SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
สุชัญญา กังวานสราญกุล
ม.6/2 เลขที2 2
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic commerce)
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรือ อี-คอมเมิร์ช (E-Commerce)
หมายถึง การทําธุรกรรมผ่านสื2ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที2เป็นอิเล็กทรอนิกส์
เช่น การซืGอขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื2ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น
โทรศัพท์, โทรทัศน์, วิทยุ, หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื2อลด
ค่าใช้จ่าย และเพื2มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทของความสําคัญของ
องค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทําเลที2ตัGง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้อง
แสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนําสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น
ดังนัGนจึงลดข้อจํากัดของระยะทางและเวลา ในการทําธุรกรรมลงได้

ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร ้านขายสินค ้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทําให ้
ลูกค ้าที2อยู่ต่างประเทศ สามารถเข ้ามาดูตัวอย่างสินค ้า และติดต่อซืGอขายกันได ้โดย
ผ่านทางสื2ออิเล็กทรอนิกส์

เทคโนโลยีสารสนเทศที2รุดหน้า ทัGงระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และ
อินเทอร์เน็ต ทําให ้การสื2อสารกันเป็นไปได ้โดยง่าย และสามารถเข ้าถึงผู้ใช ้บริการได ้
หลายระดับ อีกทัGงยังสามารถโต ้ตอบกันได ้ทันที ทําให ้สามารถเสนอธุรกรรมที2หลาก
หลาย เช่น การชืGอขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชําระค่าบริการสินค ้า การ
ขนส่ง เป็นต ้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื2อ
อิเล็กทรอนิกส์ เข ้ามาคุ้มครองเรื2องความปลอดภัย
วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การค ้าอิเล็กทรอนิกส์นัGนเริ2มขึGนบนโลกครัGงแรกเมื2อปี พ.ศ. 2513 ซึ2งได ้มีการเริ2มใช ้
ระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่
ในขณะนัGนมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านัGนที2ใช้งานระบบโอนเงิน
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ
อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึ2งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูล
จากเดิมที2เป็นข้อมูลทางการเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื2นเพิ2มขึGน เช่น การ
ส่งข้อมูลระหว่างสถาบันการเงินกับผู้ผลิต หรือผู้ค้าส่งกับผู้ค้าปลีก เป็นต้น

หลังจากนัGนก็มีระบบสื2อสารรวมถึงโปรแกรมอื2นๆ เกิดขึGนมากมายตัGงแต่ระบบที2ใช ้
ในการซืGอขายหุ้นจนไปถึงระบบที2ช่วยในการสํารองที2พัก ซึ2งเรียกได ้ว่าโลกได ้ก ้าวเข ้า
สู่ยุคของการสื2อสาร และเมื2อยุคของอินเตอร์เน็ตมาถึงเมื2อประมาณปี พ.ศ. 2533
จํานวนผู้ใช ้อินเตอร์เน็ตก็เพิ2มขึGนอย่างรวดเร็ว การค ้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได ้เกิดขึGน
เหตุผลที2ทําให ้ระบบการค ้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุน
การค ้าอิเล็กทรอนิกส์ที2ได ้รับการพัฒนาขึGนมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด ้วย พอ
แบ่งกันตามความสัมพันธ์ทางการตลาดได ้3 รูปแบบดังนีG

1. แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business to Business) เป็นธุรกรรม
ระหว่างผู้ดําเนินธุรกิจด ้วยกันเอง ส่วนใหญ่เป็นการตกลงซืGอขายสินค ้าบริการ
ปริมาณมาก


การแลกเปลี2ยนข ้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI)
เป็นเทคโนโลยีที2ใช ้คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ2งไปยังอีก
หน่วยงานหนึ2งโดยส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต ้น แทน
การส่งเอกสารโดยพนักงานส่งสารหรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของ
เอกสารที2เป็นมาตรฐานเพื2อให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ สามารถสื2อสารได้
อย่างมีประสิทธิภาพ



สําหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกําหนดโดยกรมศุลกากร ซึ2งเป็นหน่วย
งานแรกที2นําระบบนีGมาใช ้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data
Interchange for Administration, Commerce and Transport)



ตัวอย่างของเอกสารที2นํามาใช ้แลกเปลี2ยนข ้อมูลด ้วยระบบ EDI เช่น ใบสั2งซืGอสินค ้า
ใบเสนอราคา ใบกํากับสินค ้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกํากับภาษี เป็นต ้น



บริษัทผู้ให ้บริการแลกเปลี2ยนข ้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange :
EDI) เป็นองค์กรที2ให ้บริการ EDI ทางการค ้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทัGง
ภาครัฐ ซึ2งได ้แก่ กรมศุลกากร บริษัทการบินไทย (มหาชน) จํากัด การท่าเรือแห่ง
ภาพแสดงความสัมพันธ์ ธุรกิจแบบ (B2B : Business to Business)

ที2มา : http://www.logisticsexchange.net/th/register.php


2. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (C2C : Consumer to Consumer) ผู้ชื2อและ
ผู้ขายจํานวนมากจะเข้ามาเพื2อติดต่อแลกเปลี2ยนซืGอขายสินค้าและบริการ ส่วน
ใหญ่จะเป็นสินค้ามือสองหรือการประมูล


ภาพแสดงความสัมพันธ์ ธุรกิจแบบ (C2C : Consumer to Consumer)

http://www.boardofinnovation.com/business-model-examples/the-
broker


3. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C:Business to Consumer) เป็นการทํา
ธุรกรรมกันระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง เช่น
การจองที2พักโรงแรม เสืGอผ้า
!
!
!
!
!
ขั#นตอนที) 1 ออกแบบและจัดทําเว็บไซต์
ขัGนตอนนีGเป็นด่านแรกในกระบวนการทัGงหมดของพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ บางบริษัทอาจต ้องอาศัยเทคโนโลยีในการสร ้างเว็บเพจให ้
น่าสนใจ เพื2อดึงดูดให ้ผู้คนเข ้ามาเยี2ยมชมและเรียกค ้นข ้อมูลที2ต ้องการได ้
โดยใช ้ทีมงานในบริษัทพัฒนาขึGนมาเองหรือติดต่อขอใช ้บริการจากบริษัทที2รับ
ออกแบบและจัดทําเว็บไซต์ได ้โดยตรง ซึ2งมีข ้อแนะนําสําหรับการออกแบบ
และจัดทําเว็บไซต์ พอสรุปได ้ดังนีG
ออกแบบด้วยรูปลักษณ์ที)สวยงาม น่าสนใจ
การออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจที2สวยงาม มีรูปภาพประกอบและสีสัน
ต่าง ๆ ที2ดึงดูดใจ จะทําให ้ลูกค ้ารู้สึกประทับใจและอยากเข ้ามาเยี2ยมชมและ
ซืGอสินค ้านัGนได ้ง่ายกว่า การออกแบบนีGอาจรวมไปถึงการใส่ข ้อมูลหรือเนืGอหาที2
เป็นเชิงมัลติมีเดีย เช่น วิดีโอ เสียง ภาพเคลื2อนไหวต่าง ๆ เข ้าไปด ้วย แต่ทัGงนีG
ต ้องไม่มากจนเกินไป
ออกแบบขั#นตอนวิธีใช้ที)ง่ายและสะดวก
การออกแบบ "วีธีใช ้" หรือ "ขัGนตอน" ที2ดี ทําให ้ลูกค ้าสามารถค ้นหา
ข ้อมูลที2ต ้องการได ้ง่ายและรวดเร็วขึGน เพราะจะทําให ้ทราบได ้ว่าการเลือกชม
หน้าเว็บเพจที2ต ้องการนัGน ควรจะเลือกไปในทางไหน ในทางตรงข ้ามหากการ
ออกแบบเว็บทําให ้ผู้ใช ้หลงทิศทางและไม่รู้ว่าจะทําอะไรต่อไป นับเป็นเรื2องที2
ไม่ควรทําอย่างยิ2ง
ออกแบบเว็บให้ทันสมัยและเป็ นปัจจุบัน
เว็บไซต์ที2ดีนัGน ควรจะมีการเปลี2ยนแปลงให ้มีอะไรใหม่ ๆ อยู่เสมอ
ซึ2งจะทําให ้เว็บไซต์ (โดยเฉพาะอย่างยิ2งเว็บไซต์ที2เน้นการค ้าขาย) มีความน่า
สนใจมากขึGน เหมือนกับนิตยสารที2มักจะมีการเปลี2ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ออกแบบด้วยการสร้างความแตกต่าง
"เสน่ห์" หรือความน่าสนใจของแต่ละเว็บไซต์เป็นสิ2งสําคัญที2จะช่วยให ้
ลูกค ้าเลือกหรือตัดสินใจซืGอผลิตภัณฑ์ของเว็บนัGน ๆ จึงต ้องพยายามออกแบบ
เว็บไซต์ให ้มีความแตกต่างและน่าสนใจกว่าคนอื2น ๆ
ขั#นตอนที) 2 โฆษณาและเผยแพร่ข้อมูล
ขัGนตอนนีGเป็นสิ2งที2ทํากันแพร่หลายโดยทั2วไปผ่านอินเทอร์เน็ต เพื2อ
ดึงดูดให ้ผู้คนเข ้ามาเยี2ยมชมและเรียกค ้นหาข ้อมูลเพื2อซืGอสินค ้าที2ต ้องการ ซึ2ง
อาจต ้องอาศัยเทคนิคต่าง ๆ เช่น
ลงประกาศตามกระดานข่าว
กระดานข่าว หรือ webboard เป็นลักษณะของโปรแกรมบนเว็บชนิด
หนึ2งที2สร ้างขึGนมาเพื2อใช ้เป็นแลกเปลี2ยนความคิดเห็นหรือสร ้างประเด็นเนืGอหา
ที2น่าสนใจ ซึ2งจะมีผู้คนเข ้ามาแสดงความคิดเห็นแลกเปลี2ยนกันอยู่เสมอ
การลงประกาศที2นิยมกันเป็นส่วนมากจะอาศัยการพิมพ์
ข ้อความ (text) ที2บอกถึงคุณสมบัติหรือลักษณะของสินค ้าหรือบริการอย่าง
คร่าว ๆ รวมทัGงแจ ้งตําแหน่ง URL ของเว็บไซต์ไปด ้วย เพื2อให ้ลูกค ้าสามารถ
เข ้ามาเยี2ยมชมได ้ในภายหลัง หรือผู้ให ้บริการบางรายยินยอมให ้เผยแพร่
รูปภาพตัวอย่างได ้ด ้วย
จัดทําป้ ายโฆษณาออนไลน์
ป้ายโฆษณาออนไลน์อาจมีทัGงข ้อวามโฆษณาอย่าง ๆ สัGน รวมถึงรูปภาพ
หลาย ๆ ภาพนํามาเรียงซ ้อนต่อเนื2องกันให ้เกิดภาพเคลื2อนไหว และอาจเพิ2ม
สีสันและดึงดูดความสนใจมากยิ2งขึGนด ้วยเทคนิคแปลก ๆ เหมือนกับการสร ้าง
ป้ายโฆษณาจริง ๆ เช่น มีไฟล ้อมกรอบและกระพริบเพื2อให ้ดูน่าสนใจ หรือใช ้
สีสันที2โดดเด่น เป็นต ้น
การโฆษณาแบบนีGอาจมีค่าใช ้จ่ายสูงกว่าการโฆษณาผ่านกระดานข่าว
เนื2องจากต ้องไปขอติดตัGงป้ายโฆษณานีGกับกลุ่มเว็บเป้าหมายนัGนเสียก่อน ซึ2ง
โดยปกติมักจะต ้องเสียค่าธรรมเนียมด ้วย
โฆษณาผ่านอีเมล์
วิธีนีGเป็นการส่งอีเมล์ในรูปแบบที2คล ้าย ๆ กับแผ่นพับหรือโบรชัวร์ เพื2อ
แจ ้งข่าวสารให ้กับผู้สนใจได ้ทราบและเข ้ามาเยี2ยมชมเว็บไซต์เพื2อซืGอสินค ้า
ภายหลัง
เผยแพร่ผ่านสื)ออื)น ๆ
การโฆษณาด ้วยวิธีนีG เป็นวิธีที2ใช ้กันมาอย่างยาวนานและให ้ผลดีเช่น
เดียวกัน พบเห็นได ้กับการเผยแพร่ผ่านสื2อวิทยุ โทรทัศน์หรือสื2ออื2น ๆ เช่น
หนังสือ นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ หรือแม ้กระทั2งรถโดยสารสาธารณะ วิธี
นีGอาจมีค่าใช ้จ่ายที2สูงกว่าแบบอื2น ๆ
ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล
ปัจจุบันมีผู้ให ้บริการค ้นหาข ้อมูล (search engine) เกิดขึGนอย่างมากมาย
ทัGงของไทยและต่างประเทศ เช่น Google, Yahoo, Lycos, Astalavista,
Sanook หรือ Hunsa ซึ2งเป็นกลุ่มที2เก็บข ้อมูลเว็บไซต์ไว ้ในฐานข ้อมูลเพื2อให ้ผู้
ใช ้บริการเข ้ามาค ้นข ้อมูลได ้โดยสะดวก โดยใช ้กลุ่มคําที2ต ้องการ
ค ้น (keyword) ระบุลงในเว็บไซต์ของผู้ให ้บริการเหล่านีG ก็สามารถเข ้าถึง
ข ้อมูลนัGนได ้ง่าย ๆ ที2สําคัญคือต ้องรู้ว่าไซต์ไหนที2ลูกค ้าเป้าหมายนิยมใช ้ค ้นหา
ข ้อมูล
การลงทะเบียนเพื)อโฆษณาเว็บไซต์
ร ้านค ้าขนาดย่อมอาจอาศัยบริษัทตัวกลางทําหน้าที2ดําเนินการให ้แบบ
เสร็จสรรพและสมารถลงทะเบียนกับผู้ให ้บริการค ้นหาข ้อมูลได ้เป็นจํานวนมาก
ซึ2งอาจมีค่าใช ้จ่ายบ ้างเล็กน้อย หรือจะแจ ้งไปยังผู้ให ้บริการค ้นหาข ้อมูลนัGนได ้
โดยตรง ซึ2งก็ขึGนอยู่กับว่าแต่ละแห่งนัGนมีบริการที2ฟรีหรือต ้องเสียเงินในการขอ
ลงทะเบียนหรือไม่ วิธีนีGอาจทําให ้สินค ้าเป็นที2รู้จักของคนทั2วโลกได ้ง่ายมากขึGน
ด ้วย
ขั#นตอนที) 3 ทํารายการซื#อขาย
ขัGนตอนนีGนับเป็นหัวใจสําคัญของการค ้าอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอินเตอร์เน็ตที
เดียว เพราะเป็นจุดที2จะวัดเป็นตัวเงินได ้ว่าจะขายได ้เท่าไหร่ ผลได ้ผลเสียนัGน
คุ้มหรือไม่คุ้ม ขัGนตอนนีGจะประกอบด ้วยการทํารายการสั2งซืGอหรือ order ซึ2ง
มีหน้าตาของแบบฟอร์มบนจอให ้กรอกข ้อมูล จะแตกต่างกันไปแล ้วแต่วิธีการ
ออกแบบของแต่ละแห่ง
เว็บไซต์บางแห่งจะมีระบบที2เรียกว่า รถเข็นสินค ้า (shopping cart) จัด
ไว ้ให ้ลูกค ้าใช ้งานด ้วย เมื2ออยากได ้สินค ้าชิGนได ้ก็คลิกปุ่ ม Add to shopping
cart เพื2อจับใส่รถเข็นไปเรื2อย ๆ จนกว่าจะเลิกช็อปปิGงค่อยยืนยันรายการของที2
ซืGอและชําระเงินเพื2อออกจากระบบ คล ้าย ๆ กับกรณีของการเข ้าไปเลือกซืGอ
สินค ้าในซุปเปอร์มาร์เก็ต เมื2อเลือกและหยิบใส่รถเข็นจนพอใจแล ้วจึงค่อยมา
ขําระเงินตรงทางออก เป็นต ้น
การชําระเงินในระบบการค ้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นีG วิธีที2นิยมทํา
กันมากที2สุดในขณะนีG คือการใช ้บัตรเครดิต โดยการป้อนชื2อเจ ้าของบัตร วัน
หมุดอายุบัตร หมายเลขบัตรเครดิต รวมถึงรหัสบัตรส่วนที2อยู่ด ้านหลังลงใน
แบบฟอร์มบนจอที2เตรียมไว ้ให ้
กรณีนีGอาจทําให ้ผู้ซืGอจํานวนไม่น้อยเกิดความไม่เชื2อถือผู้ขายบางรายได ้
ว่าจะเอาข ้อมูลต่าง ๆ เหล่านีGไปใช ้หักเงินในรายการอื2น ๆ ที2ไม่เกี2ยวข ้องหรือ
ไม่ ดังนัGนเพื2อให ้เกิดระบบที2เชื2อถือได ้และมั2นใจด ้วยกันทัGงสองฝ่ าย อาจต ้อง
อาศัยการเข ้ารหัสที2ผูกกันอย่างซับซ ้อนหลายชัGน เพื2อให ้ข ้อมูลที2รับส่งกันใน
ขัGนตอนนีGมีความปลอดภัยและเชื2อถือได ้จากทัGงสองฝ่ าย กล่าวคือจะมี
วัตถุประสงค์หลัก ๆ คือ รักษาความลับ เชื2อถือได ้และพิสูจน์ทราบตัวตนจริง
ๆ ของทัGงผู้ซืGอและผู้ขาย
!
!
!
ขั#นตอนที) 4 ส่งมอบสินค้า
เมื2อผู้ขายสินค ้าได ้รับชําระเงินด ้วยวิธีการต่าง ๆ จากผู้ซืGอในขัGนตอน
การชําระเงินเรียบร ้อยแล ้ว ก็เป็นหน้าที2ของผู้ขายจะต ้องจัดส่งสินค ้าต่าง ๆ
ตามรายการสั2งซืGอนัGนไปให ้กับลูกค ้าโดยเร็ว โดยปกติอาจแบ่งหมวดหมู่ของ
สินค ้าที2จะจัดส่งได ้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนีG
สินค้าที)จับต้องได้ (hard goods)
สินค ้าที2จัดอยู่ในกลุ่มที2มีตัวตนและจับต ้องได ้เช่น หนังสือ เสืGอผ ้า
รองเท ้า เครื2องประดับ สินค ้าหัตถกรรม อาจต ้องอาศัยวิธีการส่งตามปกติทั2วไป
เช่น ระบบไปรษณีย์ ทางเรือ อากาศ เป็นต ้น
สินค้าที)จับต้องไม่ได้ (soft goods)
สินค ้าที2จับต ้องไม่ได ้หรือสินค ้าที2อยู่ในรูปดิจิตอล เช่น ข ้อมูลข่าวสาร
เพลง รูปภาพ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ จะสามารถ
จัดส่งได ้ง่ายกว่าแบบจับต ้องได ้ เพราะสินค ้าที2ไม่มีตัวตนและสามารถส่งมอบ
ด ้วยวิธีที2ง่ายที2สุดคือ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยการให ้ดาวน์โหลดนั2นเอง
แต่ทัGงนีGอาจแตกต่างกันบ ้างตามประเภทของสินค ้า
ขั#นตอนที) 5 บริการหลังการขาย
ข ้อนีGเป็นสิ2งที2อยู่ท ้ายที2สุด แต่ก็มีความสําคัญไม่น้อยกว่าขัGนตอนอื2น ๆ
เพราะเป็นขัGนตอนที2จะเสริมสร ้างความพึงพอใจให ้กับลูกค ้า ทําให ้เกิดการซืGอ
ขายสินค ้าและบริการซ ้ําหรือแนะนําต่อไปได ้อีก นอกจากนีGยังเป็นช่องทางที2จะ
รับ feed back หรือข ้อคิดเห็นต่าง ๆ จากลูกค ้าอีกด ้วย ว่าตัวสินค ้าและบริการ
เอง รวมถึงขัGนตอนในการขายและการส่งมอบสินค ้าหรือบริการของเราเป็น
อย่างไร ดี/ไม่ดี หรือควรปรับปรุงอย่างไรบ ้าง เพื2อเป็นแนวทางในการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์และเพิ2มยอดขายต่อไป
การบริการหลังการขาย มักนําไปใช ้กับสินค ้าที2มีการใช ้งานยุ่งยาก ซับ
ซ ้อนหรือไม่สามารถทําความเข ้าใจได ้โดยทันที เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ เครื2องจักรหรือเครื2องมืออื2น ๆ ซึ2งจะมีการให ้ความรู้และคําแนะนําที2
จําเป็นกับลูกค ้าเพื2อให ้ใช ้ประโยชน์ได ้อย่างเต็มที2 ซึ2งอาจทําได ้โดยจัดตัGงเป็น
ศูนย์บริการลูกค ้าจริง ๆ หรือที2นิยมเรียกว่า call center ขึGน เพื2อแก ้ไขหรือตอบ
ปัญหากับลูกค ้าได ้ตลอด 24 ชั2วโมง บางบริษัทอาจสร ้างระบบปัญหาถามบ่อย
หรือ FAQ (frequency ask question) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให ้ลูกค ้าเข ้า
มาอ่านได ้โดยตรง ซึ2งจะรวบรวมเอาข ้อมูลคําถามเกี2ยวกับการใช ้งานที2มักเกิด
ขึGนบ่อย ๆ หรือเป็นคําถามที2มีผู้ใช ้ถามเข ้ามามากและมีคําตอบอธิบายเพื2อช่วย
แก ้ปัญหาเบืGองต ้นให ้กับลูกค ้าได ้นั2นเอง
!

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a work3-02

บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56ppoparn
 
โครงงาน_29
โครงงาน_29โครงงาน_29
โครงงาน_29choyoungjy_97
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceNuth Otanasap
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commercethanapat yeekhaday
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนJirang Kumnuanta
 
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedเอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedSuton Rojanusorn
 
Digital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technologyDigital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technologymarsloner
 

Semelhante a work3-02 (20)

Work3-35
Work3-35Work3-35
Work3-35
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
Interactive media
Interactive mediaInteractive media
Interactive media
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56
 
โครงงาน_29
โครงงาน_29โครงงาน_29
โครงงาน_29
 
Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic Commerce
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
 
Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)
Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)
Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)
 
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printedเอกสารส่วนกลาง Dbd printed
เอกสารส่วนกลาง Dbd printed
 
Digital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technologyDigital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technology
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
B2 b and e auction
B2 b and e auctionB2 b and e auction
B2 b and e auction
 
Technology & marketing trend 2011
Technology & marketing trend 2011Technology & marketing trend 2011
Technology & marketing trend 2011
 
M commerce (power point)
M commerce (power point)M commerce (power point)
M commerce (power point)
 

work3-02

  • 1. ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! สุชัญญา กังวานสราญกุล ม.6/2 เลขที2 2 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce)
  • 2. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรือ อี-คอมเมิร์ช (E-Commerce) หมายถึง การทําธุรกรรมผ่านสื2ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที2เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซืGอขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื2ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์, โทรทัศน์, วิทยุ, หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื2อลด ค่าใช้จ่าย และเพื2มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทของความสําคัญของ องค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทําเลที2ตัGง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้อง แสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนําสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนัGนจึงลดข้อจํากัดของระยะทางและเวลา ในการทําธุรกรรมลงได้
 ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร ้านขายสินค ้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทําให ้ ลูกค ้าที2อยู่ต่างประเทศ สามารถเข ้ามาดูตัวอย่างสินค ้า และติดต่อซืGอขายกันได ้โดย ผ่านทางสื2ออิเล็กทรอนิกส์
 เทคโนโลยีสารสนเทศที2รุดหน้า ทัGงระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และ อินเทอร์เน็ต ทําให ้การสื2อสารกันเป็นไปได ้โดยง่าย และสามารถเข ้าถึงผู้ใช ้บริการได ้ หลายระดับ อีกทัGงยังสามารถโต ้ตอบกันได ้ทันที ทําให ้สามารถเสนอธุรกรรมที2หลาก หลาย เช่น การชืGอขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชําระค่าบริการสินค ้า การ ขนส่ง เป็นต ้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื2อ อิเล็กทรอนิกส์ เข ้ามาคุ้มครองเรื2องความปลอดภัย วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การค ้าอิเล็กทรอนิกส์นัGนเริ2มขึGนบนโลกครัGงแรกเมื2อปี พ.ศ. 2513 ซึ2งได ้มีการเริ2มใช ้ ระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ ในขณะนัGนมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านัGนที2ใช้งานระบบโอนเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึ2งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูล จากเดิมที2เป็นข้อมูลทางการเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื2นเพิ2มขึGน เช่น การ ส่งข้อมูลระหว่างสถาบันการเงินกับผู้ผลิต หรือผู้ค้าส่งกับผู้ค้าปลีก เป็นต้น
 หลังจากนัGนก็มีระบบสื2อสารรวมถึงโปรแกรมอื2นๆ เกิดขึGนมากมายตัGงแต่ระบบที2ใช ้ ในการซืGอขายหุ้นจนไปถึงระบบที2ช่วยในการสํารองที2พัก ซึ2งเรียกได ้ว่าโลกได ้ก ้าวเข ้า สู่ยุคของการสื2อสาร และเมื2อยุคของอินเตอร์เน็ตมาถึงเมื2อประมาณปี พ.ศ. 2533 จํานวนผู้ใช ้อินเตอร์เน็ตก็เพิ2มขึGนอย่างรวดเร็ว การค ้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได ้เกิดขึGน เหตุผลที2ทําให ้ระบบการค ้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุน การค ้าอิเล็กทรอนิกส์ที2ได ้รับการพัฒนาขึGนมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด ้วย พอ
  • 3. แบ่งกันตามความสัมพันธ์ทางการตลาดได ้3 รูปแบบดังนีG
 1. แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business to Business) เป็นธุรกรรม ระหว่างผู้ดําเนินธุรกิจด ้วยกันเอง ส่วนใหญ่เป็นการตกลงซืGอขายสินค ้าบริการ ปริมาณมาก 
 การแลกเปลี2ยนข ้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI) เป็นเทคโนโลยีที2ใช ้คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ2งไปยังอีก หน่วยงานหนึ2งโดยส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต ้น แทน การส่งเอกสารโดยพนักงานส่งสารหรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของ เอกสารที2เป็นมาตรฐานเพื2อให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ สามารถสื2อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 สําหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกําหนดโดยกรมศุลกากร ซึ2งเป็นหน่วย งานแรกที2นําระบบนีGมาใช ้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and Transport)
 
 ตัวอย่างของเอกสารที2นํามาใช ้แลกเปลี2ยนข ้อมูลด ้วยระบบ EDI เช่น ใบสั2งซืGอสินค ้า ใบเสนอราคา ใบกํากับสินค ้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกํากับภาษี เป็นต ้น
 
 บริษัทผู้ให ้บริการแลกเปลี2ยนข ้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เป็นองค์กรที2ให ้บริการ EDI ทางการค ้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทัGง ภาครัฐ ซึ2งได ้แก่ กรมศุลกากร บริษัทการบินไทย (มหาชน) จํากัด การท่าเรือแห่ง
  • 4. ภาพแสดงความสัมพันธ์ ธุรกิจแบบ (B2B : Business to Business)
 ที2มา : http://www.logisticsexchange.net/th/register.php 
 2. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (C2C : Consumer to Consumer) ผู้ชื2อและ ผู้ขายจํานวนมากจะเข้ามาเพื2อติดต่อแลกเปลี2ยนซืGอขายสินค้าและบริการ ส่วน ใหญ่จะเป็นสินค้ามือสองหรือการประมูล 
 ภาพแสดงความสัมพันธ์ ธุรกิจแบบ (C2C : Consumer to Consumer)
 http://www.boardofinnovation.com/business-model-examples/the- broker 
 3. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C:Business to Consumer) เป็นการทํา ธุรกรรมกันระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง เช่น การจองที2พักโรงแรม เสืGอผ้า ! ! ! ! !
  • 5. ขั#นตอนที) 1 ออกแบบและจัดทําเว็บไซต์ ขัGนตอนนีGเป็นด่านแรกในกระบวนการทัGงหมดของพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ บางบริษัทอาจต ้องอาศัยเทคโนโลยีในการสร ้างเว็บเพจให ้ น่าสนใจ เพื2อดึงดูดให ้ผู้คนเข ้ามาเยี2ยมชมและเรียกค ้นข ้อมูลที2ต ้องการได ้ โดยใช ้ทีมงานในบริษัทพัฒนาขึGนมาเองหรือติดต่อขอใช ้บริการจากบริษัทที2รับ ออกแบบและจัดทําเว็บไซต์ได ้โดยตรง ซึ2งมีข ้อแนะนําสําหรับการออกแบบ และจัดทําเว็บไซต์ พอสรุปได ้ดังนีG ออกแบบด้วยรูปลักษณ์ที)สวยงาม น่าสนใจ การออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจที2สวยงาม มีรูปภาพประกอบและสีสัน ต่าง ๆ ที2ดึงดูดใจ จะทําให ้ลูกค ้ารู้สึกประทับใจและอยากเข ้ามาเยี2ยมชมและ ซืGอสินค ้านัGนได ้ง่ายกว่า การออกแบบนีGอาจรวมไปถึงการใส่ข ้อมูลหรือเนืGอหาที2 เป็นเชิงมัลติมีเดีย เช่น วิดีโอ เสียง ภาพเคลื2อนไหวต่าง ๆ เข ้าไปด ้วย แต่ทัGงนีG ต ้องไม่มากจนเกินไป ออกแบบขั#นตอนวิธีใช้ที)ง่ายและสะดวก การออกแบบ "วีธีใช ้" หรือ "ขัGนตอน" ที2ดี ทําให ้ลูกค ้าสามารถค ้นหา ข ้อมูลที2ต ้องการได ้ง่ายและรวดเร็วขึGน เพราะจะทําให ้ทราบได ้ว่าการเลือกชม หน้าเว็บเพจที2ต ้องการนัGน ควรจะเลือกไปในทางไหน ในทางตรงข ้ามหากการ ออกแบบเว็บทําให ้ผู้ใช ้หลงทิศทางและไม่รู้ว่าจะทําอะไรต่อไป นับเป็นเรื2องที2 ไม่ควรทําอย่างยิ2ง ออกแบบเว็บให้ทันสมัยและเป็ นปัจจุบัน เว็บไซต์ที2ดีนัGน ควรจะมีการเปลี2ยนแปลงให ้มีอะไรใหม่ ๆ อยู่เสมอ ซึ2งจะทําให ้เว็บไซต์ (โดยเฉพาะอย่างยิ2งเว็บไซต์ที2เน้นการค ้าขาย) มีความน่า สนใจมากขึGน เหมือนกับนิตยสารที2มักจะมีการเปลี2ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ออกแบบด้วยการสร้างความแตกต่าง "เสน่ห์" หรือความน่าสนใจของแต่ละเว็บไซต์เป็นสิ2งสําคัญที2จะช่วยให ้ ลูกค ้าเลือกหรือตัดสินใจซืGอผลิตภัณฑ์ของเว็บนัGน ๆ จึงต ้องพยายามออกแบบ เว็บไซต์ให ้มีความแตกต่างและน่าสนใจกว่าคนอื2น ๆ ขั#นตอนที) 2 โฆษณาและเผยแพร่ข้อมูล ขัGนตอนนีGเป็นสิ2งที2ทํากันแพร่หลายโดยทั2วไปผ่านอินเทอร์เน็ต เพื2อ ดึงดูดให ้ผู้คนเข ้ามาเยี2ยมชมและเรียกค ้นหาข ้อมูลเพื2อซืGอสินค ้าที2ต ้องการ ซึ2ง อาจต ้องอาศัยเทคนิคต่าง ๆ เช่น ลงประกาศตามกระดานข่าว
  • 6. กระดานข่าว หรือ webboard เป็นลักษณะของโปรแกรมบนเว็บชนิด หนึ2งที2สร ้างขึGนมาเพื2อใช ้เป็นแลกเปลี2ยนความคิดเห็นหรือสร ้างประเด็นเนืGอหา ที2น่าสนใจ ซึ2งจะมีผู้คนเข ้ามาแสดงความคิดเห็นแลกเปลี2ยนกันอยู่เสมอ การลงประกาศที2นิยมกันเป็นส่วนมากจะอาศัยการพิมพ์ ข ้อความ (text) ที2บอกถึงคุณสมบัติหรือลักษณะของสินค ้าหรือบริการอย่าง คร่าว ๆ รวมทัGงแจ ้งตําแหน่ง URL ของเว็บไซต์ไปด ้วย เพื2อให ้ลูกค ้าสามารถ เข ้ามาเยี2ยมชมได ้ในภายหลัง หรือผู้ให ้บริการบางรายยินยอมให ้เผยแพร่ รูปภาพตัวอย่างได ้ด ้วย จัดทําป้ ายโฆษณาออนไลน์ ป้ายโฆษณาออนไลน์อาจมีทัGงข ้อวามโฆษณาอย่าง ๆ สัGน รวมถึงรูปภาพ หลาย ๆ ภาพนํามาเรียงซ ้อนต่อเนื2องกันให ้เกิดภาพเคลื2อนไหว และอาจเพิ2ม สีสันและดึงดูดความสนใจมากยิ2งขึGนด ้วยเทคนิคแปลก ๆ เหมือนกับการสร ้าง ป้ายโฆษณาจริง ๆ เช่น มีไฟล ้อมกรอบและกระพริบเพื2อให ้ดูน่าสนใจ หรือใช ้ สีสันที2โดดเด่น เป็นต ้น การโฆษณาแบบนีGอาจมีค่าใช ้จ่ายสูงกว่าการโฆษณาผ่านกระดานข่าว เนื2องจากต ้องไปขอติดตัGงป้ายโฆษณานีGกับกลุ่มเว็บเป้าหมายนัGนเสียก่อน ซึ2ง โดยปกติมักจะต ้องเสียค่าธรรมเนียมด ้วย โฆษณาผ่านอีเมล์ วิธีนีGเป็นการส่งอีเมล์ในรูปแบบที2คล ้าย ๆ กับแผ่นพับหรือโบรชัวร์ เพื2อ แจ ้งข่าวสารให ้กับผู้สนใจได ้ทราบและเข ้ามาเยี2ยมชมเว็บไซต์เพื2อซืGอสินค ้า ภายหลัง เผยแพร่ผ่านสื)ออื)น ๆ การโฆษณาด ้วยวิธีนีG เป็นวิธีที2ใช ้กันมาอย่างยาวนานและให ้ผลดีเช่น เดียวกัน พบเห็นได ้กับการเผยแพร่ผ่านสื2อวิทยุ โทรทัศน์หรือสื2ออื2น ๆ เช่น หนังสือ นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ หรือแม ้กระทั2งรถโดยสารสาธารณะ วิธี นีGอาจมีค่าใช ้จ่ายที2สูงกว่าแบบอื2น ๆ ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล ปัจจุบันมีผู้ให ้บริการค ้นหาข ้อมูล (search engine) เกิดขึGนอย่างมากมาย ทัGงของไทยและต่างประเทศ เช่น Google, Yahoo, Lycos, Astalavista, Sanook หรือ Hunsa ซึ2งเป็นกลุ่มที2เก็บข ้อมูลเว็บไซต์ไว ้ในฐานข ้อมูลเพื2อให ้ผู้ ใช ้บริการเข ้ามาค ้นข ้อมูลได ้โดยสะดวก โดยใช ้กลุ่มคําที2ต ้องการ ค ้น (keyword) ระบุลงในเว็บไซต์ของผู้ให ้บริการเหล่านีG ก็สามารถเข ้าถึง
  • 7. ข ้อมูลนัGนได ้ง่าย ๆ ที2สําคัญคือต ้องรู้ว่าไซต์ไหนที2ลูกค ้าเป้าหมายนิยมใช ้ค ้นหา ข ้อมูล การลงทะเบียนเพื)อโฆษณาเว็บไซต์ ร ้านค ้าขนาดย่อมอาจอาศัยบริษัทตัวกลางทําหน้าที2ดําเนินการให ้แบบ เสร็จสรรพและสมารถลงทะเบียนกับผู้ให ้บริการค ้นหาข ้อมูลได ้เป็นจํานวนมาก ซึ2งอาจมีค่าใช ้จ่ายบ ้างเล็กน้อย หรือจะแจ ้งไปยังผู้ให ้บริการค ้นหาข ้อมูลนัGนได ้ โดยตรง ซึ2งก็ขึGนอยู่กับว่าแต่ละแห่งนัGนมีบริการที2ฟรีหรือต ้องเสียเงินในการขอ ลงทะเบียนหรือไม่ วิธีนีGอาจทําให ้สินค ้าเป็นที2รู้จักของคนทั2วโลกได ้ง่ายมากขึGน ด ้วย ขั#นตอนที) 3 ทํารายการซื#อขาย ขัGนตอนนีGนับเป็นหัวใจสําคัญของการค ้าอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอินเตอร์เน็ตที เดียว เพราะเป็นจุดที2จะวัดเป็นตัวเงินได ้ว่าจะขายได ้เท่าไหร่ ผลได ้ผลเสียนัGน คุ้มหรือไม่คุ้ม ขัGนตอนนีGจะประกอบด ้วยการทํารายการสั2งซืGอหรือ order ซึ2ง มีหน้าตาของแบบฟอร์มบนจอให ้กรอกข ้อมูล จะแตกต่างกันไปแล ้วแต่วิธีการ ออกแบบของแต่ละแห่ง เว็บไซต์บางแห่งจะมีระบบที2เรียกว่า รถเข็นสินค ้า (shopping cart) จัด ไว ้ให ้ลูกค ้าใช ้งานด ้วย เมื2ออยากได ้สินค ้าชิGนได ้ก็คลิกปุ่ ม Add to shopping cart เพื2อจับใส่รถเข็นไปเรื2อย ๆ จนกว่าจะเลิกช็อปปิGงค่อยยืนยันรายการของที2 ซืGอและชําระเงินเพื2อออกจากระบบ คล ้าย ๆ กับกรณีของการเข ้าไปเลือกซืGอ สินค ้าในซุปเปอร์มาร์เก็ต เมื2อเลือกและหยิบใส่รถเข็นจนพอใจแล ้วจึงค่อยมา ขําระเงินตรงทางออก เป็นต ้น การชําระเงินในระบบการค ้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นีG วิธีที2นิยมทํา กันมากที2สุดในขณะนีG คือการใช ้บัตรเครดิต โดยการป้อนชื2อเจ ้าของบัตร วัน หมุดอายุบัตร หมายเลขบัตรเครดิต รวมถึงรหัสบัตรส่วนที2อยู่ด ้านหลังลงใน แบบฟอร์มบนจอที2เตรียมไว ้ให ้ กรณีนีGอาจทําให ้ผู้ซืGอจํานวนไม่น้อยเกิดความไม่เชื2อถือผู้ขายบางรายได ้ ว่าจะเอาข ้อมูลต่าง ๆ เหล่านีGไปใช ้หักเงินในรายการอื2น ๆ ที2ไม่เกี2ยวข ้องหรือ ไม่ ดังนัGนเพื2อให ้เกิดระบบที2เชื2อถือได ้และมั2นใจด ้วยกันทัGงสองฝ่ าย อาจต ้อง อาศัยการเข ้ารหัสที2ผูกกันอย่างซับซ ้อนหลายชัGน เพื2อให ้ข ้อมูลที2รับส่งกันใน ขัGนตอนนีGมีความปลอดภัยและเชื2อถือได ้จากทัGงสองฝ่ าย กล่าวคือจะมี วัตถุประสงค์หลัก ๆ คือ รักษาความลับ เชื2อถือได ้และพิสูจน์ทราบตัวตนจริง ๆ ของทัGงผู้ซืGอและผู้ขาย ! ! !
  • 8. ขั#นตอนที) 4 ส่งมอบสินค้า เมื2อผู้ขายสินค ้าได ้รับชําระเงินด ้วยวิธีการต่าง ๆ จากผู้ซืGอในขัGนตอน การชําระเงินเรียบร ้อยแล ้ว ก็เป็นหน้าที2ของผู้ขายจะต ้องจัดส่งสินค ้าต่าง ๆ ตามรายการสั2งซืGอนัGนไปให ้กับลูกค ้าโดยเร็ว โดยปกติอาจแบ่งหมวดหมู่ของ สินค ้าที2จะจัดส่งได ้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนีG สินค้าที)จับต้องได้ (hard goods) สินค ้าที2จัดอยู่ในกลุ่มที2มีตัวตนและจับต ้องได ้เช่น หนังสือ เสืGอผ ้า รองเท ้า เครื2องประดับ สินค ้าหัตถกรรม อาจต ้องอาศัยวิธีการส่งตามปกติทั2วไป เช่น ระบบไปรษณีย์ ทางเรือ อากาศ เป็นต ้น สินค้าที)จับต้องไม่ได้ (soft goods) สินค ้าที2จับต ้องไม่ได ้หรือสินค ้าที2อยู่ในรูปดิจิตอล เช่น ข ้อมูลข่าวสาร เพลง รูปภาพ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ จะสามารถ จัดส่งได ้ง่ายกว่าแบบจับต ้องได ้ เพราะสินค ้าที2ไม่มีตัวตนและสามารถส่งมอบ ด ้วยวิธีที2ง่ายที2สุดคือ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยการให ้ดาวน์โหลดนั2นเอง แต่ทัGงนีGอาจแตกต่างกันบ ้างตามประเภทของสินค ้า ขั#นตอนที) 5 บริการหลังการขาย ข ้อนีGเป็นสิ2งที2อยู่ท ้ายที2สุด แต่ก็มีความสําคัญไม่น้อยกว่าขัGนตอนอื2น ๆ เพราะเป็นขัGนตอนที2จะเสริมสร ้างความพึงพอใจให ้กับลูกค ้า ทําให ้เกิดการซืGอ ขายสินค ้าและบริการซ ้ําหรือแนะนําต่อไปได ้อีก นอกจากนีGยังเป็นช่องทางที2จะ รับ feed back หรือข ้อคิดเห็นต่าง ๆ จากลูกค ้าอีกด ้วย ว่าตัวสินค ้าและบริการ เอง รวมถึงขัGนตอนในการขายและการส่งมอบสินค ้าหรือบริการของเราเป็น อย่างไร ดี/ไม่ดี หรือควรปรับปรุงอย่างไรบ ้าง เพื2อเป็นแนวทางในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์และเพิ2มยอดขายต่อไป การบริการหลังการขาย มักนําไปใช ้กับสินค ้าที2มีการใช ้งานยุ่งยาก ซับ ซ ้อนหรือไม่สามารถทําความเข ้าใจได ้โดยทันที เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ เครื2องจักรหรือเครื2องมืออื2น ๆ ซึ2งจะมีการให ้ความรู้และคําแนะนําที2 จําเป็นกับลูกค ้าเพื2อให ้ใช ้ประโยชน์ได ้อย่างเต็มที2 ซึ2งอาจทําได ้โดยจัดตัGงเป็น ศูนย์บริการลูกค ้าจริง ๆ หรือที2นิยมเรียกว่า call center ขึGน เพื2อแก ้ไขหรือตอบ ปัญหากับลูกค ้าได ้ตลอด 24 ชั2วโมง บางบริษัทอาจสร ้างระบบปัญหาถามบ่อย หรือ FAQ (frequency ask question) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให ้ลูกค ้าเข ้า มาอ่านได ้โดยตรง ซึ2งจะรวบรวมเอาข ้อมูลคําถามเกี2ยวกับการใช ้งานที2มักเกิด ขึGนบ่อย ๆ หรือเป็นคําถามที2มีผู้ใช ้ถามเข ้ามามากและมีคําตอบอธิบายเพื2อช่วย แก ้ปัญหาเบืGองต ้นให ้กับลูกค ้าได ้นั2นเอง !