออะไร กรณีทการหาข้อมูลของนักเรียน เช่น นักเรียน ี่ รหัสประจาตัว 008 มีชื่อว่าอะไร มีใครเป็นอาจารย์ประจาชั้น และ เรียนวิชาอะไร ลักษณะการค้นหาคือ ค้นหาในแฟ้มนักเรียนทีละ ระเบียนจนพบระเบียนที่มระรหัสเป็น 008 ก็จะทราบชื่อนักเรียนและ ี มีกุญแจที่เป็นตัวชี้ว่าข้อมูลนี้สัมพันธ์กบข้อมูลในแฟ้มอาจารย์ ทาให้ ั โยงต่อว่าอาจารย์ชื่ออะไร และจะทราบกุญแจซึ่งเป็นตัวชี้ว่าอาจารย์ สอนวิชาอะไร เป็นต้น การค้นหาข้อมูลที่มีกุญแจเป็นตัวชี้ข้อมูลจะ ทาให้เราเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น
  • 11. การแบ่งประเภทแฟ้ม ในการเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ในรูปแบบแฟ้มนั้น ต้องประกอบด้วยเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตรวมกันเป็นระเบียน การ เก็บและการเรียกข้อมูลจะกระทาทีละระเบียน การแบ่งประเภท ของแฟ้มจึงมักแบ่งแยกตามรูปแบบลักษณะการเรียกค้นหา ซึง ่ แบ่งออกเป็น 3 แบบด้วยกันคือ แฟ้มลาดับ (sequential file) แฟ้มสุ่ม (random file) และ แฟ้มดัชนี (index file) ดังนี้ 1) แฟ้มลาดับ เป็นแฟ้มที่มีโครงสร้างการเก็บข้อมูล แบบพื้นฐานที่สุด กล่าวคือ เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลลงในแฟ้มทีละ ระเบียน ข้อมูลจะเข้าต่อท้ายเรียงกันไป ในการย้ายข้อมูลก็จะอ่าน ข้อมูลที่ละระเบียน เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายอาจเปรียบเทียบได้กับการ เก็บข้อมูลเพลงในเทปคาสเซต ซึ่งสมมติว่าในม้วนเทปหนึ่งมีการ เก็บเพลงได้ 10 เพลง ความยาวเพลงละ 3 นาที ซึ่งหากต้องการ ค้นหาเพลงใดก็ต้องเริ่มต้นจากเพลงแรกไปเป็นลาดับจนกว่าจะ พบ
  • 12. 2) แฟ้มสุ่ม เป็นแฟ้มที่มีคุณสมบัติทผู้ใช้สามารถ ี่ อ่านหรือเขียนที่ตาแหน่งใด ๆ ก็ได้โดยไม่ต้องเรียงลาดับจากต้น แฟ้ม เช่น กรณีของการเก็บข้อมูลเพลงในเทปคาสเซต ถ้าต้องการ อ่นเพลงที่ 5 ก็จะคานวณความยาวของสายเทป เพื่อให้มีการเคลื่อน สายเทปไปยังตาแหน่งที่ต้องการแล้วจึงเริ่มอ่าน กรณีนี้จะทาได้เร็ว กว่าสแบบลาดับ 3) แฟ้มแบบดัชนี แฟ้มแบบนี้จาเป็นต้องมีการ จัดเรียงข้อมูลในเขตข้อมูลที่เป็นดัชนีเสียก่อน เพื่อประโยชน์ในการ ค้นหา การหาตาแหน่งในการเขียนการอ่านในระเบียนที่ต้องการปกติ จะใช้ข้อมูลที่เป็นกุญแจสาหรับการค้นหา เพื่อความสะดวกในการ กาหนดตาแหน่งการเขียนอ่าน ดังตัวอย่างเช่น ถ้าใช้ชื่อเพลงเป็น กุญแจสาหรับการค้นหา จะมีการเก็บชื่อเพลงโดยมีการจัดเรียงตาม ตัวอักษร เมื่อค้นหาชื่อเพลงได้ ก็ได้ลาดับเพลง ซึ่งสามารถนาไป คานวณหาตาแหน่งที่ต้องการเขียนอ่านได้ต่อไป
  • 13. การเรียนรู้ที่ 2 ชนิดข้อมูลและประเภทของแฟ้มข้อมูล ประเภทของแฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูลหลัก (master file)แฟ้มข้อมูลหลักเป็น แฟ้มข้อมูลทีบรรจุข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับระบบงาน และเป็น ่ ข้อมูลหลักทีเก็บไว้ใช้ประโยชน์ข้อมูลเฉพาะเรื่องไม่มีรายการ ่ เปลี่ยนแปลงในช่วงปัจจุบัน มีสภาพค่อนข้างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงหรือ เคลื่อนไหวบ่อยแต่จะถูกเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการสิ้นสุดของข้อมูล เป็น ข้อมูลที่สาคัญที่เก็บไว้ใช้ประโยชน์ ตัวอย่าง เช่น แฟ้มข้อมูลหลักของ นักศึกษาจะแสดงรายละเอียดของนักศึกษา ซึ่งมี ชื่อนามสกุล ที่อยู่ ผลการศึกษา แฟ้มข้อมูลหลักของลูกค้าในแต่ละระเบียนของ แฟ้มข้อมูลนีจะแสดงรายละเอียดของลูกค้า เช่น ชื่อสกุล ที่อยู่ หรือ ้ ประเภทของลูกค้า
  • 14. 6.2 แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเป็นแฟ้มข้อมูลที่ประกอบด้วย ระเบียนข้อมูลที่มีการเคลื่อนไหว ซึ่งจะถูกรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล รายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละงวดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูลนั้น แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงนี้จะนาไปปรับรายการใน แฟ้มข้อมูลหลัก ให้ได้ยอดปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น แฟ้มข้อมูล ลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา 6.3 แฟ้มข้อมูลตาราง (table file)แฟ้มข้อมูลตารางเป็น แฟ้มข้อมูลทีมีค่าคงที่ ซึ่งประกอบด้วยตารางที่เป็นข้อมูลหรือชุดของ ่ ข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันและถูกจัดให้อยู่รวมกันอย่างมีระเบียบ โดยแฟ้มข้อมูลตารางนี้จะถูกใช้ในการประมวลผลกับแฟ้มข้อมูลอื่น เป็นประจาอยู่เสมอ เช่น ตารางอัตราภาษี ตารางราคาสินค้า
  • 15. ตัวอย่างเช่น ตารางราคาสินค้าของบริษัทขายอะไหล่ เครื่องคอมพิวเตอร์ดังนี้ รหัสสินค้า รายชื่อสินค้า ราคา 51 จอภาพ 4,500 52 แป้นพิมพ์ 1,200 53 แรม 4 M 4,500 54 แรม 8 M 7,000 55 กระดาษต่อเนื่อง 500 56 แฟ้มคอมพิวเตอร์ 200
  • 16. ในแฟ้มข้อมูลนี้จะประกอบด้วยระเบียนแฟ้มข้อมูล ตารางของสินค้าที่มีฟลด์ต่าง ๆ ได้แก่ รหัสสินค้า รายชื่อ สินค้า และราคา ิ สินค้าต่อหน่วย แฟ้มข้อมูลตารางรายการสินค้า จะใช้ร่วมกับแฟ้มข้อมูลหลาย แฟ้มข้อมูลในระบบสินค้า ได้แก่ แฟ้มข้อมูลคลังสินค้า (inventory master file) แฟ้มข้อมูลใบสั่งซื้อของลูกค้า (customer order master file) และ แฟ้มข้อมูลรายการสิตค้าของฝ่ายผลิต (production master file) มีข้อควร สังเกตว่าแฟ้มข้อมูลตาราง แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง และแฟ้มข้อมูล หลัก ทั้ง 3 แฟ้ม จะมีฟิลด์ที่เกี่ยวกับตัวสินค้าร่วมกัน คือ ฟิลด์รหัสสินค้า (product code) ฟิลด์ร่วมกันนี้จะเป็นตัวเชื่องโยงระหว่างแฟ้มข้อมูลตาราง กับฟ้มข้อมูลอื่น ๆ ทั้งหมดที่ต้องการจะใช้ค่าของฟิดล์รายชื่อสินค้า (product description) และราคาสินค้า (product price) จากแฟ้มข้อมูล ตาราง การจัดแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะทาให้ประหยัดเนื้อที่ในอุปกรณ์เก็บข้อมูล ของแฟ้มข้อมูลหลัก กล่าวคือในแฟ้มข้อมูลหลักไม่ต้องมี 2 ฟิลด์ คือ ฟิลด์ รายการสินค้าและฟิลด์ราคาสินค้า มีแต่เพียงฟิลด์รหัสสินค้าก็เพียงพอแล้ว เมื่อใดที่ต้องการใช้ฟิลด์รายการสินค้าในการแสดงผลก็อ่านค่าออกมาจาก แฟ้มข้อมูลตารางได้ นอกจากนั้นยังเป็นการลดความซ้าซ้อนของข้อมูลและ เมื่อผู้ใช้ระบบต้องการเปลี่ยนแปลงรายการสินค้าหรือราคาสินค้าก็จะเปลี่ยน ในแฟ้มข้อมูลตารางทีเดียว โดยไม่ต้องไปเปลี่ยนแปลงในแฟ้มข้อมูลอื่น
  • 17. การออกแบบตาราง(TABLE) หมายถึง การออกแบบโครงสร้างข้อมูลเพื่อกาหนด ข้อมูลแต่ละชนิดหรือแต่ละฟิลด์ (Field) ให้กับการบันทึกข้อมูลแต่ละ รายการ (Record) ในการเก็บข้อมูลดิบ (Input Data) ที่จะนาไปใช้ ในการประมวลผลข้อมูลต่อไป ดังนั้นการสร้าง Table จึงเป็นส่วนแรก ของแฟ้มข้อมูลในการออกแบบฐานข้อมูลที่จะนาไปใช้ในส่วนอื่น ๆ ต่อไป ขั้นตอนการออกแบบ - เลือก เมนู Table (ตาราง) - เลือก New (สร้างใหม่) เลือกประเภทการออกแบบให้ เลือกดังต่อไปนี้
  • 18. ประเภทการ ความหมาย ออกแบบ สร้างตารางใน การสร้างตารางที่ผออกแบบเป็นผู้กาหนดโครงสร้างข้อมูลขึ้นด้วยตนเอง ก่อนที่ ู้ มุมมองออกแบบ จะเริ่มบันทึกข้อมูลลงใน Table สร้างตารางโดยใช้ การสร้างตารางที่ตองการตัวช่วยสร้าง (Wizard) ในการออกแบบตาราง ้ ตัวช่วยสร้าง การสร้างตารางที่ผออกแบบสามารถป้อนข้อมูลได้ทันที โดยไม่ต้องออกแบบ ู้ สร้างตารางโดยการ โครงสร้างข้อมูลก่อน โปรแกรมจะกาหนดโครงสร้างตามชนิดของข้อมูลที่ป้อนเข้า ป้อนข้อมูล ไป
  • 19. ในหน่วยนี้จะกล่าวเฉพาะกรณีผออกแบบกาหนดเอง ดังนั้นหลังจาก ู้ เลือก สร้างตารางในมุมมองออกแบบ ก็จะปรากฏเมนูการออกแบบ โครงสร้างตาราง
  • 21. จากรูปจะเห็นว่าโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ อาจจะมีการ เรียกใช้แฟ้มข้อมูลร่วมกัน ซึ่งทาให้โอกาสทีจะเกิด ข้อผิดพลาด (Error) มี ่ มากขึ้น หากไม่มีการควบคุมการใช้แฟ้มทีดี ดังนั้นปัญหาอาจจะเกิดขึ้นได้ ่ หลายประการเช่น 1. การซ้าซ้อน และการสับสนของข้อมูล (Data Redundancy and confusion) 2. ข้อมูลและโปรแกรมขึ้นต่อกัน (Program-data dependence) 3. ขาดความยืดหยุ่น (Lack of flexibility) 4. ขาดความปลอดภัยของข้อมูล (Poor security) 5. ข้อมูลขาดความสะดวกในการใช้และการแบ่งปันกัน (Lack of data sharing and availability)
  • 22. การเรียนรู้ที่ 3 ลักษณะการประมวลผลข้อมูล ลักษณะการประมวลผลข้อมูล ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการ ประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมถูกต้อง จนได้รูปแบบผลลัพธ์ ตรงความ ต้องการของผู้ใช้ ข้อมูลที่จะนามาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐาน ดังต่อไปนี้ ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะ ทาให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่ง เป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และมีโอกาสผิดพลาด ได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วน ใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้
  • 23. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทนต่อความ ั ต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ เหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงาน ตามความ ต้องการของผู้ใช้ ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมและวิธีการ ทางปฏิบัติ ในการดาเนินการจัดทาสารสนเทศ ต้องสารวจและสอบถามความต้องการ ของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มความสมบูรณ์เหมาะสม ี ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล มาก จึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด สือความหมายได้ มีการใช้ ่ รหัสหรือย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องสาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจ เพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือ ความกว้างของขอบเขตข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ
  • 24. ในการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะ นาไปใช้ประโยชน์ได้ จาเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผล ข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ การรวบรวมข้อมูล การแยกแยะ การตรวจสอบความถูกต้อง การคานวณ การจัดลาดับหรือการเรียงลาดับ การรายงานผล การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มความสาคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ ี รอบๆ ตัวเรามีเป็นจานวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้ เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วย กิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคานวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทาสาเนา ทา รายงาน เพื่อแจกจ่าย
  • 25. หน่วยข้อมูล (DATA UNITS) · บิต (bit) เลขฐานสองหนึ่งหลักซึ่งมีค่าเป็น 0 หรือ 1 · ตัวอักษร (character) กลุ่มของบิตสามารถแทนค่าตัวอักษรได้ ในชุดอักขระ ASCII 1 ไบต์(8 บิต) แทนตัวอักษร 1 ตัว · เขตข้อมูล หรือฟิลด์ (field) เขตข้อมูลซึ่งประกอบด้วยกลุ่มตัวอักษรที่แทน ข้อเท็จจริง · ระเบียน (record) ระเบียน คือโครงสร้างข้อมูลที่แทนตัววัตถุชิ้นหนึ่ง · แฟ้ม (file) ตารางที่เป็นกลุ่มของระเบียนที่มีโครงสร้างเดียวกัน · ฐานข้อมูล (database) กลุ่มของตาราง (และความสัมพันธ์)
  • 26. ชนิดของข้อมูล (DATA TYPES) · ค่าตรรกะ (Boolean values) ซึ่งมีเพียงสองค่าคือ จริง กับ เท็จ · จานวนเต็ม (integers) หมายถึง เลขที่ไม่มีเศษส่วน หรือทศนิยม · จานวนจริง (floating-point numbers) หมายถึง จานวนใดๆ ทั้งจานวนเต็ม และจานวนทศนิยม · ตัวอักษร (characters) หมายถึง ข้อมูลประเภทตัวอักษรเพียงตัวเดียว · สายอักขระ (strings) หมายถึง กลุ่มตัวอักษรที่ประกอบกันขึ้นเป็นข้อความ · วันที่และเวลา (date/time) หมายถึง ข้อมูลที่แทนค่าวันที่และเวลา · ไบนารี (binary) หมายถึง ข้อมูลที่เก็บในคอมพิวเตอร์ อาจเป็นแฟ้มโปรแกรม รูปภาพ หรือ วิดีโอ
  • 27. ประเภทของแฟ้มข้อมูล · แฟ้มหลัก (master files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือ โดยทั่วไป แฟ้มหลักจะเก็บข้อมูลถาวร หรือกึ่งถาวร หรือข้อมูลที่เป็นประวัตศาสตร์ ิ · แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (transaction files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูลรายการ เปลี่ยนแปลง เก็บสะสมรวบรวมไว้ เพื่อนามาประมวลผลและนาไปปรับปรุงแฟ้มหลักอีกทีหนึ่ง ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (DATA PROCESSING) · การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่าง ช่วงเวลาที่กาหนด เมื่อถึงกาหนด ข้อมูลทีสะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้ง ่ เดียว · การประมวลผลแบบทันที (real-time processing) การประมวลผลแบบทันที เป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล
  • 28. การเข้าถึงข้อมูล · การเข้าถึงแบบลาดับ เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบที่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น จนถึงข้อมูลที่ตองการเหมาะสาหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมาก และเรียงลาดับ แต่ ้ ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีการเพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเป็นประจา · การเข้าถึงแบบสุ่ม เป็นการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่ต้องอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น การเข้าถึงข้อมูลลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตาแหน่งระเบียน วิธีต่างๆ เหมาะ สาหรับการค้นหาข้อมูลจานวนไม่มาก และเหมาะสาหรับแฟ้มที่มีการเพิ่ม ลบ และ แก้ไขเป็นประจา การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (FILE ORGANIZATION) การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบต่างๆ มีลักษณะเฉพาะตัวในการเข้าถึงข้อมูล มี ดังนี้
  • 29. ระบบแฟ้มข้อมูล (FILE SYSTEMS) ข้อดีคือ การประมวลผลข้อมูลมีความรวดเร็ว การลงทุนในส่วนของเครื่อง คอมพิวเตอร์และโปรแกรมประยุกต์ใช้งานก็ไม่ยุ่งยาก เนื่องจากไม่ต้องการระบบที่ใหญ่ อย่างไรก็ตามการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะนี้อาจมีปัญหาที่เกิดขึ้นได้ดังต่อไปนี้ · ความซ้้าซ้อนของข้อมูล (data redundancy) · ความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล (data inconsistency) · ข้อมูลแยกอิสระต่อกัน (data isolation) · ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล (poor security) · ขาดบูรณภาพของข้อมูล (lack of data integrity) · ความขึ้นต่อกันระหว่างโปรแกรมประยุกต์กบโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล (application / ั data dependence)
  • 30. การเรียนรู้ที่ 4 แฟ้มโปรแกรมและแฟ้มข้อมูล ประเภทของแฟ้มข้อมูล (File Type) เราสามารถจ้าแนกแฟ้มข้อมูลออก ตามลักษณะของข้อมูลที่เก็บบันทึกไว้และสามารถแบ่งแฟ้มข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท ใหญ่ๆ คือ 1. แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลซึ่งเก็บข้อมูลที่ส้าคัญ เช่น แฟ้มข้อมูลประวัติ ลูกค้า (Customer master file) ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น แฟ้มข้อมูลประวัตผู้จัดส่งสินค้า (Supplier master file) แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ ิ (Inventory master file) แฟ้มข้อมูลบัญชี (Account master file) เป็นต้น ซึ่งแฟ้มข้อมูลหลักเหล่านี้เป็นส่วนประกอบของระบบงานบัญชี (Account system) 2. แฟ้มรายการปรับปรุง (Transaction file) เป็นแฟ้มที่บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ แฟ้มข้อมูลหลักทีมีการเปลียนแปลงในแต่ละวัน รายการที่เกิดขึ้นต้องน้าไปปรับปรุงกับ ่ ่ แฟ้มข้อมูลหลักเพื่อให้แฟ้มข้อมูลหลักมีข้อมูลที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
  • 31. การปรับปรุงแฟ้มข้อมูลสามารถท้าได้หลายอย่าง เช่น การเพิ่มรายการ (Add record) การลบรายการ (Delete record) และการแก้ไขรายการ (Edit) การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล (File organization) มีวิธีการจัดได้หลายประเภท เช่น 1. การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลแบบตามลาดับ (Sequential File organization) ลักษณะการจัดข้อมูลรายการจะเรียงตามฟิลด์ทก้าหนด (Key ี่ field) เช่น เรียงจากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อยหรือเรียงตามตัวอักษร โดย ส่วนมากมักจะใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อในการเก็บข้อมูลซึ่งการเก็บโดยวิธีนี้จะมีทั้งข้อดีและ ข้อเสีย
  • 32. ข้อดี ข้อเสีย 1. เสียเวลาในการปรับปรุงในกรณีที่มีรายการ ปรับปรุงน้อยเพราะ 1. เป็นวิธีที่เข้าใจง่าย เพราะการเก็บจะเรียงตาม ลาดับ จะต้องอ่านทุกรายการจนกว่า จะถึงรายการที่ต้องการปรับปรุง 2. ประหยัดเนื้อที่ในการเก็บ และง่ายต่อการสร้าง แฟ้ม 2. ต้องมีการจัดเรียงข้อมูลที่เข้ามาใหม่ให้อยู่ในลาดับ เดียวกันใน ใหม่ แฟ้มข้อมูลหลักก่อนที่จะประมวลผล ตารางแสดงข้อดีและข้อเสียในการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลตามล้าดับ
  • 33. 2. การจัดระเบียนแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือแบบสุม (Direct or ่ random file organization) โดยส่วนมากมักจะใช้จานแม่เหล็ก (Hard disk) เป็นหน่วยเก็บข้อมูล การบันทึกหรือการเรียกข้อมูลขึ้นมาสามารถเรียกได้โดยตรง ไม่ต้อง ผ่านรายการอื่นก่อน เราเรียกวิธีนี้ว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct access) หรือการเข้าถึงโดยการสุ่ม (Random Access) การค้นหาข้อมูลโดยวิธีนี้จะเร็วกว่า แบบตามล้าดับ ทังนี้เพราะการค้นหาจะก้าหนดดัชนี (Index) จะนั้นจะวิ่งไปหาข้อมูลที่ ้ ต้องการหรืออาจจะเข้าหาข้อมูลแบบอาศัยดัชนีและเรียงล้าดับควบคู่กน (Indexed ั Sequential Access Method (ISAM) โดยวิธีนี้จะก้าหนดดัชนีที่ต้องการ ค้นหาข้อมูล เมื่อพบแล้วต้องการเอาข้อมูลมาอีกกี่ รายการก็ให้เรียงตามล้าดับของ รายการที่ต้องการ ซึ่งการเก็บโดยวิธีนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
  • 34. ข้อดี ข้อเสีย 1. สิ้นเปลืองเนื้อที่ในหน่วยสารองข้อมูล 1. สามารถบันทึก เรียกข้อมูล และปรับปรุงข้อมูลที่ ต้องการได้ โดยตรง ไม่ต้องผ่านรายการที่อยู่ก่อนหน้า 2. ต้องมีการสารองข้อมูลเนื่องจากโอกาสที่ข้อมูล จะมีปัญหาเกิดได้ง่ายกว่า 2. ในการปรับปรุงและแก้ข้อมูลสามารถทาได้ทันที แบบตามลาดับ ตารางแสดงข้อดีและข้อเสียในการจัดแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือสุ่ม
  • 35. การจัดการแฟ้มข้อมูล (File Management) ในอดีตข้อมูลที่จัดเก็บไว้จะอยู่ใน รูปของแฟ้มข้อมูลอิสระ (Conventional File) ซึ่งระบบงานแต่ละระบบก็จะสร้าง แฟ้มของตนเองขึ้นมาโดยไม่เกียวข้องสัมพันธ์กน เช่น ระบบบัญชี ที่สร้างแฟ้มข้อมูลของ ่ ั ตนเอง ระบบพัสดุคงคลัง (Inventory) ระบบการจ่ายเงินเดือน(Payroll) ระบบออก บิล (Billing) และระบบอื่นๆต่างก็มีแฟ้มข้อมูลเป็นของตนเอง หากมีการปรับปรุงแก้ไขก็ จะท้าเฉพาะส่วนจึงท้าข้อมูลขององค์การ บางครังเกิดสับสนเนื่องจากข้อมูลขัดแย้งกันและ ้ ในบางองค์การอาจจะมีการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาทีเ่ ขียนที่ต่างกัน เช่นภาษาโคบอล (COBOL language) ภาษาอาร์พีจี(RPG) ภาษาปาสคาล (PASCAL) หรือ ภาษาซี (C language) ซึ่งมีลักษณะของแฟ้มข้อมูลที่สร้างด้วยภาษาที่ต่างกันก็ไม่ สามารถจะใช้งานร่วมกันได้ จึงท้าให้องค์การเกิดการสูญเสียในข้อมูล ดังนั้นก่อนที่ องค์การจะน้าคอมพิวเตอร์มาใช้จะต้องมีการวางแผนถึงระบบการบริหารแฟ้มข้อมูล การ แบ่งประเภทของแฟ้มข้อมูลและการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล การบริหารแฟ้มข้อมูลจะต้องมีการก้าหนดโปรแกรมที่จะพัฒนาขึ้นมาว่าจะใช้ภาษาอะไร มีหน่วยงานใดต้องใช้ ต้องการข้อมูลอะไร ข้อมูลที่แต่ละแผนกต้องการซ้้ากันหรือไม่ หรือมี ข้อมูลอะไรทีขาดหายไปและข้อมูลฟิลด์ไหนที่จะใช้เป็นคีย์ในการค้นหาข้อมูล เช่น การสร้าง ่ แฟ้มประวัติลูกค้า
  • 37. วิธีการประมวลผล 1. การประมวลผลแบบชุด (Batch Processing) คือ การ ประมวลผลโดยผู้ใช้จะท้าการรวบรวมเอกสารทีต้องการประมวลผลไว้เป็นชุดๆ ซึ่ง ่ แต่ละชุดอาจจะก้าหนดเท่ากับเอกสาร 10 หรือ 20 รายการหรือมากกว่าก็ได้แต่ให้ มีขนาดเท่ากัน แล้วป้อนข้อมูลดังกล่าวสูเ่ ครืองคอมพิวเตอร์ จากนันจึงใช้ค้าสั่งให้ ่ ้ ประมวลผลพร้อมกันทีละชุดตัวอย่าง บริษัทหนึ่งอาจจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ ่ ออกบิลโดยมีการรวบรวมใบสั่งซื้อจากลูกค้าภายในหนึ่งวันจากแผนกขาย จากนันก็ ้ ส่งให้แผนกคอมพิวเตอร์ท้าการป้อนข้อมูลและตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูล ก่อนที่จะเก็บบันทึกไว้ จากนั้นก็จะน้าข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล ซึ่งอาจจะต้อง อาศัยแฟ้มข้อมูลอื่นๆ มาประกอบการประมวลผล เช่น แฟ้ม ข้อมูลสินค้าคงเหลือ แฟ้มข้อมูลลูกหนี้ กรณีลกค้าซื้อเงินเชื่อและแฟ้มประวัติลูกค้า เป็นต้น จากนั้นก็จะน้า ู ข้อมูล ดังกล่าวไปประมวลผล ซึ่งอาจจะต้องอาศัยแฟ้มข้อมูลอื่นๆ มาประกอบการ ประมวลผล เช่น แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ แฟ้ม ข้อมูลลูกหนี้ กรณีลูกค้าซือ เงินเชื่อ ้ และแฟ้มประวัตลูกค้า เป็นต้น จากนั้นจึงออกบิลเพื่อส่งต่อให้กับผู้ขายเพื่อเบิกสินต้า ิ ที่แผนกพัสดุ สินค้าหรือโกดัง (Warehouse) พิจารณา แสดงข้อดีและข้อเสีย ของการประมวลผลแบบชุด
  • 39. ้้ข้อดีของการทางานแบบชุด ข้อเสียของการทางานแบบชุด 1. เหมาะสาหรับบริษัทที่มีขนาดใหญ่ มีปริมาณงาน มากแต่ไม่ จาเป็นต้องบริการข้อมูลทันทีทันใด 1. เสียเวลาในการข้อมูลที่ต้องการทันทีทันใด อาจจะไม่ทันสมัย(Update) เนื่องจาก การประมวลผลข้อมูลจะทาเป็นช่วงๆ ปรับปรุงในกรณีที่มีรายการ ปรับปรุงน้อย เพราะจะต้องอ่านทุกรายการจนกว่า จะถึงรายการที่ต้องการปรับปรุง 2. เสียเวลาในการรวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบ ก่อนจะทาการ ประมวลผล 2. ง่ายต่อการตรวจสอบ หากข้อมูลผิดพลาด สามารถตรวจสอบเฉพาะ ชุดของข้อมูลที่ผิดพลาด ตารางที่ 5.4 แสดงข้อดีและข้อเสียของการประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive)
  • 40. 2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive) หมายถึง การทางานในลักษณะที่มีการ โต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา เช่น กรณีที่ลูกค้า นาย วัลลภ คลองหก จากบริษัทราชมงคล จากัด ติดต่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์จากแผนกขาย เจ้าหน้าที่พนักงานขาย จะต้องป้อนรหัสลูกค้าเพื่อเรียกประวัตินายวัลลภขึ้นมาพิจารณาว่าในขณะนี้ได้สั่งซื้อสินค้าเกินวงเงินเครดิตหรือไม่ ถ้าไม่ เกินก็อนุมัติการขายแต่ถ้าหากเกินก็อาจจะให้ชาระเป็นเงินสด จากนั้นจะมีการตรวจสอบแฟ้มสินค้าคงคลังว่ามีสินค้า ดังกล่าวหรือไม่เพื่อตัดสต็อก (Stock) แล้วพิมพ์บิลเพื่อจัดส่งให้ลูกค้า แสดงการทางานการออกบิลโดยการ ประมวลผลแบบโต้ตอบ
  • 42. การเรียนรู้ที่ 5 ชนิดของโครงสร้างข้อมูล 1. ความหมายของโครงสร้างข้อมูล โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทีอยู่ใน ่ โครงสร้างนั้นๆ รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง เช่น เพิ่ม แก้ไข ลบ ตัวอย่างของโครงสร้างข้อมูลประเภทต่างๆ ได้แก่ แถวลาดับ ลิงลิสต์ สแตก คิว ทรี และกราฟ. 2. ประเภทของโครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
  • 44. 1.ข้อมูลเบื้องต้น (Primitive Data Types) - จานวนเต็ม (Integer) - จานวนทศนิยม (Floating point) - ข้อมูลบูลีน (Boolean) - จานวนจริง (Real) - ข้อมูลอักขระ (Character) 2.ข้อมูลโครงสร้าง (Structure Data Types) - แถวลาดับ (Array) - ระเบียนข้อมูล (Record) - แฟ้มข้อมูล (File)
  • 45. การออกแบบระบบ เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถที่จะเข้าใจและแกไขปัญหา บางอย่างได้ จึงต้องมีวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาโดยการออกแบบระบบ ซึ่งเป็นการ วางแผนออกแบบที่แยกแยะออกเป็นปัญหาย่อย และพิจารณาสร้างชุดค้าสั่งเพื่อแก้ไข ปัญหาย่อยนั้น จากนั้นมารวมกันเป็นระบบที่สามารถแก้ไขปัญหาทั้งหมด มีลกษณะ ั การวางแผนออกแบบจากบนลงล่าง (Top-down Design) ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ๆ คือ 1. โครงสร้างข้อมูล (Data Strutcure) ใช้ควบคุมและจัดการ กับข้อมูลของปัญหานั้น ๆ หรือที่เรียกว่าชนิดข้อมูลมีโครงสร้าง เรียกสั้น ๆ ว่าชนิด ข้อมูล เช่น ชนิดข้อมูลอาร์เรย์ ชนิดข้อมูลสแตก และชนิดข้อมูลลิงค์ ลิสต์ การ ้ ออกแบบระบบต้องเลือกใช้โครงสร้างข้อมูลอย่างเหมาะสมเพื่อจัดการกับข้อมูลที่ใช้ใน ระบบ 2. การออกแบชุดคาสั่ง (Module Design) ในการแก้ไข ปัญหาจะต้องมีกระบวนการท้างานเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารหรือเอ้าท์พุต ที่ ต้องการโดยชุดค้าสั่งเป็นส่วนประกอบของระบบ จึงต้องมีการออกแบบการท้างานที่ เป็นชุดค้าสั่งหรือโมดุลนั้นๆ และเรียกว่า อัลกอรึทึม ได้เป็น
  • 46. การทีจะเลือกใช้โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมในการออกแบบให้การท้างานอย่สงมี ่ ประสิทธิภาพ ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจส้าคัญของการออกแบบซอฟต์แวร์จะพิจารณาได้จากลักษณะ ดังต่อไปนี้ ความถูกต้อง ระยะเวลาการท้างาน จ้านวนพื้นที่ใช้งาน ความเรียบง่าย ความเหมาะสมที่สุด การเขียนคาสั่งและรวมกัน การเขียนคาสั่ง (Coding) คือ การเขียนค้าสั่งต่าง ๆ ของโปรแกรมให้ท้างาน เป็นไปตามโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทมด้วยภาษาเขียนโปรแกรมภาหนึ่ง ถ้าโครงสร้างข้อมูล ึ และอัลกอริทมถูกออกแบบไว้เป็นอย่างดีท้าให้กระบวนการแปลงค้าสั่งจากภาษาเขียนให้เป็น ึ ภาษาเครื่องก็จะง่ายไม่ยุ่งยากล้าบาก การรวมกัน (Integration) เป็นกระบวนการน้าค้าสั่งต่าง ๆ ที่เขียนเป็นแต่ ละชุดค้าสั่งมารวมกันและให้มีการท้างานร่วมกันได้เป็นซอฟต์แวร์โปรแกรมขึ้นมา การเขียนโปรแกรมที่ดีนั้นจะต้องมีความถูกต้องในการท้างาน สามารถอ่านค้าสั่ง และท้าความเข้าใจได้ง่าย จึงต้องมีโครงสร้างการเขียนโปรแกรมที่ดี ซึ่งมีวิธีการเข้ามาช่วยเหลือ ในการเขียนโดยพิจารณาได้จากเรื่องต่อไปนี้
  • 47. 1. การเขียนโปรแกรมควรเป็นแบบบนลงล่าง (Top-Down) โดยเฉพาะกับปัญหาที่มีขนาดใหญ่หรือมีความซับซ้อน จึงควรแยกปัญหาใหญ่ ออกเป็นปัญหาย่อย ๆ จากการเขียนค้าสั่งทั้งหมดในโปรแกรม ก็แยกเป็นชุดค้าสั่ง ย่อย ๆ 2. ใช้โครงสร้างควบคุมการท้างาน (Control Structure) ใน การเขียนโปรแกรมหรือชุดค้าสั่ง เช่น การใช้เงื่อนไข IF การใช้วนลูปแบบต่าง ๆ 3. ควรใช้ตัวแปรที่เป็นแบบโลคอล (Local Variable) และใช้กับ ชุดค้าสั่งเพื่อแก้ปัญหาย่อย 4. ควรใช้ตัวแปรพารามิเตอร์ (Parameter) กับชุดค้าสั่งเพือ ่ แก้ไขปัญหาย่อย หลีกเลี่ยงที่จะใช้ตัวแปรที่เป็นแบบโกลบอล และตัวพารามิเตอร์ควรมี การป้องกันหากมีการแก้ไขค่า 5. น้าตัวแปรค่าคงที่ ( Constant Variable) มาใช้ จะช่วยให้ การเขียนโปรแกรมมีความยืดหยุ่นมากขึ้นและอ่านเข้าใจง่าย 6. การเขียนโปรแกรมควรมีการจัดพื้นที่หรือบรรทัดว่างเพื่อให้อาน่ สะดวก มีการย่อหน้าเพื่อจัดระดับของค้าสั่งและมีลกษณะที่เป็นกรอบ ั
  • 48. การท้างานของคอมพิวเตอร์จะมีการจัดการอย่างไรเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสาร และ ความหมายโครงสร้างข้อมูล/ชนิดาข้อมูล ปแบบต่าง ๆ ที่ท้าความเข้าใจได้ แต่ สามารถน้ามาใช้งานออกมาเป็นข้อมูลข่ วสารในรู เนื่องจากคอมพิวเตอร์เป็นเพียงเครื่องจักรที่ไม่สามารถเข้าใจความหมายของข้อมูลข่าวสาร ได้เช่นเดียวกับคน จึงมีการก้าหนดรูปแบบที่ใช้สื่อความหมายของข้อมูลข้าวสารให้ คอมพิวเตอร์กับผูใช้งานเข้าในตรงกันเรียกว่า โครงสร้างข้อมูลหรือชนิดข้อมูล โดยแบ่งออก ้ ได้เป็นดังนี้ บิต (Bit) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในการท้างานของคอมพิวเตอร์ที่แสดงเป็นสถานะได้ 2 สถานะ คือ เปิดกับปิด จึงก้าหนดเป็นการเก็บค่าได้ 2 ค่า คือ 0 กับ 1 เรียกว่าไบนารี่ดิจิต (Binary Digit) ไบต์ (Byte) เป็นการน้าบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อรวมกันเพื่อก้าหนดค่าได้มากขึ้น เช่น 3 บิต มาต่อเรียงกันจะท้าให้เกิดสถานะทีต่างกันคือ 000,001,010,100,011,010, ่ และ 111 ก็จะได้เป็น 8 สถานะ เมื่อน้าบิตมาเรียงต่อรวมกันเป็น 8 บิต เรียกว่าไบต์ มี 256 สถานะ และก้าหนดเป็นโครงสร้างข้อมูลทีมีขนาดเล็กที่สุดที่ใช้งานได้ มีค่าตั้งแต่ 0 ่ – 255 (00000000 – 11111111)
  • 49. เลขจานวนเต็ม (Integer) เป็นการน้าบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อรวมกันเพื่อก้าหนดเป็นเลขจ้านวนเต็ม ซึ่งได้เป็น ระบบเลขฐานสอง โดยแต่ละบิตมีความหมายเป็นเลขยกก้าลังสอง เช่น 20 = 1, 23 = 8 หรือ 21 + 22 +25 = 2+4+32 = 38 เลขที่ได้เป็นเลขจ้านวนเต็มบวก ถ้าต้องการเป็นเลขจ้านวน เต็มลบ จะต้องใช้วิธีการเรียกว่า One-complement Notation โดยการเปลี่ยนค่าของบิตที่เป็น 0 ให้เป็น 1 และค่าที่เป็น 1 ให้เป็น 0 เช่น 00100110 = 38 เมื่อสลับค่าจะได้บิต 11011001 = -38 ด้วยวิธีนี้ท้าให้เก็บค่าได้ทั้งเลขจ้านวนเต็มบวกและเต็มลบ ซึ่งมีบิตซ้ายสุดเป็น ตัวก้าหนดให้มีค่าบวกหรือลบเรียกว่า Sign Bit เมื่อน้าบิตมาเรียงต่อกัน 16 บิตได้เป็นเลขจ้านวน เต็มฐานสิบ มีอีกวิธีคือ Two-complement Notation โดยการบวกค่า 1 เข้าไปกับค่าของ One-complement Notation เช่นจาก 11011001 = -38 เมื่อบวก 1 จะได้ 11011010 = -38 เช่นกัน แต่วิธีนี้จ้าท้าให้เก็บค่าได้มากกว่า คือ มีตั้งแต่ -2n-1 ถึง 2n-1 -1 ดังต่อไปนี้ 1000000000000000 = -32768 0000000000000000 = 0 1000000000000001 = -32767 0000000000000001 = 1 1000000000000010 = -32766 0000000000000010 = 2 1111111111111101 = -3 0111111111111101 = 32765 1111111111111110 = -2 0111111111111110 = 32766 1111111111111111 = -1 0111111111111111 = 32767
  • 50. เลขจานวนจริง (Real Number) เป็นรูปแบบของตัวเลขทีมีเลขทศนิยมเรียกว่า Floating – point ่ Number โดยท้าการแบ่งบิตออกเป็นสองส่วน โดยบิตที่อยู่ดานซ้ายเก็บค่าเป็น ้ ตัวเลขจ้านวนเต็ม เรียกว่า แมนทิสสา (Mantissa) การเก็บค่าเป็นแบบเดียวกับ ตัวเลขจ้านวนเต็ม ส่วนบิตทีอยู่ดานขวาเก็บค้าเป็นจ้านวนหลักของ เลขทศนิยมเรียกว่า ่ ้ เอ็กซ์โพเนนท์ (Exponent) ในการเก็บจะใช้วธี Two – complement ิ Notation ซึ่งได้มาจากเลขยกก้าลังของ 10 เช่น .01 = 10-2, 6.25 x 10- 2 การเก็บค่าเลขทศนิยมจะใช้บิตจ้านวน 32 บิต โดยแบ่งส่วนที่เป็นแมนทิสสาจ้านวน 24 บิต และส่วนที่เป็นเอ็กซ์โพเนนท์จ้านวน 8 บิต ดังนี้ 00000000000000000000000000000000 = 0 00000000000000000000110000000011 = 12000 00000000000000000000010111111111 = 0.5 00000000000000000000010111111010 = 0.000005 11111111011010001001111111111110 = - 387.53
  • 51. ตัวอักษร (Character) เป็นการเก็บค่าที่เป็นตัวอักษร แต่เนืองจากคอมพิวเตอร์ไม่ ่ สามารถเข้าใจจึงใช้เลขจ้านวนเต็มสือความหมายแทนโดยใช้บิตจ้านวน 8 บิต ่ เรียกว่า Bit String ซึ่งค่าตัวเลขที่ได้จะก้าหนดเป็นตัวอกษรหนึ่งตัว ดังนั้นจะ ได้ตัวอักษรทั้งหมด 256 ตัวที่เรียกว่าเอ็บซีดิก (EBCDIC) เช่น ตัวอักษรA จะมีค่า 01000001 = 65 หรือ B มีค่า 01000010 = 66 ประกอบด้วยอักษรตัวเล็ก ตัวใหญ่ ตัวเลข และตัวอักษรพิเศษ และที่ใช้เพียง 7 บิตเรียกว่าวหัสแอสกี (ASCII Code) ใช้ครึ่งเดียวของเอ็บซีดิกแต่การ ท้างานรวดเร็วกว่า เมื่อใดที่น้าตัวอักษรหลาย ๆ ตัวมาเรียงต่อกันก็จะได้เป็น ข้อความ เช่น AB จะได้เป็น 0100000101000010 หากต้องการเก็บ จ้านวนรูปแบบของตัวอักษรมากกว่านี้ก็สามารถท้าได้โดยการเพิ่มจ้านวนบิตเข้า ไป ซึ่งขึ้นกับสถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์จะรับได้หรือไม่ เช่นใช้ 10 บิตก็จะ ได้ตัวอักษร 1024 รูปแบบ
  • 52. การเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะของข้อมูล สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการประมวลข้อมูล และสามารถ น้าไปใช้ประโยชน์ ในการวางแผน การตัดสินใจ และการคาดการณ์ ในอนาคตได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูป ของข้อความ ตาราง แผนภูมิ รูปภาพ ความ รู้ การารับรู้และเข้าใจสารสนเทศจนถึงระดับทีสามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ได้คือมี ่ ความเข้าใจในองค์ประกอบต่างๆจนอาจสร้างเป็นทฤษฏี หรือเป็นแบบจ้าลองทางความคิด และสามารถแก้ปัญหาในการด้าเนินงานได้ ระบบสารสนเทศ ระบบ (System) ประกอบไปด้วย Input Process output และอาจจะมี Feedback ระบบสารสนเทศ (Information system) คือการน้าเอาองค์ประกอบความสัมพันธ์ ของระบบ มาใช้การรวบรวมบันทึก ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการ วางแผนควบคุมจัดการและสนับสนุนการตัดสินใจ
  • 53. คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้ นั้น ดังที่กล่าวมาแล้วว่าข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส้าคัญอย่างมากต่อทุก องค์การ ทั้งนี้สารสนเทศที่ดีควรมีลกษณะ ดังต่อไปนี้ ั 1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเทียงตรง ่ และเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้น ประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบ ท้าให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย 2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศของ องค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการ ที่สามารถน้าสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้ เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการ เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง
  • 54. 3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ ที่จะช่วยท้าให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้ หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการด้าเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็น สารสนเทศที่ไม่มีความส้าคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจท้าให้ ไม่ได้สารสนเทศที่ส้าคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะน้าไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมี ประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ ก่อนจึงจะท้าการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอย ของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็ จ้าเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการ ตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะใน บางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับ สารสนเทศที่ส้าคัญครบในทุกด้านที่ท้าการตัดสินใจ
  • 55. คุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีความส้าคัญอย่างยิ่งที่ผู้บริหารงานบุคคล จะต้องพยายามจัดระบบให้มีความพร้อมครบถ้วนและพร้อมที่จะใช้งานได้ ปัญหาส้าคัญที่ องค์การส่วนมากมักจะต้องเผชิญ คือ การไม่สามารถสนองข้อมูลที่เกียวกับบุคคลให้ทันกับ ่ ความจ้าเป็นใช้ในการที่จะต้องด้าเนินการหรือตัดสินปัญหาบางประการ ดังเช่น ถ้าหากมีเหตุ เฉพาะหน้าที่ต้องการบุคคลที่มี คุณสมบัติอย่างหนึ่งในการบรรจุเข้าต้าแหน่งหนึ่งอย่าง รวดเร็วในเวลาอันสั้น ซึ่งหากผู้จัดเตรียม ข้อมูลจะต้องใช้เวลาประมวลขึ้นมานานเป็นเดือนก็ ย่อมถือได้ว่า ข้อมูลที่สนองให้นั้นช้ากว่าเหตุการณ์ หรือในอีกทางหนึ่ง บางครั้งแม้จะเสนอ ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แต่เป็นข้อมูลที่เป็นรายละเอียดมากเกินไปที่ไม่อาจพิจารณาแยกแยะ คุณสมบัติที่ส้าคัญ หรือข้อมูลที่ส้าคัญที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอย่างเด่นชัด ก็ย่อมท้าให้การใช้ ข้อมูลนั้นเป็นไปด้วยความยากล้าบาก นอกจากลักษณะที่ดีของสารสนเทศดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีคุณสมบัติที่แอบ แฝงของสารสนเทศอีกบางลักษณะที่สัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ และวิธีการด้าเนินงานของ ระบบ สารสนเทศ ซึ่งจะมีความส้าคัญแตกต่างกันไปตามลักษณะงานเฉพาะอย่าง ซึ่ง ได้แก่
  • 56. 1. ความละเอียดแม่นย้า คือ สารสนเทศจะต้องมีความละเอียดแม่นย้าในการวัดข้อมูล ให้ความ เชื่อถือได้สูง มีรายละเอียดของข้อมูล และแหล่งที่มาของข้อมูลที่ถูกต้อง 2. คุณสมบัติเชิงปริมาณ คือความสามารถที่จะแสดงออกมาในรูปของตัวเลขได้ และ สามารถเปรียบเทียบในเชิงปริมาณได้ 3. ความยอมรับได้ คือ ระดับความยอมรับได้ของกลุ่มผูใช้สารสนเทศอย่างเดียวกัน ้ สารสนเทศควรมีลักษณะเดียวกันในกลุ่มผู้ใช้งาน หรือใกล้เคียงกันโดยสามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น การใช้เครื่องมือเพื่อวัดคุณภาพการผลิตสินค้า เครื่องมือดังกล่าวจะต้องเป็นที่ยอมรับได้ ว่าสามารถวัดค่าของคุณภาพได้อย่างถูกต้อง 4. การใช้ได้ง่าย คือ ความสามารถน้าไปใช้งานได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทั้งในส่วนของ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน 5. ความไม่ล้าเอียง ซึ่งหมายถึง ไม่เป็นสารสนเทศที่มีจุดประสงค์ทจะปกปิดข้อเท็จจริง ี่ บางอย่าง ซึ่งท้าให้ผู้ใช้เข้าใจผิดไปจากความเป็นจริง หรือแสดงข้อมูลทีผิดจากความเป็นจริง ่ 6. ชัดเจน ซึ่งหมายถึง สารสนเทศจะต้องมีความคลุมเครือน้อยที่สุด สามารถท้าความ เข้าใจได้ง่าย
  • 57. ระบบย่อย หรือส่วนประกอบของ MIS ระบบประมวลผลรายการ (TPS = Transaction processing Systems) เช่น การบันทึกรายการบัญชี การขาย การผลิต เป็นต้น ระบบการจัดการรายงาน (MRS = Management Reporting System) ช่วยจัดเตรียมรายงานสนองความต้องการของผูใช้ เช่น Grade report ้ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS = Decision Support System) ช่วยเตรียมรายงาน เพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหารระดับต่าง ๆ ระบบสารสนเทศส้านักงาน (OIS = Office Information System) ระบบสารสนเทศในส้านักงานโดยอาศัยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การรวมความสัมพันธ์ของแต่ละระบบย่อยเข้าด้วยกัน ESS = Executive Support Systems MIS = Management Information Systems DDS = Decision Support Systems OIS = Office Information Systems TPS = Transaction Processing Systems