SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
ทฤษฎีระบบ
     ระบบ คือ การรวบรวมส่วนประกอบต่างๆที่มีความสัมพันธ์กัน
ภายในและมีปฏิสัมพันธ์กันโดยส่วนประกอบทั้งหลายนั้นจะร่วมกัน
ทำางานอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อให้การดำาเนินงานนั้นบรรลุเป้า
หมายที่กำาหนดไว้
     วิธีระบบหรือวิถีระบบ (systems Approach) หมายถึง
กระบวนการที่ทำาให้บรรลุผลสำาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ต่อผลลัพธ์ที่กำาหนดซึ่งอยู่บนพื้นฐานหลักการความต้องการเป็นรูปแบบ
หนึ่งของการแก้ปัญหาเชิงตรรถวิทยา
     ทฤษฎีระบบพื้นฐาน (Basic Systems Theory) ขององค์การซึ่ง
มี 5 ส่วน คือ ปัจจัยป้อน กระบวนการแปรรูป ผลผลิต ข้อมูลย้อนกลับ
และสภาพแวดล้อม
     1. ปัจ จัย ป้อ น (Inputs) คือทรัพยากรที่เป็นบุคคล วัสดุ
อุปกรณ์ เงิน หรือข้อมูลที่ใช้ในการผลิตหรือการบริการ
     2. กระบวนการแปรรูป (Transformation Process) จา
การใช้เทคโนโลยีและหน้าที่ในทางการบริหารตัวป้อนนำาไปสู่
กระบวนการแปรรูป ในโรงเรียนปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูเป็น
ส่วนหนึ่งของการแปรรูปหรือกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งทำาให้นักเรียนกลาย
เป็นพลเมืองที่มีการศึกษา ซึ่งสามารถทำาประโยชน์ให้แก่สังคมต่อไป
     3. ผลผลิต (Output) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์และการบริการของ
องค์การ องค์การทางการศึกษาผลิตและแจกจ่ายความรู้
     4. ข้อ มูล ย้อ นกลับ (Feedback) คือ สารสนเทศเกี่ยวกับ
ผลผลิตหรือกระบวนการขององค์การ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการคัดเลือกตัว
ป้อนระหว่างวงจรต่อไป ข้อสารสนเทศเช่นนี้อาจนำาไปสู่การ
เปลี่ยนแปลงทั้งในกระบวนการแปรรูปและผลผลิตในอนาคต
5. สภาพแวดล้อ ม (Environment) สภาพแวดล้อมที่อยู่ล้อม
รอบองค์การ ได้แก่ แรงผลักดัน (Forces) ทั้งด้านสังคม การเมือง และ
เศรษฐกิจ ที่มาปะทะกับองค์การ
       ดังนั้นการสร้างกรอบแนวคิดให้องค์การเป็นระบบเปิด (Open
System) จึงเป็นแนวคิดรวบยอดที่สำาคัญที่สุดประการหนึ่งของทฤษฏี
ระบบองค์การที่เป็นโรงเรียนหรือสถานศึกษาทั้งหมดเป็นระบบเปิด

ขั้น ตอนของวิธ ีก ารเชิง ระบบ
       วิธีการเชิงระบบมีขั้นตอนที่สำาคัญเพื่อในการศึกษาวิเคราะห์เกี่ยว
กับการบริหารและการแก้ปัญหาจึงขอนำาขั้นตอนวิธีการเชิงระบบของ
นักการศึกษา 3 ท่านที่น่าสนใจคือโอเบียนและอุทัยบุญประเสริฐและเฮ
นรี่เลมานซึ่งมีขั้นตอนวิธีการเชิงระบบกล่าวคือโอเบียนจาก
มหาวิทยาลัยอีสเทอร์นวอชิงตันได้ระบุไว้ในหนังสือ Management
Information Systems : A managerial and user perspective ถึงวิธี
การเชิงระบบกับการแก้ปัญหาโดยทั่วไปว่าวิธีการเชิงระบบคือการปรับ (
Modify ) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (the scientific method ) ซึ่งเน้นที่
การแก้ปัญหาโดยวิธีการเชิงระบบนี้มีกิจกรรมสำาคัญ 7 สำาคัญซึ่ง
สัมพันธ์กับการแก้ปัญหาทั่วๆไปโดยเปรียบเทียบให้เห็นขั้นตอนทั้งสอง
ส่วนคือ
       1. ทำาความเข้าใจปัญหาระบุปัญหา/โอกาสในเชิงบริบทของ
ระบบ
       2. รวบรวมข้อมูลเพื่ออธิบายปัญหาและโอกาส
       3. ระบุทางแก้/ทางเลือกในการแก้ปัญหา
       4. ประเมินในแต่ละทางเลือก
       5. เลือกทางแก้ที่ดีที่สุด
6 .ปฏิบัติการตามทางแก้ที่เลือกไว้
        7. ประเมินความสำาเร็จของการปฏิบัติตามทางเลือก
       อุทัยบุญประเสริฐ ( 2539 : 14-15 ) กล่าวถึงวิธีการเชิงระบบว่า
  เป็นการทำางานจากสภาพที่เป็นอยู่ไปสู่สภาพที่ต้องการของงานนั้นทั้ง
  ระบบโดยขั้นตอนที่สำาคัญๆในเทคนิคเชิงระบบได้แก่
1) กำาหนดปัญหาที่ต้องการแก้ไขและความต้องการในการพัฒนาของ
  ระบบให้ชัดเจน
2) การกำาหนดวัตถุประสงค์ย่อยที่สัมพันธ์กับปัญหาและความต้องการใน
  การพัฒนาและสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์รวมของระบบใหญ่ทั้งระบบเพื่อ
  สร้างกรอบหรือขอบเขตในการทำางาน (สิ่งที่ต้องการ)
3) ศึกษาถึงสิ่งแวดล้อมหรือข้อจำากัดในการทำางานของระบบและ
  ทรัพยากรที่หามาได้
4) สร้างทางเลือกในการแก้ปัญหาหรือวิธีการในการพัฒนา
5) ตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสมด้วยวิธีการที่มีเหตุผลเป็นระบบเป็นไป
  ตามกฎเกณฑ์ที่เหมาะสมคำานึงถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
6) ทดลองปฏิบัติทางเลือกที่ได้ตัดสินใจเลือกไว้
7) ประเมินผลการทดลองหรือผลการทดสอบ
8) เก็บรวบรวมข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบเพื่อปรับปรุงระบบนั้นให้
  เหมาะสมยิ่งขึ้น
9) ดำาเนินการเป็นส่วนของระบบปกติ
  ส่วนเฮนรี่เลมานได้เสนอขั้นตอนของวิธีการเชิงการระบบไว้ดังนี้
  1) ปัญหา( Need )
  2) วัตถุประสงค์ ( Objective )
  3) ข้อจำากัด( Constrains )
  4) ข้อเสนอทางแก้ปัญหา ( Alternatives )
5) การเลือกข้อเสนอ( Selection )
6) ทดลองปฏิบัติ ( Implementation )
     7) ประเมินผล( Evaluation )
     8) ปรับปรุงและนำาไปใช้ ( Modification )
     จากแนวคิดจากการนำาเสนอขั้นตอนวิธีการเชิงระบบของนักการ
ศึกษาหลายๆท่านที่กล่าวมาข้างต้นนั้นพอจะสรุปเป็นขั้นตอนหลักๆได้ 5
ขั้นตอนคือ
     1. ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไข
     2. ระบุทางแก้หรือทางเลือกเพื่อแก้ไขปัญหา
     3. เลือกทางแก้ไข
     4. ปฏิบัติตามแนวทางที่ได้เลือกไว้
     5. ประเมินความสำาเร็จของการปฏิบัติตามทางเลือกและนำาไป
ปรับปรุง
สรุป
     การศึกษาวิธีการเชิงระบบเป็นกระบวนการหนึ่งที่สามารถนำาไป
ประยุกต์ใช้กับการบริหารงานในองค์การประเภทต่างๆโดยที่พิจารณา
การบริหารในลักษณะองค์รวมที่มีเป้าหมายกระบวนการระบบย่อยและ
องค์ประกอบต่างๆที่มีปฏิสัมพันธ์กันมีการปฏิบัติงานแลกเปลี่ยนข่าวสาร
เพื่อบรรลุเป้าหมายทางการบริหารประโยชน์จากการใช้วิธีการเชิงระบบ
คือวิธีการนี้จะเป็นการประกันว่าการดำาเนินงานจะดำาเนินต่อไปตามขั้น
ตอนที่วางไว้โดยช่วยให้การทำางานตามระบบบรรลุตามเป้าหมายโดย
ใช้เวลางบประมาณและบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด
แบบจำาลองระบบจะช่วยป้องกันการลงทุนที่ไม่จำาเป็นได้มากแนวคิดวิธี
การเชิงระบบเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะมีบทบาทในการสร้างสรรค์งาน
และแก้ปัญหาในองค์การได้เป็นอย่างดี
สรุป ทฤษฎีห ลัก การบริห ารจัด การ การคิด อย่า งเป็น ระบบและ
ภาวะผู้น ำา ทางการศึก ษา
 ทฤษฎีห ลัก การบริห ารจัด การ
1. การจัดการ (Management) หมายถึง ขบวนการที่ทำาให้งานกิจกรรม
ต่างๆสำาเร็จลงได้อย่าง มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลด้วยคนและ
ทรัพยากรขององค์การ
2. ผู้จัดการ (Manager) หมายถึง ผู้ที่ทำางานร่วมกับหรือทำาโดยผ่าน
พนักงานอื่นๆ ให้เกิดการประสานงาน เพื่อให้กิจกรรมต่างๆขององค์กา
รสำาเร็จตามเป้าหมายที่กำาหนด การเปลี่ยนแปลงขององค์การในปัจจุบัน
ทำาให้บทบาทของผู้จัดการต้องปรับเปลี่ยนไป ไม่มีเส้นแบ่ง ระหว่างผู้
จัดการ กับ พนักงาน อย่างชัดเจน
3. ประสิทธิภาพ หมายถึง การทำางานอย่างถูกวิธี เป็นการเปรียบเทียบระ
หว่างปัจจัยนำาเข้า (inputs) กับผลผลิต (outputs) หากเราสามารถทำา
งานได้ผลผลิตมากกว่าในขณะที่ใช้ปัจจัยนำาเข้าน้อยกว่า หรือ เท่ากัน ก็
หมายความว่า เราทำางานได้มีประสิทธิภาพมากกว่า ส่วนประสิทธิผลใน
การจัดการหมายถึง การทำาได้ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำาหนด
ไว้ นั่นคือ ประสิทธิภาพจะเน้นที่วิธีการในการปฏิบัติงาน ส่วน
ประสิทธิผลจะเน้นที่ผลลัพธ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงาน
4. ขบวนการจัดการ (management process) ประกอบด้วย กิจกรรมที่
สำาคัญ 4 ประการ ได้แก่
1) การวางแผน (planning) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกำาหนดเป้า
หมาย และวางกลยุทธ์ รวมทั้งแผนปฏิบัติการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ
องค์การ
2) การจัดองค์การ (organizing) เป็นการจัดวางโครงสร้างองค์การเพื่อ
รองรับการดำาเนินงานตามแผนที่วางไว้
3) การโน้มนำา (leading/influencing) เป็นการจูงใจ โน้มนำาพนักงาน
รายบุคคลและกลุ่ม ให้ปฏิบัติงาน มีการติดต่อสื่อสาร รวมถึงการรับมือ
กับประเด็นต่างๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของพนักงานในองค์การ และ
4) การควบคุม (controlling) เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการติดตามประเมิน
ผลงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือมาตรฐานที่กำาหนดไว้ และทำาการ
แก้ไข เพื่อให้ผลการดำาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย หรือมาตรฐานที่กำา
หนดไว้
5. ทักษะที่จำาเป็นของผู้บริหาร ได้แก่ ทักษะด้านเทคนิค (technical
skills) ทักษะด้านคน (human skills) และทักษะด้านความคิด
(conceptual skills) ผู้บริหารในระดับต่างๆ ต้องการทักษะในแต่ละด้าน
แตกต่างกัน ผู้บริหารระดับสูงจะต้องการทักษะด้านความคิดสูงกว่าผู้
บริหารระดับต้น และผู้บริหารระดับต้นจำาเป็นต้องมีทักษะด้านเทคนิค
มากกว่าผู้บริหารระดับสูง ส่วนด้านทักษะเกี่ยวกับคนนั้นจำาเป็นสำาหรับ
ทุกระดับ
6. ผู้บริหารมักเป็นผู้ที่มีอำานาจในองค์การ และอาจใช้อำานาจในทางที่
ขัดกับหลักจริยธรรม คือ ไม่ได้ใช้อำานาจเพื่อประโยชน์ส่วนรวม หรือ
เป็นไปตามเป้าหมายขององค์การ หรือใช้อำานาจซึ่งก้าวก่ายสิทธิอัน
ชอบธรรมของผูอื่น
            ้


การคิด อย่า งเป็น ระบบ
           System Thinking หมายถึง วิธีการคิดอย่างมีระบบ มี
เหตุมีผล ทำาให้ผลของการคิด หรือผลของการแก้ปัญหาที่ได้นั้นมีความ
ถูกต้อง แม่นยำา และรวดเร็ว วิธีการคิดอย่างมีระบบ จะเป็นหนทางไปสู่
การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ถ้าองค์กรนั้น
ๆ นำาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและ ยึดหลักให้ พนักงานภายในองค์กร
ตระหนักในการศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ และผู้บริหารให้ความสำาคัญต่อ
การฝึกอบรมการเรียนรู้ของพนักงานองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning
Organization) จึงทำาให้เกิด การเรียนรู้จากตัวเองของพนักงานแต่ละ
คน เกิดการเรียนรู้ของทีมงาน ทำาให้เกิดการสร้างวิสัยทัศน์รวม
(Shared Vision) และเกิดการเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นทีม (Team
Learning)
หลัก การคิด หรือ การแก้ป ัญ หาอย่า งมีร ะบบ ประกอบไปด้ว ย

๑.) กำาหนดประเด็นปัญหาให้ถูกต้อง อาจกำาหนดได้เป็น ปัญหาหลัก
และปัญหารอง

๒.) ระบุตัวแปรทั้งหมด ที่ทำาให้เกิดปัญหา

๓.) กำาหนดวิธีแก้ไขหรือพิจารณาทางเลือกที่เป็นไปได้ อาจมีมากกว่า 1
วิธี

๔.) เปรียบเทียบวิธีแก้ไข แต่ละวิธี และประเมินดูว่าวิธีการใดสามารถจะ
นำาไปสู่การปฏิบัติได้และจะนำาไปสู่การบรรลุผลตามเป้าหมาย

๕.) เลือกวิธีแก้ไขที่ดีที่สุด

๖.) นำาไปทดลองปฏิบัติ ตามระยะเวลาที่เหมาะสม

๗.) ติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด

๘.) แก้ไขเปลี่ยนแปลงจุดที่พกพร่องในวิธีการปฏิบัติงาน

๙.) กำาหนดมาตรฐานวิธีปฏิบัติงาน

๑๐.) สั่งการให้พนักงานปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่กำาหนดอย่าง
เคร่งครัด
แนวคิดของทฤษฎีความซับซ้อนเป็นการพัฒนาวิธีคิดที่เป็นองค์รวม
เป็นการมองโลกด้วยการสังเคราะห์ (Synthetic Science) ต่างจาก
ทัศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับอิทธิพลจากโลกทัศน์แบบจักรกลของนิว
ตันที่มองโลกด้วยการวิเคราะห์อย่างแยกส่วน (Analytic Science) ซึ่งมี
3 ทฤษฎีที่คล้ายกัน พัฒนาต่อยอดกันมาอย่างแยกกันไม่ออกได้แก่

¨   ทฤษฎีระบบ (Systemic Theory) ได้รับการพัฒนามาก่อน จากพื้น
ฐานวิชา Cybernetic กลศาสตร์การควบคุมกลไก หนังสือ จุดเปลี่ยน
แห่งศตวรรษ ของฟริตจ๊อฟ คาปร้า เป็นการมองอย่าง System Theory
ที่ชัดเจน

¨   ทฤษฎีไร้ระเบียบ ( Chaos Theory ) ตัวอย่างที่โด่งดังของทฤษฎีนี้
คือ “ ผลกระทบผีเสื้อ หรือ Butterfly Effect ” กล่าวคือ ผีเสือใหญ่ตัว
                                                           ้
หนึ่งกระพือปีกที่ฮ่องกง สามารถทำาให้ดินฟ้าอากาศที่แคลิฟอร์เนีย
เปลี่ยนแปลงได้เมื่อ 1 เดือนให้หลัง หรือ สาเหตุเบื้องต้นเพียงนิดเดียว
ในเงื่อนไขที่เหมาะสม สามารถก่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่หลวงได้

¨   ทฤษฎีความซับซ้อน ( Complexity Theory ) ลักษณะที่สำาคัญของ
ระบบซับซ้อนคือ การผุดบังเกิด ( Emergence ) ซึ่งหมายถึง คุณสมบัติ
ของระบบรวมที่แตกต่างไปจากผลรวมของส่วนประกอบย่อยทั้งหมด
เช่น สมองมีเซลสมองนับล้านเซล แต่ละเซลไม่มีคุณสมบัติที่จำาอะไรได้
แต่เมื่อรวมกันเป็นระบบสมองสามารถมีความจำาได้ เป็นต้น นี่เรียก
ว่าการผุดบังเกิด
 ทฤษฎีร ะบบ หรือ การคิด อย่า งกระบวนระบบ (Systemic
Thinking)

เป็นการมองโลกอย่างเป็นองค์รวม เป็นพื้นฐานของทั้ง 3 ทฤษฎี มี
คุณสมบัติที่สำาคัญ 5 ประการคือ
¨   ระบบใหญ่ไม่ใช่ผลรวมของส่วนประกอบย่อย แต่เป็นคุณภาพใหม่ที่
เกิดจากปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบย่อย ซึ่งไม่สามารถเข้าใจจากการ
แยกศึกษาทีละส่วนประกอบได้

¨   ระบบมีโครงสร้างที่ซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ ( Hierarchy ) เช่น คน
ประกอบด้วยส่วนย่อยคือเซลที่รวมกันเป็นระบบ แต่คนก็เป็นองค์
ประกอบย่อยของระบบนิเวศน์ ระบบซับซ้อนจะซ้อนกันเป็นชั้น และทุก
อย่างสามารถเชื่อมโยงถึงกันทั้งหมด ท่าน ติช นัท ฮัน จึงตอบว่า
กระดาษหนึ่งแผ่นที่ให้ดูนั้น มองเห็นดวงอาทิตย์และก้อนเมฆในกระดาษ
นั้นด้วย

¨   การจะเข้าใจระบบนั้นต้องมองบริบท ( Context ) หรือปัจจัย
แวดล้อมโดยรอบด้วย โดยเฉพาะระบบเปิดที่มีชีวิตนั้น ไม่อาจมองเป็น
เส้นตรงได้ ต้องมองอย่างเชื่อมโยงและสัมพันธ์กันทั้งหมด

¨   ต้องเข้าใจความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ ( Feedback ) การจะเข้าใจ
ปรากฏการณ์ใดต้องเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่เข้ามา
เกี่ยวข้อง

¨   การย้ายวิธีคิดแบบโครงสร้าง (Structure) มาสู่กระบวนการ
(Process) ถ้าประยุกต์ใช้ในเชิงสังคม การมองแบบโครงสร้างเราจะ
เห็นกรอบอันเข้มแข็ง ยากจะเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าหันมามอง
กระบวนการ เราจะเห็นจุดอ่อน ช่องทางของความสัมพันธ์ที่จะเข้าไป
ปรับเปลี่ยนได้…

การคิด เชิง ระบบ จะเน้นมุมมองแบบเป็นวงจร ไม่ใช่มุมมองเชิงเส้น
ตรง สัจธรรม 3 ประการแห่งระบบ หรืออาจเรียกว่าภาษาแห่งระบบ 3
ประการ เป็นเรื่องของผลป้อนกลับหรือ feedback ซึ่งผู้คิดเชิงระบบจะ
ต้องเข้าใจ เพื่อไม่ให้อ่านระบบผิดพลาดและก่อปัญหาขึ้น หรือที่สำาคัญ
กว่า สำาหรับสร้างสิ่งมหัศจรรย์จากการลงแรงเพียงเล็กน้อยเข้าไปใน
ระบบที่มีการป้อนกลับแบบเสริมแรง(reinforcing feedback) หรือ
ประหยัดทรัพยากร ไม่ใส่ลงไปในระบบที่มีการป้อนกลับเชิงลบเพื่อสร้าง
สมดุล(balancing feedback) ในจุดที่ใกล้สมดุลอยู่แล้ว และเข้าใจ
สภาพที่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นภายในระบบ จะต้องรอเวลาช่วงหนึ่ง
จึงจะเห็นผล สัจธรรมเรื่องการรอ(delays)
อุป สรรคของการคิด เชิง ระบบ นอกจากการคิดเชิงระบบจะมีผลดี
หรือสามารถนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์

อย่างมากมายแล้ว การคิดเชิงระบบยังมีอุปสรรค หรือข้อจำากัด ตามที่
สุรพร เสี้ยนสลาย, (2548.) ได้กล่าวไว้ดังนี้ :

          1. ก. ขาดคุณลักษณะนักคิดที่ดี ก.1 ไม่กระตือรือร้น ไม่คิด
อะไร เชื่อง่าย ไม่สงสัย ทำาตามกิจวัตรประจำาวัน ก.2 ใจแคบ ไม่เป็น
ธรรม โดยไม่เจตนา ไม่รู้ตัว เกิดจากจิต สร้างแบบแผนการคิดจาก
ประสบการณ์ จิตมนุษย์ จะสร้างแบบแผนในการคิด ทำาให้คิดอยู่ใน
กรอบเดิม เกิดการตอบสนองตามความเคยชิน ปัญหาอื่น จะปลูกต้นไม้
4 ต้นให้ระยะห่างของแต่ละต้นเท่ากัน จะแบ่ง ให้เป็นสี่สวนเท่ากันได้
อย่างไร

          2. การใช้เหตุผลโดยการอ้างสิ่งที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ใจแคบ
ไม่เป็นธรรม โดยเจตนา

การใช้เหตุผลโดยเอาตนเป็นศูนย์กลาง ใช้เหตุผลแบบลวงตา ไม่ฟังใคร
นำ้าล้นแก้ว หลีกเลี่ยงข้อเท็จจริงที่ไม่สนับสนุนตน มองเป็นสิ่งง่ายเกินไป
ถูกโน้มน้าวโดยคนหมู่มาก/คนน่าเชื่อถือ การโต้แย้งเพราะไม่รู้ การด่วน
หาข้อสรุป เชื่อมโยงเหตุผลผิด เช่น ลินดาอายุ 31 ปี เป็นคนเปิดเผย
พูดจา ตรงไป ตรงมาและเป็นคนฉลาด เธอศึกษาปรัชญาเมื่อตอนเป็น
นักศึกษา เธอสนใจอย่างมากกับประเด็นความไม่เท่าเทียมกัน การแบ่ง
เขาแบ่งเรา ความยุติธรรมในสังคมและได้เคยร่วมประท้วงการใช้อาวุธ
นิวเคลียร์

คำาถาม : ลินดาน่าจะเป็น 1.พนักงานธนาคาร 2.พนักงานธนาคารและ
เข้าร่วมกลุ่มเคลื่อนไหวด้านสิทธิสตรี

ควรระวังการสรุปมากกว่าข้อเท็จจริง คนมองข้ามความเรียบง่ายของสิ่ง
ปกติแต่สะดุดเหตุการณ์ที่โดดเด่นเสมอ เรื่องนกกระสากับสาวบ้านนอก

             3. ข.ขาดข้อมูล/ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริงทางสังคมและสิ่ง
แวดล้อม ข้อมูลบอกเล่ามากกว่าเชิงประจักษ์ ข้อมูล/การใช้เหตุผลโดย
อ้างผู้รู้ หรือคนส่วนใหญ่ ค.ขาดข้อมูลทางวิชาการ ไม่รู้จักใช้วิธีการ
ทางวิชาการ วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific methods) ระเบียบวิธี
วิจัย ( Research Methodology)วิธีการในการจัดการ : วางแผน
กลยุทธ

             4. ไม่สามารถนำาทฤษฎีทางวิชาการมาใช้ในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ไม่เข้าใจทฤษฎีคืออะไร/มีประโยชน์อย่างไร เรียนเฉพาะ
ทฤษฎีพูดอย่างไร ไม่เรียนนำาไปประยุกต์ใช้อย่างไร

เทคนิค พัฒ นาการคิด เชิง ระบบ ที่จะนำาไปสู่การพัฒนาที่เป็นรูป
ธรรมได้ดังนี้ :

    การพัฒนาตนเอง : ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ ฝึกการคิดเชิงขัดแย้ง – วิภาษ
วิธี(dialectic approach) แบบ Marx การเผชิญหน้าระหว่างความคิด
ตรงกันข้าม Thesis Anti-thesis Synthesis ความขัดแย้งระหว่างข้อมูล
ใหม่กับความคิดเดิม ใช้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หาข้อมูลใหม่
1.ตั้งปัญหาหรือข้อสงสัย

       2.กำาหนดสมมติฐาน

       3.การทดลองหาข้อมูล

       4.สรุปคำาตอบของปัญหา

       ดิฉันคิดว่าในการพัฒนาระบบคุณภาพตามแนวทางนี้จะต้อง
อาศัยแนวคิดสำาคัญ 3 ประการ คือ แนวคิดเชิงระบบ (system thinking)
แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ (strategic thinking) และการเรียนรู้โดยการ
ทำางานเป็นทีม (team learning)
ภาวะผู้น ำา

ภาวะผู้นำาเป็นสิ่งจำาเป็นที่จะช่วยให้การบริหารจัดการต่างๆในองค์การ
สำาเร็จลุล่วงไปได้ ดังนั้น ประสิทธิผลของการบริหารการศึกษาที่ดีย่อมมี
ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับภาวะผู้นำาของผู้บริหารการศึกษา จะเห็น
ได้จากงานวิจัยมากมายเกี่ยวกับสถาบันการศึกษา เช่น จากการศึกษา
ของ Kee (1991) ที่ได้ทำาการศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำาของผู้
บริหารสถาบันอุดมศึกษาและความพึงพอใจในงานของอาจารย์ พบว่า
ผู้นำาที่ใช้พฤติกรรมแบบเน้นการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจจะทำาให้ทีม
อาจารย์มีความพึงพอใจในงานของคณะวิชา และผู้นำาที่คอยอำานวย
ความสะดวก มอบหมายงานให้รับผิดชอบ และมีการสื่อสารสองทางจะ
สร้างความพึงพอใจให้ทีมอาจารย์มากขึ้น นอกจากพฤติกรรมความเป็น
ผู้นำาแล้วคุณลักษณะของผู้นำายังเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสำาเร็จและล้ม
เหลวขององค์การได้อีกด้วย สำาหรับการศึกษาของ Bruno & O’ Brien
(1997) เกี่ยวกับคุณลักษณะของคณบดีที่ประสบความสำาเร็จ พบว่า
คุณลักษณะสำาคัญ 5 ประการที่ทำาให้คณบดีบริหารงานวิชาการประสบ
ความสำาเร็จ คือ การมีทักษะในการสื่อสาร มีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการ
สร้างมนุษยสัมพันธ์ มีความซื่อสัตย์ และมีคุณธรรม และประการสุดท้าย
คือ ต้องเป็นที่มีความรู้ ความสามารถ กล่าวได้ว่าคุณลักษณะของภาวะ
ผู้นำาที่ประสบความสำาเร็จได้นั้นจะมีผลต่อประสิทธิผลของหน่วยงานหรือ
องค์การเช่นกัน นอกจากนี้ ยังพบว่า รุ่ง แก้วแดง (2545: คำานำา) ได้
กล่าวถึง ผู้นำาทางการศึกษาหรือผู้บริหารการศึกษาที่ดีที่จะได้รับการ
ยอมรับจากคนทั่วไปจะต้องมีลักษณะ “ เป็นผู้บริหารที่ให้ความเอาใจใส่
ต่องานวิชาการ ทุ่มเทให้กับงานพัฒนาการเรียนการสอน มีคุณธรรม
และภาวะผู้นำาเป็นปัจจัยสำาคัญที่จะส่งผลต่อความสำาเร็จของสถานศึกษา
ทำาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี บุคลากรได้รับการพัฒนา
และมีขวัญกำาลังใจในการทำางาน” และจากสำานักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาแห่งชาติ (2545: 112-114) ได้แสดงให้เห็นว่าผู้นำาทางการศึกษา
ต้นแบบ จะต้องมีคุณลักษณะส่วนตัวที่มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นที่
ยอมรับของสังคม และต้องมีบทบาทที่โดดเด่นในด้านการบริหารจัดการ



           ในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีประสิทธิผลนั้นเป็นทั้ง
ศาสตร์และศิลป์ ผู้บริหารจำาเป็นต้องบูรณาการทฤษฎีในการบริหารการ
ศึกษา มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม รวมทั้งการสร้างสรรค์รูปแบบวิธีการ
ขึ้นมาใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพของสถาบันการศึกษาอย่างมี
ประสิทธิภาพ และเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ภาวะผู้นำาเป็นสิ่งจำาเป็น
ที่จะช่วยให้การบริหารจัดการต่างๆในองค์การสำาเร็จลุล่วงไปได้ และ
เกิดประสิทธิผลในการบริหารงานซึ่งเป็นความสามารถของผู้บริหารที่จะ
ทำางานให้ประสบความสำาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่สำาคัญ
สูงสุดของการบริหารแบบมุ่งสัมฤทธิ์ ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารที่เน้น
ความรับผิดชอบ ความมีประสิทธิผลในการบริหารงานของผู้บริหาร จะ
พิจารณาจากผลของการทำางานที่สำาเร็จลุล่วงตามที่คาดไว้เป็นหลัก ดัง
ที่ Hoy & Miskel (1991)ได้ให้แนวคิดของประสิทธิผลไว้ในส่วนของ
ความสามารถในการผลิตและการปรับเปลี่ยน มุ่งผลสัมฤทธิ์ทาง
วิชาการหรือความพึงพอใจในการทำางาน ซึ่งแนวทางการวัดความมี
ประสิทธิผลของภาวะผู้นำามีแนวทางการวัด 2 ประเด็น คือ ผู้บริหารที่มี
ประสิทธิผล จะต้องเป็นผู้บริหารที่สามารถทำาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีผล
งานดี มีความพึงพอใจ ให้ความสำาคัญกับปฏิสัมพันธภาพในหน่วย
งาน และผู้บริหารที่ประสบความสำาเร็จ จะเป็นผู้บริหารที่ได้รับการ
สนับสนุนให้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เน้นปฏิสัมพันธ์จากภายนอก
(ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร,2549) จะเห็นได้ว่า ภารกิจของผู้บริหารที่มี
ประสิทธิผลและประสบความสำาเร็จมีความต่างกัน ดังนั้น ประสิทธิผล
ของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ดีย่อมมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด
กับภาวะผู้นำาของผู้บริหารการศึกษา



          จากการศึกษารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาในต่างประเทศ
พบว่า มีการศึกษารูปแบบของภาวะผู้นำาไว้หลายรูปแบบ เช่น การศึกษา
ของศูนย์ภาวะผู้นำา (The Leadership Center,2000.Online) ได้แสดง
ให้เห็นถึงรูปแบบที่มีสมรรถภาพ (The Competency Model) มีองค์
ประกอบหลัก 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านพฤติกรรม
สำาหรับ Koestenbaum (2000) ได้เสนอรูปแบบของภาวะผู้นำา ที่เรียก
ว่า “ Leadership Diamond Model” ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้าน
จริยธรรม ด้านวิสัยทัศน์ ด้านความกล้าหาญและด้านความเป็นจริง และ
จาก Kouzes และ Posner (2001) จากสมาคมภาวะผู้นำาสากล ได้มีการ
พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำาโดยเน้นการฝึกฝนให้เกิดคุณสมบัติกับตนเอง
ด้านการท้าทายกระบวนการ ดลบันดาลใจให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วม
สนับสนุนให้เกิดการปฏิบัติ สร้างวิถีต้นแบบและส่งเสริมกำาลังใจ
นอกจากนี้ มีผู้นำาเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาของ Augsburg
College (2000) ที่เรียกว่า “ Augsburg Leadership Development
Model” โดยเน้นเป้าหมายของการพัฒนาภาวะผู้นำาในด้านการดล
บันดาลใจให้เกิดความร่วมมือ ส่งเสริมผลผลิตทั้งภายนอกและภายใน
องค์การ และปฏิบัติงานให้เกิดความก้าวหน้า ซึ่งรูปแบบการพัฒนาภาวะ
ผู้นำานี้ต้องพัฒนาคุณลักษณะ 3 ประการ คือ สำานึกของวิสัยทัศน์ การ
กำาหนดทิศทางสู่การปฏิบัติ และความสามารถในการชักชวน จะเห็นได้
ว่ารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาจากที่กล่าวข้างต้นนั้นต้องอาศัยวิธีการ
และแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำา ดังเช่น Vicere & Fulmer (1996) ได้
ให้ทัศนะว่าแนวทางใหม่ในการพัฒนาภาวะผู้นำาในอนาคต ควรมี
ลักษณะเป็นการเรียนรู้ประยุกต์ (Applied learning) ที่มุ่งสร้างอนาคตที่
ตอบสนองต่อเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ของการพัฒนาภาวะผู้นำาต้อง
เปลี่ยนแปลงคือ บทบาทของผู้เข้าร่วมการอบรมต้องเป็นผู้เรียนรู้ การ
ออกแบบโปรแกรมต้องเป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่องมากกว่าการเป็น
หลักสูตร เป้าหมายต้องมุ่งสู่การปฏิบัติได้ และมุ่งอนาคต และจาก
แนวคิดของ Yulk (2006) ได้แสดงให้เห็นถึงแนวทางการพัฒนาภาวะ
ผู้นำาไว้อย่างครอบคลุม 3 ประเด็น คือ การฝึกอบรมแบบทางการ การทำา
กิจกรรมการพัฒนาระหว่างทำางาน และการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งจาก
การเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาที่กล่าวข้างต้น พบว่า มีการศึกษา
เฉพาะรูปแบบภาวะผู้นำาเป็นส่วนใหญ่ แต่มีการศึกษาถึงรูปแบบการ
พัฒนาภาวะผู้นำาไม่มาก และไม่ได้มีการศึกษาถึงรูปแบบการพัฒนา
ภาวะผู้นำาทางการศึกษา ดังนั้น ผู้วิจัยพิจารณาแล้วเห็นสมควรที่จะ
ทำาการศึกษาถึงรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาทางการศึกษา เพื่อให้ได้
ลักษณะของรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาทางการศึกษาในสถาบัน
อุดมศึกษาเอกชนอย่างแท้จริง ทั้งนี้เนื่องจากการศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับ
ภาวะผู้นำาและรูปแบบของภาวะผู้นำาแบบต่างๆ ไม่อาจสรุปได้ว่าทฤษฎี
ใดหรือรูปแบบผู้นำาแบบใดดีที่สุด หรือมีประสิทธิผลในการบริหารงาน
ด้านวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน



การพัฒนาตนเอง : ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ ฝึกการคิดเชิงขัดแย้ง – วิภาษ
วิธี(dialectic approach) แบบ Marx การเผชิญหน้าระหว่างความคิด
ตรงกันข้าม Thesis Anti-thesis Synthesis ความขัดแย้งระหว่างข้อมูล
ใหม่กับความคิดเดิม ใช้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หาข้อมูลใหม่

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบwiraja
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนnokhongkhum
 

Mais procurados (20)

การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 

Semelhante a ทฤษฎีระบบ

ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดSudaratJanthathep
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
Cmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossaryCmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossaryTualek Phu
 
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษาความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษาbuckbucket
 
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาการออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาteacher253
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6somjit003
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 

Semelhante a ทฤษฎีระบบ (20)

ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
Chapter 01
Chapter 01Chapter 01
Chapter 01
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Cmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossaryCmu qa manual 49 qa-glossary
Cmu qa manual 49 qa-glossary
 
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษาความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
 
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาการออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
บทที่7แก้
บทที่7แก้บทที่7แก้
บทที่7แก้
 
E4
E4E4
E4
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

ทฤษฎีระบบ

  • 1. ทฤษฎีระบบ ระบบ คือ การรวบรวมส่วนประกอบต่างๆที่มีความสัมพันธ์กัน ภายในและมีปฏิสัมพันธ์กันโดยส่วนประกอบทั้งหลายนั้นจะร่วมกัน ทำางานอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อให้การดำาเนินงานนั้นบรรลุเป้า หมายที่กำาหนดไว้ วิธีระบบหรือวิถีระบบ (systems Approach) หมายถึง กระบวนการที่ทำาให้บรรลุผลสำาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อผลลัพธ์ที่กำาหนดซึ่งอยู่บนพื้นฐานหลักการความต้องการเป็นรูปแบบ หนึ่งของการแก้ปัญหาเชิงตรรถวิทยา ทฤษฎีระบบพื้นฐาน (Basic Systems Theory) ขององค์การซึ่ง มี 5 ส่วน คือ ปัจจัยป้อน กระบวนการแปรรูป ผลผลิต ข้อมูลย้อนกลับ และสภาพแวดล้อม 1. ปัจ จัย ป้อ น (Inputs) คือทรัพยากรที่เป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ เงิน หรือข้อมูลที่ใช้ในการผลิตหรือการบริการ 2. กระบวนการแปรรูป (Transformation Process) จา การใช้เทคโนโลยีและหน้าที่ในทางการบริหารตัวป้อนนำาไปสู่ กระบวนการแปรรูป ในโรงเรียนปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูเป็น ส่วนหนึ่งของการแปรรูปหรือกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งทำาให้นักเรียนกลาย เป็นพลเมืองที่มีการศึกษา ซึ่งสามารถทำาประโยชน์ให้แก่สังคมต่อไป 3. ผลผลิต (Output) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์และการบริการของ องค์การ องค์การทางการศึกษาผลิตและแจกจ่ายความรู้ 4. ข้อ มูล ย้อ นกลับ (Feedback) คือ สารสนเทศเกี่ยวกับ ผลผลิตหรือกระบวนการขององค์การ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการคัดเลือกตัว ป้อนระหว่างวงจรต่อไป ข้อสารสนเทศเช่นนี้อาจนำาไปสู่การ เปลี่ยนแปลงทั้งในกระบวนการแปรรูปและผลผลิตในอนาคต
  • 2. 5. สภาพแวดล้อ ม (Environment) สภาพแวดล้อมที่อยู่ล้อม รอบองค์การ ได้แก่ แรงผลักดัน (Forces) ทั้งด้านสังคม การเมือง และ เศรษฐกิจ ที่มาปะทะกับองค์การ ดังนั้นการสร้างกรอบแนวคิดให้องค์การเป็นระบบเปิด (Open System) จึงเป็นแนวคิดรวบยอดที่สำาคัญที่สุดประการหนึ่งของทฤษฏี ระบบองค์การที่เป็นโรงเรียนหรือสถานศึกษาทั้งหมดเป็นระบบเปิด ขั้น ตอนของวิธ ีก ารเชิง ระบบ วิธีการเชิงระบบมีขั้นตอนที่สำาคัญเพื่อในการศึกษาวิเคราะห์เกี่ยว กับการบริหารและการแก้ปัญหาจึงขอนำาขั้นตอนวิธีการเชิงระบบของ นักการศึกษา 3 ท่านที่น่าสนใจคือโอเบียนและอุทัยบุญประเสริฐและเฮ นรี่เลมานซึ่งมีขั้นตอนวิธีการเชิงระบบกล่าวคือโอเบียนจาก มหาวิทยาลัยอีสเทอร์นวอชิงตันได้ระบุไว้ในหนังสือ Management Information Systems : A managerial and user perspective ถึงวิธี การเชิงระบบกับการแก้ปัญหาโดยทั่วไปว่าวิธีการเชิงระบบคือการปรับ ( Modify ) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (the scientific method ) ซึ่งเน้นที่ การแก้ปัญหาโดยวิธีการเชิงระบบนี้มีกิจกรรมสำาคัญ 7 สำาคัญซึ่ง สัมพันธ์กับการแก้ปัญหาทั่วๆไปโดยเปรียบเทียบให้เห็นขั้นตอนทั้งสอง ส่วนคือ 1. ทำาความเข้าใจปัญหาระบุปัญหา/โอกาสในเชิงบริบทของ ระบบ 2. รวบรวมข้อมูลเพื่ออธิบายปัญหาและโอกาส 3. ระบุทางแก้/ทางเลือกในการแก้ปัญหา 4. ประเมินในแต่ละทางเลือก 5. เลือกทางแก้ที่ดีที่สุด
  • 3. 6 .ปฏิบัติการตามทางแก้ที่เลือกไว้ 7. ประเมินความสำาเร็จของการปฏิบัติตามทางเลือก อุทัยบุญประเสริฐ ( 2539 : 14-15 ) กล่าวถึงวิธีการเชิงระบบว่า เป็นการทำางานจากสภาพที่เป็นอยู่ไปสู่สภาพที่ต้องการของงานนั้นทั้ง ระบบโดยขั้นตอนที่สำาคัญๆในเทคนิคเชิงระบบได้แก่ 1) กำาหนดปัญหาที่ต้องการแก้ไขและความต้องการในการพัฒนาของ ระบบให้ชัดเจน 2) การกำาหนดวัตถุประสงค์ย่อยที่สัมพันธ์กับปัญหาและความต้องการใน การพัฒนาและสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์รวมของระบบใหญ่ทั้งระบบเพื่อ สร้างกรอบหรือขอบเขตในการทำางาน (สิ่งที่ต้องการ) 3) ศึกษาถึงสิ่งแวดล้อมหรือข้อจำากัดในการทำางานของระบบและ ทรัพยากรที่หามาได้ 4) สร้างทางเลือกในการแก้ปัญหาหรือวิธีการในการพัฒนา 5) ตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสมด้วยวิธีการที่มีเหตุผลเป็นระบบเป็นไป ตามกฎเกณฑ์ที่เหมาะสมคำานึงถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ 6) ทดลองปฏิบัติทางเลือกที่ได้ตัดสินใจเลือกไว้ 7) ประเมินผลการทดลองหรือผลการทดสอบ 8) เก็บรวบรวมข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบเพื่อปรับปรุงระบบนั้นให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น 9) ดำาเนินการเป็นส่วนของระบบปกติ ส่วนเฮนรี่เลมานได้เสนอขั้นตอนของวิธีการเชิงการระบบไว้ดังนี้ 1) ปัญหา( Need ) 2) วัตถุประสงค์ ( Objective ) 3) ข้อจำากัด( Constrains ) 4) ข้อเสนอทางแก้ปัญหา ( Alternatives )
  • 4. 5) การเลือกข้อเสนอ( Selection ) 6) ทดลองปฏิบัติ ( Implementation ) 7) ประเมินผล( Evaluation ) 8) ปรับปรุงและนำาไปใช้ ( Modification ) จากแนวคิดจากการนำาเสนอขั้นตอนวิธีการเชิงระบบของนักการ ศึกษาหลายๆท่านที่กล่าวมาข้างต้นนั้นพอจะสรุปเป็นขั้นตอนหลักๆได้ 5 ขั้นตอนคือ 1. ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไข 2. ระบุทางแก้หรือทางเลือกเพื่อแก้ไขปัญหา 3. เลือกทางแก้ไข 4. ปฏิบัติตามแนวทางที่ได้เลือกไว้ 5. ประเมินความสำาเร็จของการปฏิบัติตามทางเลือกและนำาไป ปรับปรุง สรุป การศึกษาวิธีการเชิงระบบเป็นกระบวนการหนึ่งที่สามารถนำาไป ประยุกต์ใช้กับการบริหารงานในองค์การประเภทต่างๆโดยที่พิจารณา การบริหารในลักษณะองค์รวมที่มีเป้าหมายกระบวนการระบบย่อยและ องค์ประกอบต่างๆที่มีปฏิสัมพันธ์กันมีการปฏิบัติงานแลกเปลี่ยนข่าวสาร เพื่อบรรลุเป้าหมายทางการบริหารประโยชน์จากการใช้วิธีการเชิงระบบ คือวิธีการนี้จะเป็นการประกันว่าการดำาเนินงานจะดำาเนินต่อไปตามขั้น ตอนที่วางไว้โดยช่วยให้การทำางานตามระบบบรรลุตามเป้าหมายโดย ใช้เวลางบประมาณและบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด แบบจำาลองระบบจะช่วยป้องกันการลงทุนที่ไม่จำาเป็นได้มากแนวคิดวิธี การเชิงระบบเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะมีบทบาทในการสร้างสรรค์งาน และแก้ปัญหาในองค์การได้เป็นอย่างดี
  • 5. สรุป ทฤษฎีห ลัก การบริห ารจัด การ การคิด อย่า งเป็น ระบบและ ภาวะผู้น ำา ทางการศึก ษา ทฤษฎีห ลัก การบริห ารจัด การ 1. การจัดการ (Management) หมายถึง ขบวนการที่ทำาให้งานกิจกรรม ต่างๆสำาเร็จลงได้อย่าง มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลด้วยคนและ ทรัพยากรขององค์การ 2. ผู้จัดการ (Manager) หมายถึง ผู้ที่ทำางานร่วมกับหรือทำาโดยผ่าน พนักงานอื่นๆ ให้เกิดการประสานงาน เพื่อให้กิจกรรมต่างๆขององค์กา รสำาเร็จตามเป้าหมายที่กำาหนด การเปลี่ยนแปลงขององค์การในปัจจุบัน ทำาให้บทบาทของผู้จัดการต้องปรับเปลี่ยนไป ไม่มีเส้นแบ่ง ระหว่างผู้ จัดการ กับ พนักงาน อย่างชัดเจน 3. ประสิทธิภาพ หมายถึง การทำางานอย่างถูกวิธี เป็นการเปรียบเทียบระ หว่างปัจจัยนำาเข้า (inputs) กับผลผลิต (outputs) หากเราสามารถทำา งานได้ผลผลิตมากกว่าในขณะที่ใช้ปัจจัยนำาเข้าน้อยกว่า หรือ เท่ากัน ก็ หมายความว่า เราทำางานได้มีประสิทธิภาพมากกว่า ส่วนประสิทธิผลใน การจัดการหมายถึง การทำาได้ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำาหนด ไว้ นั่นคือ ประสิทธิภาพจะเน้นที่วิธีการในการปฏิบัติงาน ส่วน ประสิทธิผลจะเน้นที่ผลลัพธ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงาน 4. ขบวนการจัดการ (management process) ประกอบด้วย กิจกรรมที่ สำาคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) การวางแผน (planning) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกำาหนดเป้า หมาย และวางกลยุทธ์ รวมทั้งแผนปฏิบัติการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ องค์การ 2) การจัดองค์การ (organizing) เป็นการจัดวางโครงสร้างองค์การเพื่อ รองรับการดำาเนินงานตามแผนที่วางไว้
  • 6. 3) การโน้มนำา (leading/influencing) เป็นการจูงใจ โน้มนำาพนักงาน รายบุคคลและกลุ่ม ให้ปฏิบัติงาน มีการติดต่อสื่อสาร รวมถึงการรับมือ กับประเด็นต่างๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของพนักงานในองค์การ และ 4) การควบคุม (controlling) เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการติดตามประเมิน ผลงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือมาตรฐานที่กำาหนดไว้ และทำาการ แก้ไข เพื่อให้ผลการดำาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย หรือมาตรฐานที่กำา หนดไว้ 5. ทักษะที่จำาเป็นของผู้บริหาร ได้แก่ ทักษะด้านเทคนิค (technical skills) ทักษะด้านคน (human skills) และทักษะด้านความคิด (conceptual skills) ผู้บริหารในระดับต่างๆ ต้องการทักษะในแต่ละด้าน แตกต่างกัน ผู้บริหารระดับสูงจะต้องการทักษะด้านความคิดสูงกว่าผู้ บริหารระดับต้น และผู้บริหารระดับต้นจำาเป็นต้องมีทักษะด้านเทคนิค มากกว่าผู้บริหารระดับสูง ส่วนด้านทักษะเกี่ยวกับคนนั้นจำาเป็นสำาหรับ ทุกระดับ 6. ผู้บริหารมักเป็นผู้ที่มีอำานาจในองค์การ และอาจใช้อำานาจในทางที่ ขัดกับหลักจริยธรรม คือ ไม่ได้ใช้อำานาจเพื่อประโยชน์ส่วนรวม หรือ เป็นไปตามเป้าหมายขององค์การ หรือใช้อำานาจซึ่งก้าวก่ายสิทธิอัน ชอบธรรมของผูอื่น ้ การคิด อย่า งเป็น ระบบ System Thinking หมายถึง วิธีการคิดอย่างมีระบบ มี เหตุมีผล ทำาให้ผลของการคิด หรือผลของการแก้ปัญหาที่ได้นั้นมีความ ถูกต้อง แม่นยำา และรวดเร็ว วิธีการคิดอย่างมีระบบ จะเป็นหนทางไปสู่ การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ถ้าองค์กรนั้น ๆ นำาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและ ยึดหลักให้ พนักงานภายในองค์กร
  • 7. ตระหนักในการศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ และผู้บริหารให้ความสำาคัญต่อ การฝึกอบรมการเรียนรู้ของพนักงานองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) จึงทำาให้เกิด การเรียนรู้จากตัวเองของพนักงานแต่ละ คน เกิดการเรียนรู้ของทีมงาน ทำาให้เกิดการสร้างวิสัยทัศน์รวม (Shared Vision) และเกิดการเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นทีม (Team Learning) หลัก การคิด หรือ การแก้ป ัญ หาอย่า งมีร ะบบ ประกอบไปด้ว ย ๑.) กำาหนดประเด็นปัญหาให้ถูกต้อง อาจกำาหนดได้เป็น ปัญหาหลัก และปัญหารอง ๒.) ระบุตัวแปรทั้งหมด ที่ทำาให้เกิดปัญหา ๓.) กำาหนดวิธีแก้ไขหรือพิจารณาทางเลือกที่เป็นไปได้ อาจมีมากกว่า 1 วิธี ๔.) เปรียบเทียบวิธีแก้ไข แต่ละวิธี และประเมินดูว่าวิธีการใดสามารถจะ นำาไปสู่การปฏิบัติได้และจะนำาไปสู่การบรรลุผลตามเป้าหมาย ๕.) เลือกวิธีแก้ไขที่ดีที่สุด ๖.) นำาไปทดลองปฏิบัติ ตามระยะเวลาที่เหมาะสม ๗.) ติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด ๘.) แก้ไขเปลี่ยนแปลงจุดที่พกพร่องในวิธีการปฏิบัติงาน ๙.) กำาหนดมาตรฐานวิธีปฏิบัติงาน ๑๐.) สั่งการให้พนักงานปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่กำาหนดอย่าง เคร่งครัด
  • 8. แนวคิดของทฤษฎีความซับซ้อนเป็นการพัฒนาวิธีคิดที่เป็นองค์รวม เป็นการมองโลกด้วยการสังเคราะห์ (Synthetic Science) ต่างจาก ทัศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับอิทธิพลจากโลกทัศน์แบบจักรกลของนิว ตันที่มองโลกด้วยการวิเคราะห์อย่างแยกส่วน (Analytic Science) ซึ่งมี 3 ทฤษฎีที่คล้ายกัน พัฒนาต่อยอดกันมาอย่างแยกกันไม่ออกได้แก่ ¨ ทฤษฎีระบบ (Systemic Theory) ได้รับการพัฒนามาก่อน จากพื้น ฐานวิชา Cybernetic กลศาสตร์การควบคุมกลไก หนังสือ จุดเปลี่ยน แห่งศตวรรษ ของฟริตจ๊อฟ คาปร้า เป็นการมองอย่าง System Theory ที่ชัดเจน ¨ ทฤษฎีไร้ระเบียบ ( Chaos Theory ) ตัวอย่างที่โด่งดังของทฤษฎีนี้ คือ “ ผลกระทบผีเสื้อ หรือ Butterfly Effect ” กล่าวคือ ผีเสือใหญ่ตัว ้ หนึ่งกระพือปีกที่ฮ่องกง สามารถทำาให้ดินฟ้าอากาศที่แคลิฟอร์เนีย เปลี่ยนแปลงได้เมื่อ 1 เดือนให้หลัง หรือ สาเหตุเบื้องต้นเพียงนิดเดียว ในเงื่อนไขที่เหมาะสม สามารถก่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่หลวงได้ ¨ ทฤษฎีความซับซ้อน ( Complexity Theory ) ลักษณะที่สำาคัญของ ระบบซับซ้อนคือ การผุดบังเกิด ( Emergence ) ซึ่งหมายถึง คุณสมบัติ ของระบบรวมที่แตกต่างไปจากผลรวมของส่วนประกอบย่อยทั้งหมด เช่น สมองมีเซลสมองนับล้านเซล แต่ละเซลไม่มีคุณสมบัติที่จำาอะไรได้ แต่เมื่อรวมกันเป็นระบบสมองสามารถมีความจำาได้ เป็นต้น นี่เรียก ว่าการผุดบังเกิด ทฤษฎีร ะบบ หรือ การคิด อย่า งกระบวนระบบ (Systemic Thinking) เป็นการมองโลกอย่างเป็นองค์รวม เป็นพื้นฐานของทั้ง 3 ทฤษฎี มี คุณสมบัติที่สำาคัญ 5 ประการคือ
  • 9. ¨ ระบบใหญ่ไม่ใช่ผลรวมของส่วนประกอบย่อย แต่เป็นคุณภาพใหม่ที่ เกิดจากปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบย่อย ซึ่งไม่สามารถเข้าใจจากการ แยกศึกษาทีละส่วนประกอบได้ ¨ ระบบมีโครงสร้างที่ซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ ( Hierarchy ) เช่น คน ประกอบด้วยส่วนย่อยคือเซลที่รวมกันเป็นระบบ แต่คนก็เป็นองค์ ประกอบย่อยของระบบนิเวศน์ ระบบซับซ้อนจะซ้อนกันเป็นชั้น และทุก อย่างสามารถเชื่อมโยงถึงกันทั้งหมด ท่าน ติช นัท ฮัน จึงตอบว่า กระดาษหนึ่งแผ่นที่ให้ดูนั้น มองเห็นดวงอาทิตย์และก้อนเมฆในกระดาษ นั้นด้วย ¨ การจะเข้าใจระบบนั้นต้องมองบริบท ( Context ) หรือปัจจัย แวดล้อมโดยรอบด้วย โดยเฉพาะระบบเปิดที่มีชีวิตนั้น ไม่อาจมองเป็น เส้นตรงได้ ต้องมองอย่างเชื่อมโยงและสัมพันธ์กันทั้งหมด ¨ ต้องเข้าใจความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ ( Feedback ) การจะเข้าใจ ปรากฏการณ์ใดต้องเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่เข้ามา เกี่ยวข้อง ¨ การย้ายวิธีคิดแบบโครงสร้าง (Structure) มาสู่กระบวนการ (Process) ถ้าประยุกต์ใช้ในเชิงสังคม การมองแบบโครงสร้างเราจะ เห็นกรอบอันเข้มแข็ง ยากจะเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าหันมามอง กระบวนการ เราจะเห็นจุดอ่อน ช่องทางของความสัมพันธ์ที่จะเข้าไป ปรับเปลี่ยนได้… การคิด เชิง ระบบ จะเน้นมุมมองแบบเป็นวงจร ไม่ใช่มุมมองเชิงเส้น ตรง สัจธรรม 3 ประการแห่งระบบ หรืออาจเรียกว่าภาษาแห่งระบบ 3 ประการ เป็นเรื่องของผลป้อนกลับหรือ feedback ซึ่งผู้คิดเชิงระบบจะ
  • 10. ต้องเข้าใจ เพื่อไม่ให้อ่านระบบผิดพลาดและก่อปัญหาขึ้น หรือที่สำาคัญ กว่า สำาหรับสร้างสิ่งมหัศจรรย์จากการลงแรงเพียงเล็กน้อยเข้าไปใน ระบบที่มีการป้อนกลับแบบเสริมแรง(reinforcing feedback) หรือ ประหยัดทรัพยากร ไม่ใส่ลงไปในระบบที่มีการป้อนกลับเชิงลบเพื่อสร้าง สมดุล(balancing feedback) ในจุดที่ใกล้สมดุลอยู่แล้ว และเข้าใจ สภาพที่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นภายในระบบ จะต้องรอเวลาช่วงหนึ่ง จึงจะเห็นผล สัจธรรมเรื่องการรอ(delays) อุป สรรคของการคิด เชิง ระบบ นอกจากการคิดเชิงระบบจะมีผลดี หรือสามารถนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างมากมายแล้ว การคิดเชิงระบบยังมีอุปสรรค หรือข้อจำากัด ตามที่ สุรพร เสี้ยนสลาย, (2548.) ได้กล่าวไว้ดังนี้ : 1. ก. ขาดคุณลักษณะนักคิดที่ดี ก.1 ไม่กระตือรือร้น ไม่คิด อะไร เชื่อง่าย ไม่สงสัย ทำาตามกิจวัตรประจำาวัน ก.2 ใจแคบ ไม่เป็น ธรรม โดยไม่เจตนา ไม่รู้ตัว เกิดจากจิต สร้างแบบแผนการคิดจาก ประสบการณ์ จิตมนุษย์ จะสร้างแบบแผนในการคิด ทำาให้คิดอยู่ใน กรอบเดิม เกิดการตอบสนองตามความเคยชิน ปัญหาอื่น จะปลูกต้นไม้ 4 ต้นให้ระยะห่างของแต่ละต้นเท่ากัน จะแบ่ง ให้เป็นสี่สวนเท่ากันได้ อย่างไร 2. การใช้เหตุผลโดยการอ้างสิ่งที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ใจแคบ ไม่เป็นธรรม โดยเจตนา การใช้เหตุผลโดยเอาตนเป็นศูนย์กลาง ใช้เหตุผลแบบลวงตา ไม่ฟังใคร นำ้าล้นแก้ว หลีกเลี่ยงข้อเท็จจริงที่ไม่สนับสนุนตน มองเป็นสิ่งง่ายเกินไป ถูกโน้มน้าวโดยคนหมู่มาก/คนน่าเชื่อถือ การโต้แย้งเพราะไม่รู้ การด่วน หาข้อสรุป เชื่อมโยงเหตุผลผิด เช่น ลินดาอายุ 31 ปี เป็นคนเปิดเผย
  • 11. พูดจา ตรงไป ตรงมาและเป็นคนฉลาด เธอศึกษาปรัชญาเมื่อตอนเป็น นักศึกษา เธอสนใจอย่างมากกับประเด็นความไม่เท่าเทียมกัน การแบ่ง เขาแบ่งเรา ความยุติธรรมในสังคมและได้เคยร่วมประท้วงการใช้อาวุธ นิวเคลียร์ คำาถาม : ลินดาน่าจะเป็น 1.พนักงานธนาคาร 2.พนักงานธนาคารและ เข้าร่วมกลุ่มเคลื่อนไหวด้านสิทธิสตรี ควรระวังการสรุปมากกว่าข้อเท็จจริง คนมองข้ามความเรียบง่ายของสิ่ง ปกติแต่สะดุดเหตุการณ์ที่โดดเด่นเสมอ เรื่องนกกระสากับสาวบ้านนอก 3. ข.ขาดข้อมูล/ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริงทางสังคมและสิ่ง แวดล้อม ข้อมูลบอกเล่ามากกว่าเชิงประจักษ์ ข้อมูล/การใช้เหตุผลโดย อ้างผู้รู้ หรือคนส่วนใหญ่ ค.ขาดข้อมูลทางวิชาการ ไม่รู้จักใช้วิธีการ ทางวิชาการ วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific methods) ระเบียบวิธี วิจัย ( Research Methodology)วิธีการในการจัดการ : วางแผน กลยุทธ 4. ไม่สามารถนำาทฤษฎีทางวิชาการมาใช้ในการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ไม่เข้าใจทฤษฎีคืออะไร/มีประโยชน์อย่างไร เรียนเฉพาะ ทฤษฎีพูดอย่างไร ไม่เรียนนำาไปประยุกต์ใช้อย่างไร เทคนิค พัฒ นาการคิด เชิง ระบบ ที่จะนำาไปสู่การพัฒนาที่เป็นรูป ธรรมได้ดังนี้ : การพัฒนาตนเอง : ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ ฝึกการคิดเชิงขัดแย้ง – วิภาษ วิธี(dialectic approach) แบบ Marx การเผชิญหน้าระหว่างความคิด ตรงกันข้าม Thesis Anti-thesis Synthesis ความขัดแย้งระหว่างข้อมูล ใหม่กับความคิดเดิม ใช้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หาข้อมูลใหม่
  • 12. 1.ตั้งปัญหาหรือข้อสงสัย 2.กำาหนดสมมติฐาน 3.การทดลองหาข้อมูล 4.สรุปคำาตอบของปัญหา ดิฉันคิดว่าในการพัฒนาระบบคุณภาพตามแนวทางนี้จะต้อง อาศัยแนวคิดสำาคัญ 3 ประการ คือ แนวคิดเชิงระบบ (system thinking) แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ (strategic thinking) และการเรียนรู้โดยการ ทำางานเป็นทีม (team learning) ภาวะผู้น ำา ภาวะผู้นำาเป็นสิ่งจำาเป็นที่จะช่วยให้การบริหารจัดการต่างๆในองค์การ สำาเร็จลุล่วงไปได้ ดังนั้น ประสิทธิผลของการบริหารการศึกษาที่ดีย่อมมี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับภาวะผู้นำาของผู้บริหารการศึกษา จะเห็น ได้จากงานวิจัยมากมายเกี่ยวกับสถาบันการศึกษา เช่น จากการศึกษา ของ Kee (1991) ที่ได้ทำาการศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำาของผู้ บริหารสถาบันอุดมศึกษาและความพึงพอใจในงานของอาจารย์ พบว่า ผู้นำาที่ใช้พฤติกรรมแบบเน้นการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจจะทำาให้ทีม อาจารย์มีความพึงพอใจในงานของคณะวิชา และผู้นำาที่คอยอำานวย ความสะดวก มอบหมายงานให้รับผิดชอบ และมีการสื่อสารสองทางจะ สร้างความพึงพอใจให้ทีมอาจารย์มากขึ้น นอกจากพฤติกรรมความเป็น ผู้นำาแล้วคุณลักษณะของผู้นำายังเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสำาเร็จและล้ม เหลวขององค์การได้อีกด้วย สำาหรับการศึกษาของ Bruno & O’ Brien (1997) เกี่ยวกับคุณลักษณะของคณบดีที่ประสบความสำาเร็จ พบว่า คุณลักษณะสำาคัญ 5 ประการที่ทำาให้คณบดีบริหารงานวิชาการประสบ
  • 13. ความสำาเร็จ คือ การมีทักษะในการสื่อสาร มีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการ สร้างมนุษยสัมพันธ์ มีความซื่อสัตย์ และมีคุณธรรม และประการสุดท้าย คือ ต้องเป็นที่มีความรู้ ความสามารถ กล่าวได้ว่าคุณลักษณะของภาวะ ผู้นำาที่ประสบความสำาเร็จได้นั้นจะมีผลต่อประสิทธิผลของหน่วยงานหรือ องค์การเช่นกัน นอกจากนี้ ยังพบว่า รุ่ง แก้วแดง (2545: คำานำา) ได้ กล่าวถึง ผู้นำาทางการศึกษาหรือผู้บริหารการศึกษาที่ดีที่จะได้รับการ ยอมรับจากคนทั่วไปจะต้องมีลักษณะ “ เป็นผู้บริหารที่ให้ความเอาใจใส่ ต่องานวิชาการ ทุ่มเทให้กับงานพัฒนาการเรียนการสอน มีคุณธรรม และภาวะผู้นำาเป็นปัจจัยสำาคัญที่จะส่งผลต่อความสำาเร็จของสถานศึกษา ทำาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี บุคลากรได้รับการพัฒนา และมีขวัญกำาลังใจในการทำางาน” และจากสำานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาแห่งชาติ (2545: 112-114) ได้แสดงให้เห็นว่าผู้นำาทางการศึกษา ต้นแบบ จะต้องมีคุณลักษณะส่วนตัวที่มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นที่ ยอมรับของสังคม และต้องมีบทบาทที่โดดเด่นในด้านการบริหารจัดการ ในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีประสิทธิผลนั้นเป็นทั้ง ศาสตร์และศิลป์ ผู้บริหารจำาเป็นต้องบูรณาการทฤษฎีในการบริหารการ ศึกษา มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม รวมทั้งการสร้างสรรค์รูปแบบวิธีการ ขึ้นมาใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพของสถาบันการศึกษาอย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ภาวะผู้นำาเป็นสิ่งจำาเป็น ที่จะช่วยให้การบริหารจัดการต่างๆในองค์การสำาเร็จลุล่วงไปได้ และ เกิดประสิทธิผลในการบริหารงานซึ่งเป็นความสามารถของผู้บริหารที่จะ ทำางานให้ประสบความสำาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่สำาคัญ สูงสุดของการบริหารแบบมุ่งสัมฤทธิ์ ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารที่เน้น
  • 14. ความรับผิดชอบ ความมีประสิทธิผลในการบริหารงานของผู้บริหาร จะ พิจารณาจากผลของการทำางานที่สำาเร็จลุล่วงตามที่คาดไว้เป็นหลัก ดัง ที่ Hoy & Miskel (1991)ได้ให้แนวคิดของประสิทธิผลไว้ในส่วนของ ความสามารถในการผลิตและการปรับเปลี่ยน มุ่งผลสัมฤทธิ์ทาง วิชาการหรือความพึงพอใจในการทำางาน ซึ่งแนวทางการวัดความมี ประสิทธิผลของภาวะผู้นำามีแนวทางการวัด 2 ประเด็น คือ ผู้บริหารที่มี ประสิทธิผล จะต้องเป็นผู้บริหารที่สามารถทำาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีผล งานดี มีความพึงพอใจ ให้ความสำาคัญกับปฏิสัมพันธภาพในหน่วย งาน และผู้บริหารที่ประสบความสำาเร็จ จะเป็นผู้บริหารที่ได้รับการ สนับสนุนให้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เน้นปฏิสัมพันธ์จากภายนอก (ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร,2549) จะเห็นได้ว่า ภารกิจของผู้บริหารที่มี ประสิทธิผลและประสบความสำาเร็จมีความต่างกัน ดังนั้น ประสิทธิผล ของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ดีย่อมมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด กับภาวะผู้นำาของผู้บริหารการศึกษา จากการศึกษารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาในต่างประเทศ พบว่า มีการศึกษารูปแบบของภาวะผู้นำาไว้หลายรูปแบบ เช่น การศึกษา ของศูนย์ภาวะผู้นำา (The Leadership Center,2000.Online) ได้แสดง ให้เห็นถึงรูปแบบที่มีสมรรถภาพ (The Competency Model) มีองค์ ประกอบหลัก 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านพฤติกรรม สำาหรับ Koestenbaum (2000) ได้เสนอรูปแบบของภาวะผู้นำา ที่เรียก ว่า “ Leadership Diamond Model” ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้าน จริยธรรม ด้านวิสัยทัศน์ ด้านความกล้าหาญและด้านความเป็นจริง และ จาก Kouzes และ Posner (2001) จากสมาคมภาวะผู้นำาสากล ได้มีการ
  • 15. พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำาโดยเน้นการฝึกฝนให้เกิดคุณสมบัติกับตนเอง ด้านการท้าทายกระบวนการ ดลบันดาลใจให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วม สนับสนุนให้เกิดการปฏิบัติ สร้างวิถีต้นแบบและส่งเสริมกำาลังใจ นอกจากนี้ มีผู้นำาเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาของ Augsburg College (2000) ที่เรียกว่า “ Augsburg Leadership Development Model” โดยเน้นเป้าหมายของการพัฒนาภาวะผู้นำาในด้านการดล บันดาลใจให้เกิดความร่วมมือ ส่งเสริมผลผลิตทั้งภายนอกและภายใน องค์การ และปฏิบัติงานให้เกิดความก้าวหน้า ซึ่งรูปแบบการพัฒนาภาวะ ผู้นำานี้ต้องพัฒนาคุณลักษณะ 3 ประการ คือ สำานึกของวิสัยทัศน์ การ กำาหนดทิศทางสู่การปฏิบัติ และความสามารถในการชักชวน จะเห็นได้ ว่ารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาจากที่กล่าวข้างต้นนั้นต้องอาศัยวิธีการ และแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำา ดังเช่น Vicere & Fulmer (1996) ได้ ให้ทัศนะว่าแนวทางใหม่ในการพัฒนาภาวะผู้นำาในอนาคต ควรมี ลักษณะเป็นการเรียนรู้ประยุกต์ (Applied learning) ที่มุ่งสร้างอนาคตที่ ตอบสนองต่อเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ของการพัฒนาภาวะผู้นำาต้อง เปลี่ยนแปลงคือ บทบาทของผู้เข้าร่วมการอบรมต้องเป็นผู้เรียนรู้ การ ออกแบบโปรแกรมต้องเป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่องมากกว่าการเป็น หลักสูตร เป้าหมายต้องมุ่งสู่การปฏิบัติได้ และมุ่งอนาคต และจาก แนวคิดของ Yulk (2006) ได้แสดงให้เห็นถึงแนวทางการพัฒนาภาวะ ผู้นำาไว้อย่างครอบคลุม 3 ประเด็น คือ การฝึกอบรมแบบทางการ การทำา กิจกรรมการพัฒนาระหว่างทำางาน และการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งจาก การเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาที่กล่าวข้างต้น พบว่า มีการศึกษา เฉพาะรูปแบบภาวะผู้นำาเป็นส่วนใหญ่ แต่มีการศึกษาถึงรูปแบบการ พัฒนาภาวะผู้นำาไม่มาก และไม่ได้มีการศึกษาถึงรูปแบบการพัฒนา ภาวะผู้นำาทางการศึกษา ดังนั้น ผู้วิจัยพิจารณาแล้วเห็นสมควรที่จะ
  • 16. ทำาการศึกษาถึงรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาทางการศึกษา เพื่อให้ได้ ลักษณะของรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาทางการศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนอย่างแท้จริง ทั้งนี้เนื่องจากการศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับ ภาวะผู้นำาและรูปแบบของภาวะผู้นำาแบบต่างๆ ไม่อาจสรุปได้ว่าทฤษฎี ใดหรือรูปแบบผู้นำาแบบใดดีที่สุด หรือมีประสิทธิผลในการบริหารงาน ด้านวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน การพัฒนาตนเอง : ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ ฝึกการคิดเชิงขัดแย้ง – วิภาษ วิธี(dialectic approach) แบบ Marx การเผชิญหน้าระหว่างความคิด ตรงกันข้าม Thesis Anti-thesis Synthesis ความขัดแย้งระหว่างข้อมูล ใหม่กับความคิดเดิม ใช้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หาข้อมูลใหม่