SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
Baixar para ler offline
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์
วัณโรคในปัจจุบัน
วัณโรค สาเหตุเกิดจากอะไร
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวัณโรค
ลักษณะของเชื้อวัณโรค
การฟักตัวของเชื้อวัณโรค
วัณโรคติดต่อกันได้อย่างไร
ใครเสี่ยงป่วยวัณโรค
วัณโรครักษาได้
วัณโรค อาการแบบไหนที่บอกว่าป่วย
อาการของวัณโรคบริเวณอวัยวะอื่น
วัณโรคปอด รักษาหายไหม
วัณโรค ป่วยแล้วมีโอกาสเสียชีวิตไหม ?
วัณโรคดื้อยา คืออะไร
การดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับ
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยจากยา
ข้อควรปฏิบัติตัวของผู้ป่วยวัณโรค
วิธีป้องกันก่อนป่วยวัณโรค
จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาลหรือไม่?
ควรไปพบแพทย์เมื่อใด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
แหล่งอ้างอิง
ผู้จัดทา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
วัณโรค เป็นโรคติดเชื้อที่ติดต่อ
โดยการสูดเอาอากาศที่มีตัวเชื้อวัณโรค
เข้าไป ถึงแม้ว่าวัณโรคจะสามารถป้องกัน
และรักษาได้ แต่วัณโรคยังคงอยู่ใน 10
อันดับแรกของสาเหตุที่ทาให้เสียชีวิต
เป็นโรคติดเชื้อเรื้อรังทีเกิดจาก
แบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
complex โดยส่วนใหญ่จะเกิดการติดเชื้อ
บริเวณปอด ที่เรียกว่า "วัณโรคปอด" แต่
ก็สามารถเกิดได้กับทุกอวัยวะทุกส่วน
ของร่างกาย เช่น ต่อมน้าเหลือง กระดูก
สมอง และลาไส้
ในสมัยก่อนนั้น เนื่องจากวิวัฒนาการทางการแพทย์ยังไม่พัฒนา ผู้ที่ป่วย
เป็นวัณโรคจึงมักจะเสียชีวิต แต่ในปัจจุบันด้วยการแพทย์ที่พัฒนามากขึ้น จึงทาให้
วัณโรคสามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยยาวัณโรคนั้นแตกต่างจากการติดเชื้อ
แบคทีเรียชนิดอื่น ๆ เนื่องจากเชื้อวัณโรคสามารถอยู่ในร่างกายผู้ป่วยได้เป็น
เวลานาน โดยไม่แสดงอาการ แต่อย่างใด เรียกว่า "วัณโรคระยะแฝง" ทั่วโลกมีผู้ป่วย
ที่เป็นวัณโรคระยะแฝงอยู่ ประมาณ 2,000 ล้านคน โดย
สถิติเฉลี่ยแล้ว 10% ของวัณโรคระยะแฝงจะพัฒนาไป
เป็นวัณโรคปอดภายใน 10 ปี
ซึ่งการที่ทางคณะผู้จัดทาได้คิดที่จะศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง
นี้เพื่อทาการหาถึงสาเหตุและปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิด
วัณโรค มีการติดต่อวัณโรคได้ทางใดบ้าง เพื่อการเฝ้า
ระวังที่อาจเกิดวัณโรค โดยฉพาะอย่างยิ่งวิธีการแก้ปัญหาวัณ
โรคหรือวิธียับยั้งให้ไม่เกิดวัณโรคมากขึ้น ในอนาคตเพื่อที่ผู้อื่นจะสามารถนาโครงงา
นี้ไปพัฒนาต่อไปอีกด้วย
วัตถุประสงค์
 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรควัณโรค
 เพื่อทราบวิธีการดูแลสุขภาพตนให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
วัณโรค
 เพื่อสื่อและแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับโรควัณโรค
วัณโรคในปัจจุบัน
วัณโรค เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อ
แบคทีเรียในกลุ่มของ Mycobacterium spp. ชนิดที่พบบ่อย
คือ Mycobacterium Tuberculosis ซึ่งเชื้อชนิดนี้จะทาให้
เนื้อเยื่อของอวัยวะต่าง ๆ เกิดการอักเสบ หลัก ๆ แบ่งเป็น 2
ประเภทคือ
วัณโรค สาเหตุเกิดจากอะไร
1. วัณโรคปอด (Pulmonary tuberculosis) ซึ่งพบ
ได้บ่อยที่สุดราวร้อยละ 80 เพราะเป็นจุดที่รับเชื้อมาก และเป็น
อวัยวะที่มีออกซิเจนมาก
2. วัณโรคนอกปอด (Extra Pulmonary TB)
จะเกิดขึ้นกับอวัยวะอื่น ๆ ได้หลายส่วน เช่น วัณโรคเยื่อ
หุ้มปอด ต่อมน้าเหลือง กระดูก หลังโพรงจมูก ข้อต่อ
ช่องท้อง ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ แต่
จะพบได้น้อยกว่าวัณโรคปอด
ทั้งนี้ จากสถิติของ
ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2560
พ บ ค น ไ ท ย เ ป็ น วั ณ โ ร ค
ประมาณ 80,000 คนจาก
ประชากร 69 ล้านคน โดยร้อย
ละ 83 จะตรวจพบที่ปอด และ
ร้อยละ 17 ตรวจพบนอกปอด
อย่างไรก็ตาม เชื้อวัณ
โรคอาจอยู่ในร่างกายของเรา
อ ยู่ แ ล้ ว แ ต่ ถ้ า เ ป็ น ผู้ ที่ มี
ภูมิคุ้มกันดี ร่างกายแข็งแรง ก็
จะกดเชื้อนั้นไว้ไม่ให้แสดง
อาการออกมา
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวัณโรค
เมื่อพูดถึงวัณโรค คนทั่วไปมักจะนึก
ถึงโรคปอดเป็นหลัก ซึ่งก็หมายถึง วัณโรคที่
เกิดขึ้นที่ปอด แต่ความจริงแล้ว วัณโรคอาจ
เป็นได้ในทุกๆ อวัยวะของร่างกาย เช่น ลาไส้
ตับ ม้าม ต่อมน้าเหลือง ผิวหนังเละเยื่อหุ้ม
สมอง
ลักษณะของเชื้อวัณโรค
เมื่อพูดถึงวัณ
โรค คนทั่วไปมักจะนึกถึง
โรคปอดเป็นหลัก ซึ่งก็
หมายถึง วัณโรคที่เกิดขึ้น
ที่ปอด แต่ความจริงแล้ว
วัณโรคอาจเป็นได้ในทุกๆ
อวัยวะของร่างกาย เช่น
ล า ไ ส้ ตั บ ม้ า ม ต่ อ ม
น้าเหลือง ผิวหนังเละเยื่อ
หุ้มสมอง
การฟักตัวของเชื้อวัณโรค
เชื้อวัณโรคมักไปฟัก
ตัวอยู่ที่ปอดกลีบบน (ซึ่งสาเหตุ
ว่าทาไมจึงพบที่บริเวณดังกล่าว
ยังไม่ทราบแน่ชัด) แต่เชื้อวัณโรค
สามารถฟักตัวที่บริเวณอื่นของ
ปอดได้เช่นกัน โดยปกติจะมีระยะ
ฟักตัวอยู่ที่ 3 สัปดาห์ ถึง 2 ปี
และในระยะเริ่มแรกจะทาให้เกิด
การติดเชื้อเล็กน้อย ซึ่งแทบจะไม่
มีอาการปรากฏให้เห็น
วัณโรคติดต่อกันได้อย่างไร
วัณโรคปอด
สามารถติดต่อจากคนสู่คนผ่านทางอากาศ
ลมหายใจ เช่น เมื่อผู้ป่วยวัณโรคไอ จาม พูดคุย ตะโกน
หัวเราะ ร้องเพลง ฯลฯ ทาให้เกิดละอองฝอยฟุ้ง
กระจายออกมา ละอองฝอยที่มีขนาดใหญ่มากจะตก
ลงสู่พื้นดินและแห้งไป ส่วนละอองฝอยที่มีขนาดเล็กจะ
ลอยและกระจายอยู่ในอากาศ ทาให้ผู้อื่นสูดหายใจเอา
ละอองฝอยที่มีเชื้อวัณโรคเข้าไป และหากในเสมหะของ
ผู้ป่วยมีเชื้อวัณโรคอยู่ด้วยแล้ว จะยิ่งมีโอกาส
แพร่กระจายได้สูงขึ้นมาก เพราะแม้แต่เสมหะแห้ง ๆ ถ้า
ไม่ถูกแดด เชื้อโรคก็ยังสามารถอยู่ในอากาศได้นานถึง
6 เดือน
ทั้งนี้หากสูดเอาละอองเล็ก
ๆ ของเชื้อวัณโรคเข้าไปในปอด ใน
คนที่มีภูมิคุ้มกันแข็งแรงอาจจะไม่
แ ส ด ง อ า ก า ร อ ะ ไ ร แ ต่ ใ น ผู้ ที่ มี
ภูมิคุ้มกันต่า เชื้ออาจแบ่งตัวเพิ่ม
จ า น ว น ขึ้ น ใ น ถุ ง ล ม ป อ ด แ ล ะ
สามารถขยายตัวลุกลามไปที่ต่อม
น้าเหลือง แพร่กระจายสู่อวัยวะต่าง
ๆ ได้
เมื่อติดเชื้อแล้วร่างกายไม่
แข็งแรง อาจแสดงอาการป่วยเร็ว
ที่สุดใน 2 ปี แต่บางคนอาจแสดง
อาการช้าที่สุดถึง 10 ปี โดยช่วง 3
เดือนก่อนป่วยนั้นคือระยะแพร่เชื้อ
วัณโรคนอกปอด
มักจะไม่มีการแพร่เชื้อ จึงมี
โอกาสติดต่อกันได้น้อยกว่า ยกเว้น
ว่าผู้ป่วยมีวัณโรคปอดร่วมด้วย หรือ
เป็นบริเวณช่องปากที่สามารถแพร่
เชื้อออกมาในอากาศได้
ใครเสี่ยงป่วยวัณโรค
วัณโรคสามารถเกิดได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย แต่จะมีคนบางกลุ่มที่มีความเสี่ยงมากกว่าคน
อื่น ๆ เช่น
• ผู้ติดเชื้อเอชไอวี เพราะมีภูมิคุ้มกันต่า จึงติดเชื้อวัณโรคได้ง่าย
• ผู้ป่วยเบาหวาน
• ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค
• เด็กและผู้สูงอายุ
• ผู้ที่อยู่อาศัยใน
พื้นที่แออัด
• ผู้ที่ดื่มสุรามาก ๆ สูบ
บุหรี่หรือติดยาเสพ
ติด
• ผู้ที่ใช้ยากดภูมิคุ้มกันหรือยาสเตียรอยด์ชนิดต่าง ๆ
• ผู้ป่วยมะเร็งที่
ต้องเข้ารับเคมี
บาบัด
• ผู้เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
วัณโรค อาการแบบไหนที่บอกว่าป่วย
วัณโรคปอด
จะแสดงอาการออกเป็น 2 ระยะ คือ
• ระยะแฝง (Latent TB Infection : LTBI)
เป็นระยะที่มีเชื้อแบคทีเรียอยู่ในร่างกาย แต่ไม่แสดงใด ๆ ให้เห็นว่าป่วย และไม่
แพร่เชื้อให้ผู้อื่น แต่เป็นเสมือนแหล่งเพาะเชื้อเตรียมพร้อมสาหรับแพร่กระจาย ต้อง
ตรวจร่างกายจึงจะพบว่ามีเชื้อแฝงอยู่ ดังนั้นจึงไม่จัดว่าเป็นผู้ป่วยวัณโรค แต่หาก
ภูมิคุ้มกันต่าลง จะกลายเป็นวัณโรคได้ต่อไป
ทั้งนี้ คาดว่าปัจจุบันมีผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงมากถึง 1 ใน 3 ของ
ประชากรทั่วโลก ขณะที่ในประเทศไทย มีประชากรไทย 20 ล้านคน ติดเชื้อแล้วอยู่ใน
ระยะแฝง อย่างไรก็ตาม พบว่ามีเพียงประมาณ 5-10% ของผู้ป่วยระยะแฝงเท่านั้นที่
จะกลายเป็นผู้ป่วยวัณโรคในระยะแสดงอาการ
• ระยะแสดงอาการ เป็นระยะที่เริ่มแสดงอาการต่าง ๆ ให้เห็นและแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
ได้ เช่น
- ไอเรื้อรังติดต่อกัน 2 สัปดาห์ขึ้นไปโดยไม่ทราบสาเหตุ
- มีไข้ต่า ๆ ช่วงบ่ายหรือเย็น
- เหงื่อออกตอนกลางคืน
- เบื่ออาหาร น้าหนักลด
- อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
- เจ็บหน้าอก
- ไอมีเสมหะปนเลือด
- มีอาการบวมที่คอ ใต้แขน หรือขาหนีบ
อย่างไรก็ตาม ในบางคนอาจมีอาการเพียงเล็กน้อย และไม่ได้มีอาการทุกข้อ
แต่หากต้องสงสัยว่าป่วยวัณโรคปอดควรรีบพบแพทย์ทันที เพื่อป้องกันการแพร่
เชื้อไปสู่ผู้อื่น
วัณโรคนอกปอด
คือเชื้อวัณโรคที่กระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย
มีอยู่ด้วยกันหลายโรค เช่น
* วัณโรคหลังโพรงจมูก พบได้น้อยกว่าร้อยละ 1
ของวัณโรคที่พบนอกปอด ผู้ป่วย 1 ใน 3 มักไม่แสดง
อาการป่วยใด ๆ และประมาณร้อยละ 70 มีต่อมน้าเหลืองที่
คอโตหรือมีก้อนบริเวณหลังโพรงจมูก การวินิจฉัยวัณ
โรคหลังโพรงจมูกจึงมักได้จากการตรวจชิ้นเนื้อที่ก้อน
หรือต่อมน้าเหลือง
* วัณโรคกระดูก หรือวัณโรคกระดูกสันหลัง หาก
เชื้อเข้าไปทาลายกระดูก จะทาให้กระดูกยุบตัว หลังโก่งงอ
มีหนองหรือเศษกระดูก หมอนรองกระดูกเลื่อน และเมื่อเข้า
สู่ช่องไขสันหลังจะเกิดการกดทับประสาทที่ไขสันหลัง จน
ทาให้เป็นอัมพาตที่ขาได้
* วัณโรคต่อมน้าเหลือง มีอาการต่อมน้าเหลืองโต พบก้อนที่คอ อาจร่วมกับไข้เรื้อรัง
หากก้อนโตมากจนเกิดแผลและแผลแตกออกจะกลายเป็นหนองได้ เมื่อเป็นแล้ว แผลจะหายช้าแม้จะ
ได้รับการรักษาแล้ว ทั้งนี้ วัณโรคต่อมน้าเหลืองสามารถลุกลามไปตามต่อมน้าเหลืองบริเวณต่าง ๆ
ของร่างกายได้ด้วย และระหว่างการรักษาวัณโรคต่อมน้าเหลืองอาจจะพบต่อมน้าเหลืองต่อมใหม่
โตขึ้นมา หรืออาจยังมีรอยโรคอยู่หลังรักษาครบแล้ว
* วัณโรคเยื่อหุ้มสมอง เป็นวัณโรคที่มีอาการรุนแรง อาการแสดงคือ มีไข้ต่า ๆ เบื่อ
อาหาร น้าหนักลง อาจมีอาการคอแข็งหรือไม่ก็ได้ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ปวดศีรษะ การวินิจฉัย
ทาได้โดยการเจาะตรวจน้าไขสันหลัง
* วัณโรคช่องท้อง เป็นวัณโรคที่เกิดในบริเวณช่องท้อง เช่น
วัณโรคตับ ลาไส้ เยื่อบุช่องท้อง ฯลฯ มีอาการท้องโต พบน้าในช่อง
ท้อง มักคลาพบก้อนในช่องท้องซึ่งต้องตรวจจึงจะทราบว่าป่วย และ
หากมีภาวะแทรกซ้อน เช่น การแตกของลาไส้สามารถทาให้เสียชีวิตได้
อาการของวัณโรคบริเวณอวัยวะอื่น
วัณโรคบริเวณอวัยวะอื่นที่พบบ่อยมักจะเป็น
ที่ต่อมน้าเหลืองบริเวณคอ ต่อมจะโตมากขึ้นจน
กลายเป็นฝี และแตกมีน้าหนองซึมออกมาได้ ถ้าเป็นที่
เยื่อหุ้มสมองจะมีอาการปวดศีรษะ มีไข้คอแข็ง และมี
อาการทางสมองเกิดขึ้นด้วย
วัณโรคกระดูกสันหลังเป็นอีกอวัยวะที่พบการติดเชื้อ
ได้บ่อย โดยเชื้อจะมาทางระบบไหลเวียนโลหิตแล้วมาฝังตัวที่
บริเวณกระดูกสันหลัง จากนั้นเชื้อจะค่อยๆ เติบโตจนทาให้
กระดูกสันหลังงอหรือคด หรือถึงขั้นหักได้
วัณโรครักษาได้
วัณโรคปอด รักษาหายไหม
สามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยการทานยา ซึ่งต้องใช้เวลารักษาประมาณ
6-8 เดือน โดยระยะแรกของการรักษา ผู้ป่วยต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล เพื่อ
ควบคุมเชื้อไม่ให้แพร่กระจาย หากมีอาการดีขึ้นแล้วแพทย์จึงอนุญาตให้กลับไปรักษา
ตัวต่อที่บ้านได้ แต่สิ่งสาคัญคือผู้ป่วยต้องทานยาทุกขนานอย่างต่อเนื่องและ
เคร่งครัดทุกวัน แม้อาการจะเริ่มดีขึ้นแล้วก็อย่าหยุดยาเด็ดขาด เพื่อป้องกันการเกิด
เชื้อวัณโรคดื้อยาซึ่งจะทาให้การรักษายากลาบากมากขึ้น
นอกจากนี้ ยังต้องคอยสังเกตอาการข้างเคียงอื่น ๆ ที่เกิดกับ
ร่างกายด้วย เพราะอาจเกิดโรคแทรกซ้อนอื่น ๆ ขึ้นได้ในระหว่าง
ป่วยวัณโรค เช่น ภาวะน้าในช่องหุ้มปอด เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต ฯลฯ
วัณโรค ป่วยแล้วมีโอกาสเสียชีวิตไหม ?
หากเป็นวัณโรคในอวัยวะสาคัญ เช่น
สมอง หรือมีโรคแทรกซ้อนที่อันตราย มีภาวะ
อากาศรั่วเข้าช่องเยื่อหุ้มปอด หรือเชื้อวัณโรค
กระจายเข้าสู่กระแสเลือด อาจเสียชีวิตได้ รวมทั้ง
หากเชื้อวัณโรคดื้อยา แพทย์ต้องเปลี่ยนไปใช้ยาตัว
อื่นซึ่งอาจแรงกว่า หรือให้ผลการรักษาได้ไม่ร้อย
เปอร์เซ็นต์
วัณโรคดื้อยา คืออะไร
หากยารักษาวัณโรคไม่สามารถฆ่าเชื้อวัณโรคได้
จะทาให้เชื้อเหล่านั้นกลายเป็นแบคทีเรียดื้อยา และเรียกวัณ
โรคที่เกิดจากแบคทีเรียเหล่านี้ว่า วัณโรคดื้อยา ซึ่งอาจเกิด
จากผู้ป่วยทานยาไม่ต่อเนื่อง ไม่ครบถ้วน หรือยาที่ใช้รักษา
หลายชนิดผสมกันอย่างไม่ถูกต้อง หรือยาไม่แรงพอที่จะ
กาจัดแบคทีเรียได้ทั้งหมด
หากมีอาการวัณโรคดื้่อยาแล้วจะรักษาให้หายได้
ยากกว่าเดิม เพราะแพทย์จะต้องเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่นแทน
และอาจต้องใช้เวลารักษานานเป็นปีกว่าจะทาลายเชื้อ
แบคทีเรียได้หมด นอกจากนี้ยาที่ใช้รักษาวัณโรคดื้อยายังมี
ผลข้างเคียงที่รุนแรงต่อร่างกายด้วย
การดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับผลข้างเคียงที่พบบ่อยจากยา
ผู้ป่วยที่ได้รับยาวัณโรคมีโอกาสเกิดผลข้างเคียง
จากยา หรือแม้กระทั่งเกิดการแพ้ยาได้ ผลเหล่านี้อาจมีทั้งที่ไม่
รุนแรงจนถึงรุนแรงถึงชีวิต
1. อาการทางระบบทางเดินอาหาร อาการทางระบบทางเดิน
อาหารผลข้างเคียงของ
ยาที่พบได้บ่อย ซึ่งอาการเหล่านี้ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน
เบื่ออาหาร หรือแม้กระทั่งอาการปวดท้อง โดยส่วนใหญ่แล้ว
อาการเหล่านี้จะปรากฏประมาณช่วง 2-3 สัปดาห์แรกของ
การรักษา และมักจะค่อยๆหายไปได้เองเมื่อเวลาผ่านไป แต่
อย่างไรก็ตามอาการเบื่ออาหาร และ คลื่นไส้ อาเจียนที่เกิดขึ
นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาดังกล่าวพบได้บ่อยๆว่าผู้ป่วย
เหล่านั้นอาจจะกาลังมีภาวะตับอักเสบเริ่มต้นอยู่
ดังนั้นโดยทั่วไป แพทย์ควรนัดผู้ป่วยมาพบ
ใ น ช่ ว ง 2 สั ป ด า ห์ แ ร ก ก่ อ น เ พื่ อ ดู ว่ า ผู้ ป่ ว ย มี
ผลข้างเคียงจากยา หรือมีการแพ้ยาหรือไม่ และถ้า
พบอาการต่อเนื่องดังกล่าวข้างต้นควรเจาะเลือด
ตรวจเพื่อดูว่า มีภาวะตับอักเสบหรือไม่ โดยมี
ข้อแนะนาดังนี้คือ ถ้าค่า enzyme AST สูงขึ้นไม่ถึง 3
เท่าของค่า upper normal limit อาการดังกล่าวที่
เกิดขึ้นไม่น่าจะเกิดจากภาวะตับอักเสบ แต่ถ้า AST
ตั้งแต่ 3 เท่าขึ้นไป หรือ ตั้งแต่ 5 เท่าขึ้นไปในผู้ป่วยที่
แม้ไม่มีอาการ แสดงว่าน่าจะมีการอักเสบของตับ
เกิดขึ้น
2. การออกผื่น ผู้ป่วยวัณโรคที่มีผื่นขึ้นระหว่างทานยาไม่จาเป็นต้องหยุดยาวัณ
โรคทุกราย โดยเฉพาะผื่นคันที่ขึ้นเพียงเล็กน้อย เป็นบริเวณเล็กๆ ในกรณีนี้กา
รักษาโดยให้ antihistamine ร่วมด้วยก็เพียงพอ ส่วนการหยุดยาควรทาใน
ผู้ป่วยที่ มีผื่นดังต่อไปนี้คือ ผื่นแดงขึ้นทั่วตัวโดยมีไข้ร่วมด้วย หรือมีแผลตาม
เยื่อบุซึ่งบ่งว่าเป็น Steven-Johnson Syndrome การ challenge ยาควรทาใน
ผู้ป่วยที่ผื่นหายไปมากแล้วและเว้นช่วงห่างระหว่างยาแต่ละตัว ประมาณ 3 วัน
โดยเริ่มจาก Rifampicin INH และต่อด้วย PZA หรือ Ethambutol
ตามลาดับ ถ้าไม่มีผื่น เกิดขึ้นหลัง challenge ยาครบ 3 ตัวแสดงว่ายาตัวที่
4 น่าจะเป็นสาเหตุของผื่น และไม่ควรให้ร่วมกันต่อไป ใน ทานองเดียวกันถ้าผื่น
เกิดขึ้นหลังจากการใส่ยาตัวสุดท้ายก็ควรหยุดยาตัวดังกล่าวได้เลย มีผื่นอีกแบบ
หนึ่งที่ แพทย์ควรให้ความสนใจแม้ว่าจะพบได้น้อยกว่ามากคือผื่น petechial rash
ซึ่งเกิดจาก Rifampicin induce thrombocytopenia การวินิจฉัยต้องยืนยันภาวะนี้
โดยการตรวจ CBC และตัดสาเหตุอื่นที่เป็นต้นเหตุของ thrombocytopenia ออกไป
การรักษาคือการหยุด Rifampicin โดยเด็ดขาด
ข้อควรปฏิบัติตัวของผู้ป่วยวัณโรค
• รับประทานยาวัณโรค ตามที่แพทย์
แนะนาจนครบกาหนด เพื่อป้องกันเชื้อ
วัณโรคเกิดการดื้อยา ในผู้ป่วยบาง
รายอาจเกิดอาการผิดปกติหลังจาก
เ ริ่ ม รั บ ป ร ะ ท า น ย า วั ณ โ ร ค
เช่น อาเจียน ปวดข้อ มีผื่น และปวดข้อ
ซึ่งหากผู้ป่วยมีอาการเหล่านี้ ต้องรีบ
ไปพบแพทย์โดยด่วน เพื่อปรับยาให้
เหมาะสม และต้องไปพบแพทย์ตามนัด
อย่างสม่าเสมอด้วย
• ผู้ป่วยควรอยู่แต่เฉพาะในบ้านเท่านั้น
ในช่วงแรกของการรักษา โดยเฉพาะ
ในช่วง 2 อาทิตย์แรกนั้นถือว่าเป็นระยะ
แพร่เชื้อ และผู้ป่วยควรอยู่ในห้องที่
แสงแดดส่องถึง และมีอากาศถ่ายเท
สะดวก และควรแยกห้องนอนต่างหาก
ไม่ควรออกไปในที่ชุมชน และแออัด
หากมีความจาเป็นต้องออกไปข้างนอก
ควรสวมหน้ากากควรสวมหน้ากาก
อนามัยด้วย ปิดปากทุกครั้งเวลาไอ
หรือจาม เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ
• งดสิ่งเสพติดทุกชนิด เช่น เหล้า บุหรี่
• หั น ม า รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ
ร่างกาย โดยควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
เช่น ผัก ผลไม้ ไข่ และเนื้อสัตว์ อีกทั้งยังควร
พักผ่อนให้เพียงพออีกด้วย
• ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยควรไปพบแพทย์ เพื่อตรวจ
ร่างกายและเอ็กซเรย์ปอดด้วย ซึ่งในผู้ใหญ่นั้นหาก
เอ็กซเรย์แล้ว ไม่พบความผิดปกติของปอด จะถือ
ว่าไม่เป็นวัณโรค ไม่จาเป็นต้องมีการรักษา แต่ถ้าใน
เด็กเล็ก ถึงแม้จะไม่มีอาการผิดปกติ และหลังจาก
เอ็กซเรย์แล้วไม่พบความผิดปกติของปอด ยังต้อง
มีการตรวจเพิ่มเติม ซึ่งเรียกว่า "การตรวจทูเบอร์คู
ลีน (Tuberculin skin test)" ถ้าผลออกมากเป็น
บวก แพทย์จึงจะให้การรักษาวัณโรค
วิธีป้องกันก่อนป่วยวัณโรค
• ดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
• ออกกาลังกายเป็นประจา
• เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
• ใช้ผ้าปิดปาก ปิดจมูก เมื่อไอจาม
• หมั่นตรวจร่างกายเป็นประจาทุกปี รวมทั้งเอกซเรย์ปอดปีละครั้ง
• หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอเรื้อรัง น้าหนักลด เบื่ออาหาร คลาพบก้อนผิดปกติ ควรพบ
แพทย์
• ไม่ควรอยู่ใกล้กับผู้ป่วยวัณโรคเป็นเวลานาน
• ไม่ใช้ยาเสพติด
• ไม่ทาพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
• หลีกเลี่ยงการเข้าไปในชุมชนแออัด โดยเฉพาะช่วงที่ตัวเองป่วย
• การฉีดวัคซีน BCG ช่วยป้องกันวัณโรคในเด็กได้
จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาลหรือไม่?
ในขั้นตอนของการรักษานั้นผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาล ส่วน
ในกรณีของผู้ที่มีเชื้อแบคทีเรียน้อย คือ ตรวจย้อมเสมหะแล้วไม่พบเชื้อวัณ
โรค แต่ยังมีเชื้ออยู่ในเสมหะ ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักไม่ค่อยแพร่เชื้อ แต่ก็ยังต้องมี
ความจาเป็นต้องได้รับการรักษาตามมาตรฐาน
การรักษาวัณโรค แบ่งออกเป็น 2 ระยะ
1. ระยะเข้มข้น
เป็นช่วง 2 เดือนแรกของการรักษา ช่วงนี้จะใช้ตัวยา 4 ชนิด ซึ่งด้วย
อาจจะอยู่ในยาแยกเม็ด หรือยารวมอยู่ในเม็ดเดียวกัน ระยะเข้มข้นนี้เป็นระยะ
สาคัญมาก เพราะจะช่วยลดปริมาณของเชื้อวัณโรคในปอดได้มากที่สุด และ
ช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อด้วย
2. ระยะต่อเนื่อง
ในช่วง 4 เดือนต่อมา การรักษาจะใช้ยา 2
ชนิด เพื่อกาจัดเชื้อวัณโรคที่เหลืออยู่ ซึ่งตัว
ยาอาจจะอยู่ในรูปของยาแยกเม็ด หรือยา
รวมอยู่ในเม็ดเดียวกันเช่นกัน หากกินยาตาม
สูตรนี้ ก็จะช่วยรักษาวัณโรคได้ สิ่งที่สาคัญ
มากที่สุดก็คือการรับประทานยาอย่าง
ต่อเนื่อง
หากผู้ป่วยรับประทานยาไม่ครบ เชื้อวัณโรค
อาจเกิดการพัฒนา และทาให้เกิดการดื้อยาใน
ที่สุด ทาให้ต้องรักษาด้วยยาราคาแพง และใช้
ระยะเวลาในการรักษานานกว่า 18 เดือน และ
อาจจะเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาเพิ่มมาก
ขึ้น ยิ่งถ้าหากเชื้อที่ดื้อยานี้แพร่ออกไป ก็จะทา
ให้ผู้ที่ติดเชื้อรักษาได้ยากมากขึ้นไปอีก
ควรไปพบแพทย์เมื่อใด
หากพบว่ามีอาการไอติดต่อกันเป็นเวลา 2-3
สัปดาห์ หรือไอมีเสมหะปนเลือด ควรรีบไปพบ
แพทย์เพื่อทาการวินิจฉัย และทาการรักษาก่อนที่
อาการจ ะ ลุก ลามม ากก ว่าเดิม พร้อมกัน นี้
หลังจากผู้ป่วยสูดดมเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย
ผ่านการหายใจ โดยมีเพียง 1 ใน 10 ของผู้รับเชื้อที่
จะมีโอกาสติดเชื้อ
เชื้อแบคทีเรียจะแพร่กระจายผ่าน
ทางกระแสเลือด หากคุณเป็นคนที่มี
สุขภาพแข็งแรง และมีภูมิคุ้มกันโรคดี
ส่วนใหญ่การติดเชื้อก็จะกลายเป็นแค่
การมีเชื้ออยู่เท่านั้น เชื้อวัณโรคจะไม่
ก่อให้เกิดอันตรายใด ๆ แต่อย่างไรก็
ตาม หลังจากนั้นหลายเดือน หรือหลาย
ปี ร่างกายจะถูกกระตุ้นให้เกิดโรคขึ้นได้
ในหลายอวัยวะ หากภูมิต้านทานโรค
อ่อนแอลง เชื้อจะเริ่มทาลายเซลล์ที่อยู่
รอบๆ ทาให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อจะเริ่มมี
อาการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้จัดทาโครงงานและผู้ที่เข้ามาศึกษามี
ความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรค
2. บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่
ถูกต้องเกี่ยวกับ โรควัณโรคและสามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
3. เข้าใจถึงสาเหตุของโรค การป้องกันและ
การดูแลรักษาสุขภาพ
แหล่งอ้างอิง
กองบรรณาธิการ HONESTDOCS. วัณโรค 1 ใน 10 โรคติดต่อร้ายแรงที่ก่อให้เกิด
การสูญเสีย. [ออนไลน์]. 2561. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์:
https://www.honestdocs.co/tuberculosis-death-causes
กลุ่มงานวิจัยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ. วัณโรค. [ออนไลน์]. 2553. สืบค้นเมื่อ 18
กันยายน 2562 จากเว็บไซต์:
http://www.nci.go.th/th/research/researhdivision/research_informat
ionTB.html
Kapook. วัณโรค ติดต่อง่ายผ่านลมหายใจ เช็กอาการก่อนรุนแรง. [ออนไลน์].
2552. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์:
https://health.kapook.com/view858.html
พงศ์เทพ ธีระวิทย์. วัณโรคปอด (Pulmonary tuberculosis). [ออนไลน์]. 2550.
สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์:
https://med.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medici
nebook1/TB.pdf
ผู้จัดทา
นางสาวอารียา บัวลอย เลขที่ 20
นางสาวชุติมา สนิทมาก เลขที่ 23
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
taem
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
Wan Ngamwongwan
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
Witsalut Saetae
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
Prachaya Sriswang
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
taem
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
taem
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Wan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
Adisorn Tanprasert
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
Pawat Logessathien
 

Mais procurados (20)

STD
STD STD
STD
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dT
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandais
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 

Semelhante a Finalpresentationl20 23

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
tichana
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
นายสามารถ เฮียงสุข
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
supphawan
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
pissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
nuting
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
sivapong klongpanich
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
tungmsu
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
Wan Ngamwongwan
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
Chitsanupong Prommawan
 

Semelhante a Finalpresentationl20 23 (20)

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
ไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้ายไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้าย
 
1129
11291129
1129
 
Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
 
URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
 

Finalpresentationl20 23

  • 1.
  • 3. วัณโรค อาการแบบไหนที่บอกว่าป่วย อาการของวัณโรคบริเวณอวัยวะอื่น วัณโรคปอด รักษาหายไหม วัณโรค ป่วยแล้วมีโอกาสเสียชีวิตไหม ? วัณโรคดื้อยา คืออะไร การดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับ ผลข้างเคียงที่พบบ่อยจากยา ข้อควรปฏิบัติตัวของผู้ป่วยวัณโรค วิธีป้องกันก่อนป่วยวัณโรค จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาลหรือไม่? ควรไปพบแพทย์เมื่อใด ผลที่คาดว่าจะได้รับ แหล่งอ้างอิง ผู้จัดทา
  • 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัณโรค เป็นโรคติดเชื้อที่ติดต่อ โดยการสูดเอาอากาศที่มีตัวเชื้อวัณโรค เข้าไป ถึงแม้ว่าวัณโรคจะสามารถป้องกัน และรักษาได้ แต่วัณโรคยังคงอยู่ใน 10 อันดับแรกของสาเหตุที่ทาให้เสียชีวิต เป็นโรคติดเชื้อเรื้อรังทีเกิดจาก แบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis complex โดยส่วนใหญ่จะเกิดการติดเชื้อ บริเวณปอด ที่เรียกว่า "วัณโรคปอด" แต่ ก็สามารถเกิดได้กับทุกอวัยวะทุกส่วน ของร่างกาย เช่น ต่อมน้าเหลือง กระดูก สมอง และลาไส้
  • 5. ในสมัยก่อนนั้น เนื่องจากวิวัฒนาการทางการแพทย์ยังไม่พัฒนา ผู้ที่ป่วย เป็นวัณโรคจึงมักจะเสียชีวิต แต่ในปัจจุบันด้วยการแพทย์ที่พัฒนามากขึ้น จึงทาให้ วัณโรคสามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยยาวัณโรคนั้นแตกต่างจากการติดเชื้อ แบคทีเรียชนิดอื่น ๆ เนื่องจากเชื้อวัณโรคสามารถอยู่ในร่างกายผู้ป่วยได้เป็น เวลานาน โดยไม่แสดงอาการ แต่อย่างใด เรียกว่า "วัณโรคระยะแฝง" ทั่วโลกมีผู้ป่วย ที่เป็นวัณโรคระยะแฝงอยู่ ประมาณ 2,000 ล้านคน โดย สถิติเฉลี่ยแล้ว 10% ของวัณโรคระยะแฝงจะพัฒนาไป เป็นวัณโรคปอดภายใน 10 ปี ซึ่งการที่ทางคณะผู้จัดทาได้คิดที่จะศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง นี้เพื่อทาการหาถึงสาเหตุและปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิด วัณโรค มีการติดต่อวัณโรคได้ทางใดบ้าง เพื่อการเฝ้า ระวังที่อาจเกิดวัณโรค โดยฉพาะอย่างยิ่งวิธีการแก้ปัญหาวัณ โรคหรือวิธียับยั้งให้ไม่เกิดวัณโรคมากขึ้น ในอนาคตเพื่อที่ผู้อื่นจะสามารถนาโครงงา นี้ไปพัฒนาต่อไปอีกด้วย
  • 8. วัณโรค เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อ แบคทีเรียในกลุ่มของ Mycobacterium spp. ชนิดที่พบบ่อย คือ Mycobacterium Tuberculosis ซึ่งเชื้อชนิดนี้จะทาให้ เนื้อเยื่อของอวัยวะต่าง ๆ เกิดการอักเสบ หลัก ๆ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ วัณโรค สาเหตุเกิดจากอะไร 1. วัณโรคปอด (Pulmonary tuberculosis) ซึ่งพบ ได้บ่อยที่สุดราวร้อยละ 80 เพราะเป็นจุดที่รับเชื้อมาก และเป็น อวัยวะที่มีออกซิเจนมาก
  • 9. 2. วัณโรคนอกปอด (Extra Pulmonary TB) จะเกิดขึ้นกับอวัยวะอื่น ๆ ได้หลายส่วน เช่น วัณโรคเยื่อ หุ้มปอด ต่อมน้าเหลือง กระดูก หลังโพรงจมูก ข้อต่อ ช่องท้อง ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ แต่ จะพบได้น้อยกว่าวัณโรคปอด ทั้งนี้ จากสถิติของ ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2560 พ บ ค น ไ ท ย เ ป็ น วั ณ โ ร ค ประมาณ 80,000 คนจาก ประชากร 69 ล้านคน โดยร้อย ละ 83 จะตรวจพบที่ปอด และ ร้อยละ 17 ตรวจพบนอกปอด อย่างไรก็ตาม เชื้อวัณ โรคอาจอยู่ในร่างกายของเรา อ ยู่ แ ล้ ว แ ต่ ถ้ า เ ป็ น ผู้ ที่ มี ภูมิคุ้มกันดี ร่างกายแข็งแรง ก็ จะกดเชื้อนั้นไว้ไม่ให้แสดง อาการออกมา
  • 10. ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวัณโรค เมื่อพูดถึงวัณโรค คนทั่วไปมักจะนึก ถึงโรคปอดเป็นหลัก ซึ่งก็หมายถึง วัณโรคที่ เกิดขึ้นที่ปอด แต่ความจริงแล้ว วัณโรคอาจ เป็นได้ในทุกๆ อวัยวะของร่างกาย เช่น ลาไส้ ตับ ม้าม ต่อมน้าเหลือง ผิวหนังเละเยื่อหุ้ม สมอง
  • 11. ลักษณะของเชื้อวัณโรค เมื่อพูดถึงวัณ โรค คนทั่วไปมักจะนึกถึง โรคปอดเป็นหลัก ซึ่งก็ หมายถึง วัณโรคที่เกิดขึ้น ที่ปอด แต่ความจริงแล้ว วัณโรคอาจเป็นได้ในทุกๆ อวัยวะของร่างกาย เช่น ล า ไ ส้ ตั บ ม้ า ม ต่ อ ม น้าเหลือง ผิวหนังเละเยื่อ หุ้มสมอง การฟักตัวของเชื้อวัณโรค เชื้อวัณโรคมักไปฟัก ตัวอยู่ที่ปอดกลีบบน (ซึ่งสาเหตุ ว่าทาไมจึงพบที่บริเวณดังกล่าว ยังไม่ทราบแน่ชัด) แต่เชื้อวัณโรค สามารถฟักตัวที่บริเวณอื่นของ ปอดได้เช่นกัน โดยปกติจะมีระยะ ฟักตัวอยู่ที่ 3 สัปดาห์ ถึง 2 ปี และในระยะเริ่มแรกจะทาให้เกิด การติดเชื้อเล็กน้อย ซึ่งแทบจะไม่ มีอาการปรากฏให้เห็น
  • 12. วัณโรคติดต่อกันได้อย่างไร วัณโรคปอด สามารถติดต่อจากคนสู่คนผ่านทางอากาศ ลมหายใจ เช่น เมื่อผู้ป่วยวัณโรคไอ จาม พูดคุย ตะโกน หัวเราะ ร้องเพลง ฯลฯ ทาให้เกิดละอองฝอยฟุ้ง กระจายออกมา ละอองฝอยที่มีขนาดใหญ่มากจะตก ลงสู่พื้นดินและแห้งไป ส่วนละอองฝอยที่มีขนาดเล็กจะ ลอยและกระจายอยู่ในอากาศ ทาให้ผู้อื่นสูดหายใจเอา ละอองฝอยที่มีเชื้อวัณโรคเข้าไป และหากในเสมหะของ ผู้ป่วยมีเชื้อวัณโรคอยู่ด้วยแล้ว จะยิ่งมีโอกาส แพร่กระจายได้สูงขึ้นมาก เพราะแม้แต่เสมหะแห้ง ๆ ถ้า ไม่ถูกแดด เชื้อโรคก็ยังสามารถอยู่ในอากาศได้นานถึง 6 เดือน
  • 13. ทั้งนี้หากสูดเอาละอองเล็ก ๆ ของเชื้อวัณโรคเข้าไปในปอด ใน คนที่มีภูมิคุ้มกันแข็งแรงอาจจะไม่ แ ส ด ง อ า ก า ร อ ะ ไ ร แ ต่ ใ น ผู้ ที่ มี ภูมิคุ้มกันต่า เชื้ออาจแบ่งตัวเพิ่ม จ า น ว น ขึ้ น ใ น ถุ ง ล ม ป อ ด แ ล ะ สามารถขยายตัวลุกลามไปที่ต่อม น้าเหลือง แพร่กระจายสู่อวัยวะต่าง ๆ ได้ เมื่อติดเชื้อแล้วร่างกายไม่ แข็งแรง อาจแสดงอาการป่วยเร็ว ที่สุดใน 2 ปี แต่บางคนอาจแสดง อาการช้าที่สุดถึง 10 ปี โดยช่วง 3 เดือนก่อนป่วยนั้นคือระยะแพร่เชื้อ วัณโรคนอกปอด มักจะไม่มีการแพร่เชื้อ จึงมี โอกาสติดต่อกันได้น้อยกว่า ยกเว้น ว่าผู้ป่วยมีวัณโรคปอดร่วมด้วย หรือ เป็นบริเวณช่องปากที่สามารถแพร่ เชื้อออกมาในอากาศได้
  • 14. ใครเสี่ยงป่วยวัณโรค วัณโรคสามารถเกิดได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย แต่จะมีคนบางกลุ่มที่มีความเสี่ยงมากกว่าคน อื่น ๆ เช่น • ผู้ติดเชื้อเอชไอวี เพราะมีภูมิคุ้มกันต่า จึงติดเชื้อวัณโรคได้ง่าย • ผู้ป่วยเบาหวาน • ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค • เด็กและผู้สูงอายุ • ผู้ที่อยู่อาศัยใน พื้นที่แออัด • ผู้ที่ดื่มสุรามาก ๆ สูบ บุหรี่หรือติดยาเสพ ติด • ผู้ที่ใช้ยากดภูมิคุ้มกันหรือยาสเตียรอยด์ชนิดต่าง ๆ • ผู้ป่วยมะเร็งที่ ต้องเข้ารับเคมี บาบัด • ผู้เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
  • 15. วัณโรค อาการแบบไหนที่บอกว่าป่วย วัณโรคปอด จะแสดงอาการออกเป็น 2 ระยะ คือ • ระยะแฝง (Latent TB Infection : LTBI) เป็นระยะที่มีเชื้อแบคทีเรียอยู่ในร่างกาย แต่ไม่แสดงใด ๆ ให้เห็นว่าป่วย และไม่ แพร่เชื้อให้ผู้อื่น แต่เป็นเสมือนแหล่งเพาะเชื้อเตรียมพร้อมสาหรับแพร่กระจาย ต้อง ตรวจร่างกายจึงจะพบว่ามีเชื้อแฝงอยู่ ดังนั้นจึงไม่จัดว่าเป็นผู้ป่วยวัณโรค แต่หาก ภูมิคุ้มกันต่าลง จะกลายเป็นวัณโรคได้ต่อไป ทั้งนี้ คาดว่าปัจจุบันมีผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงมากถึง 1 ใน 3 ของ ประชากรทั่วโลก ขณะที่ในประเทศไทย มีประชากรไทย 20 ล้านคน ติดเชื้อแล้วอยู่ใน ระยะแฝง อย่างไรก็ตาม พบว่ามีเพียงประมาณ 5-10% ของผู้ป่วยระยะแฝงเท่านั้นที่ จะกลายเป็นผู้ป่วยวัณโรคในระยะแสดงอาการ
  • 16. • ระยะแสดงอาการ เป็นระยะที่เริ่มแสดงอาการต่าง ๆ ให้เห็นและแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น ได้ เช่น - ไอเรื้อรังติดต่อกัน 2 สัปดาห์ขึ้นไปโดยไม่ทราบสาเหตุ - มีไข้ต่า ๆ ช่วงบ่ายหรือเย็น - เหงื่อออกตอนกลางคืน - เบื่ออาหาร น้าหนักลด - อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย - เจ็บหน้าอก - ไอมีเสมหะปนเลือด - มีอาการบวมที่คอ ใต้แขน หรือขาหนีบ อย่างไรก็ตาม ในบางคนอาจมีอาการเพียงเล็กน้อย และไม่ได้มีอาการทุกข้อ แต่หากต้องสงสัยว่าป่วยวัณโรคปอดควรรีบพบแพทย์ทันที เพื่อป้องกันการแพร่ เชื้อไปสู่ผู้อื่น
  • 17. วัณโรคนอกปอด คือเชื้อวัณโรคที่กระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย มีอยู่ด้วยกันหลายโรค เช่น * วัณโรคหลังโพรงจมูก พบได้น้อยกว่าร้อยละ 1 ของวัณโรคที่พบนอกปอด ผู้ป่วย 1 ใน 3 มักไม่แสดง อาการป่วยใด ๆ และประมาณร้อยละ 70 มีต่อมน้าเหลืองที่ คอโตหรือมีก้อนบริเวณหลังโพรงจมูก การวินิจฉัยวัณ โรคหลังโพรงจมูกจึงมักได้จากการตรวจชิ้นเนื้อที่ก้อน หรือต่อมน้าเหลือง * วัณโรคกระดูก หรือวัณโรคกระดูกสันหลัง หาก เชื้อเข้าไปทาลายกระดูก จะทาให้กระดูกยุบตัว หลังโก่งงอ มีหนองหรือเศษกระดูก หมอนรองกระดูกเลื่อน และเมื่อเข้า สู่ช่องไขสันหลังจะเกิดการกดทับประสาทที่ไขสันหลัง จน ทาให้เป็นอัมพาตที่ขาได้
  • 18. * วัณโรคต่อมน้าเหลือง มีอาการต่อมน้าเหลืองโต พบก้อนที่คอ อาจร่วมกับไข้เรื้อรัง หากก้อนโตมากจนเกิดแผลและแผลแตกออกจะกลายเป็นหนองได้ เมื่อเป็นแล้ว แผลจะหายช้าแม้จะ ได้รับการรักษาแล้ว ทั้งนี้ วัณโรคต่อมน้าเหลืองสามารถลุกลามไปตามต่อมน้าเหลืองบริเวณต่าง ๆ ของร่างกายได้ด้วย และระหว่างการรักษาวัณโรคต่อมน้าเหลืองอาจจะพบต่อมน้าเหลืองต่อมใหม่ โตขึ้นมา หรืออาจยังมีรอยโรคอยู่หลังรักษาครบแล้ว * วัณโรคเยื่อหุ้มสมอง เป็นวัณโรคที่มีอาการรุนแรง อาการแสดงคือ มีไข้ต่า ๆ เบื่อ อาหาร น้าหนักลง อาจมีอาการคอแข็งหรือไม่ก็ได้ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ปวดศีรษะ การวินิจฉัย ทาได้โดยการเจาะตรวจน้าไขสันหลัง * วัณโรคช่องท้อง เป็นวัณโรคที่เกิดในบริเวณช่องท้อง เช่น วัณโรคตับ ลาไส้ เยื่อบุช่องท้อง ฯลฯ มีอาการท้องโต พบน้าในช่อง ท้อง มักคลาพบก้อนในช่องท้องซึ่งต้องตรวจจึงจะทราบว่าป่วย และ หากมีภาวะแทรกซ้อน เช่น การแตกของลาไส้สามารถทาให้เสียชีวิตได้
  • 19. อาการของวัณโรคบริเวณอวัยวะอื่น วัณโรคบริเวณอวัยวะอื่นที่พบบ่อยมักจะเป็น ที่ต่อมน้าเหลืองบริเวณคอ ต่อมจะโตมากขึ้นจน กลายเป็นฝี และแตกมีน้าหนองซึมออกมาได้ ถ้าเป็นที่ เยื่อหุ้มสมองจะมีอาการปวดศีรษะ มีไข้คอแข็ง และมี อาการทางสมองเกิดขึ้นด้วย วัณโรคกระดูกสันหลังเป็นอีกอวัยวะที่พบการติดเชื้อ ได้บ่อย โดยเชื้อจะมาทางระบบไหลเวียนโลหิตแล้วมาฝังตัวที่ บริเวณกระดูกสันหลัง จากนั้นเชื้อจะค่อยๆ เติบโตจนทาให้ กระดูกสันหลังงอหรือคด หรือถึงขั้นหักได้
  • 21. วัณโรคปอด รักษาหายไหม สามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยการทานยา ซึ่งต้องใช้เวลารักษาประมาณ 6-8 เดือน โดยระยะแรกของการรักษา ผู้ป่วยต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล เพื่อ ควบคุมเชื้อไม่ให้แพร่กระจาย หากมีอาการดีขึ้นแล้วแพทย์จึงอนุญาตให้กลับไปรักษา ตัวต่อที่บ้านได้ แต่สิ่งสาคัญคือผู้ป่วยต้องทานยาทุกขนานอย่างต่อเนื่องและ เคร่งครัดทุกวัน แม้อาการจะเริ่มดีขึ้นแล้วก็อย่าหยุดยาเด็ดขาด เพื่อป้องกันการเกิด เชื้อวัณโรคดื้อยาซึ่งจะทาให้การรักษายากลาบากมากขึ้น นอกจากนี้ ยังต้องคอยสังเกตอาการข้างเคียงอื่น ๆ ที่เกิดกับ ร่างกายด้วย เพราะอาจเกิดโรคแทรกซ้อนอื่น ๆ ขึ้นได้ในระหว่าง ป่วยวัณโรค เช่น ภาวะน้าในช่องหุ้มปอด เยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต ฯลฯ
  • 22. วัณโรค ป่วยแล้วมีโอกาสเสียชีวิตไหม ? หากเป็นวัณโรคในอวัยวะสาคัญ เช่น สมอง หรือมีโรคแทรกซ้อนที่อันตราย มีภาวะ อากาศรั่วเข้าช่องเยื่อหุ้มปอด หรือเชื้อวัณโรค กระจายเข้าสู่กระแสเลือด อาจเสียชีวิตได้ รวมทั้ง หากเชื้อวัณโรคดื้อยา แพทย์ต้องเปลี่ยนไปใช้ยาตัว อื่นซึ่งอาจแรงกว่า หรือให้ผลการรักษาได้ไม่ร้อย เปอร์เซ็นต์
  • 23. วัณโรคดื้อยา คืออะไร หากยารักษาวัณโรคไม่สามารถฆ่าเชื้อวัณโรคได้ จะทาให้เชื้อเหล่านั้นกลายเป็นแบคทีเรียดื้อยา และเรียกวัณ โรคที่เกิดจากแบคทีเรียเหล่านี้ว่า วัณโรคดื้อยา ซึ่งอาจเกิด จากผู้ป่วยทานยาไม่ต่อเนื่อง ไม่ครบถ้วน หรือยาที่ใช้รักษา หลายชนิดผสมกันอย่างไม่ถูกต้อง หรือยาไม่แรงพอที่จะ กาจัดแบคทีเรียได้ทั้งหมด หากมีอาการวัณโรคดื้่อยาแล้วจะรักษาให้หายได้ ยากกว่าเดิม เพราะแพทย์จะต้องเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่นแทน และอาจต้องใช้เวลารักษานานเป็นปีกว่าจะทาลายเชื้อ แบคทีเรียได้หมด นอกจากนี้ยาที่ใช้รักษาวัณโรคดื้อยายังมี ผลข้างเคียงที่รุนแรงต่อร่างกายด้วย
  • 24. การดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับผลข้างเคียงที่พบบ่อยจากยา ผู้ป่วยที่ได้รับยาวัณโรคมีโอกาสเกิดผลข้างเคียง จากยา หรือแม้กระทั่งเกิดการแพ้ยาได้ ผลเหล่านี้อาจมีทั้งที่ไม่ รุนแรงจนถึงรุนแรงถึงชีวิต 1. อาการทางระบบทางเดินอาหาร อาการทางระบบทางเดิน อาหารผลข้างเคียงของ ยาที่พบได้บ่อย ซึ่งอาการเหล่านี้ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร หรือแม้กระทั่งอาการปวดท้อง โดยส่วนใหญ่แล้ว อาการเหล่านี้จะปรากฏประมาณช่วง 2-3 สัปดาห์แรกของ การรักษา และมักจะค่อยๆหายไปได้เองเมื่อเวลาผ่านไป แต่ อย่างไรก็ตามอาการเบื่ออาหาร และ คลื่นไส้ อาเจียนที่เกิดขึ นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาดังกล่าวพบได้บ่อยๆว่าผู้ป่วย เหล่านั้นอาจจะกาลังมีภาวะตับอักเสบเริ่มต้นอยู่
  • 25. ดังนั้นโดยทั่วไป แพทย์ควรนัดผู้ป่วยมาพบ ใ น ช่ ว ง 2 สั ป ด า ห์ แ ร ก ก่ อ น เ พื่ อ ดู ว่ า ผู้ ป่ ว ย มี ผลข้างเคียงจากยา หรือมีการแพ้ยาหรือไม่ และถ้า พบอาการต่อเนื่องดังกล่าวข้างต้นควรเจาะเลือด ตรวจเพื่อดูว่า มีภาวะตับอักเสบหรือไม่ โดยมี ข้อแนะนาดังนี้คือ ถ้าค่า enzyme AST สูงขึ้นไม่ถึง 3 เท่าของค่า upper normal limit อาการดังกล่าวที่ เกิดขึ้นไม่น่าจะเกิดจากภาวะตับอักเสบ แต่ถ้า AST ตั้งแต่ 3 เท่าขึ้นไป หรือ ตั้งแต่ 5 เท่าขึ้นไปในผู้ป่วยที่ แม้ไม่มีอาการ แสดงว่าน่าจะมีการอักเสบของตับ เกิดขึ้น
  • 26. 2. การออกผื่น ผู้ป่วยวัณโรคที่มีผื่นขึ้นระหว่างทานยาไม่จาเป็นต้องหยุดยาวัณ โรคทุกราย โดยเฉพาะผื่นคันที่ขึ้นเพียงเล็กน้อย เป็นบริเวณเล็กๆ ในกรณีนี้กา รักษาโดยให้ antihistamine ร่วมด้วยก็เพียงพอ ส่วนการหยุดยาควรทาใน ผู้ป่วยที่ มีผื่นดังต่อไปนี้คือ ผื่นแดงขึ้นทั่วตัวโดยมีไข้ร่วมด้วย หรือมีแผลตาม เยื่อบุซึ่งบ่งว่าเป็น Steven-Johnson Syndrome การ challenge ยาควรทาใน ผู้ป่วยที่ผื่นหายไปมากแล้วและเว้นช่วงห่างระหว่างยาแต่ละตัว ประมาณ 3 วัน โดยเริ่มจาก Rifampicin INH และต่อด้วย PZA หรือ Ethambutol ตามลาดับ ถ้าไม่มีผื่น เกิดขึ้นหลัง challenge ยาครบ 3 ตัวแสดงว่ายาตัวที่ 4 น่าจะเป็นสาเหตุของผื่น และไม่ควรให้ร่วมกันต่อไป ใน ทานองเดียวกันถ้าผื่น เกิดขึ้นหลังจากการใส่ยาตัวสุดท้ายก็ควรหยุดยาตัวดังกล่าวได้เลย มีผื่นอีกแบบ หนึ่งที่ แพทย์ควรให้ความสนใจแม้ว่าจะพบได้น้อยกว่ามากคือผื่น petechial rash ซึ่งเกิดจาก Rifampicin induce thrombocytopenia การวินิจฉัยต้องยืนยันภาวะนี้ โดยการตรวจ CBC และตัดสาเหตุอื่นที่เป็นต้นเหตุของ thrombocytopenia ออกไป การรักษาคือการหยุด Rifampicin โดยเด็ดขาด
  • 27. ข้อควรปฏิบัติตัวของผู้ป่วยวัณโรค • รับประทานยาวัณโรค ตามที่แพทย์ แนะนาจนครบกาหนด เพื่อป้องกันเชื้อ วัณโรคเกิดการดื้อยา ในผู้ป่วยบาง รายอาจเกิดอาการผิดปกติหลังจาก เ ริ่ ม รั บ ป ร ะ ท า น ย า วั ณ โ ร ค เช่น อาเจียน ปวดข้อ มีผื่น และปวดข้อ ซึ่งหากผู้ป่วยมีอาการเหล่านี้ ต้องรีบ ไปพบแพทย์โดยด่วน เพื่อปรับยาให้ เหมาะสม และต้องไปพบแพทย์ตามนัด อย่างสม่าเสมอด้วย • ผู้ป่วยควรอยู่แต่เฉพาะในบ้านเท่านั้น ในช่วงแรกของการรักษา โดยเฉพาะ ในช่วง 2 อาทิตย์แรกนั้นถือว่าเป็นระยะ แพร่เชื้อ และผู้ป่วยควรอยู่ในห้องที่ แสงแดดส่องถึง และมีอากาศถ่ายเท สะดวก และควรแยกห้องนอนต่างหาก ไม่ควรออกไปในที่ชุมชน และแออัด หากมีความจาเป็นต้องออกไปข้างนอก ควรสวมหน้ากากควรสวมหน้ากาก อนามัยด้วย ปิดปากทุกครั้งเวลาไอ หรือจาม เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ
  • 28. • งดสิ่งเสพติดทุกชนิด เช่น เหล้า บุหรี่ • หั น ม า รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ร่างกาย โดยควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เช่น ผัก ผลไม้ ไข่ และเนื้อสัตว์ อีกทั้งยังควร พักผ่อนให้เพียงพออีกด้วย • ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยควรไปพบแพทย์ เพื่อตรวจ ร่างกายและเอ็กซเรย์ปอดด้วย ซึ่งในผู้ใหญ่นั้นหาก เอ็กซเรย์แล้ว ไม่พบความผิดปกติของปอด จะถือ ว่าไม่เป็นวัณโรค ไม่จาเป็นต้องมีการรักษา แต่ถ้าใน เด็กเล็ก ถึงแม้จะไม่มีอาการผิดปกติ และหลังจาก เอ็กซเรย์แล้วไม่พบความผิดปกติของปอด ยังต้อง มีการตรวจเพิ่มเติม ซึ่งเรียกว่า "การตรวจทูเบอร์คู ลีน (Tuberculin skin test)" ถ้าผลออกมากเป็น บวก แพทย์จึงจะให้การรักษาวัณโรค
  • 29. วิธีป้องกันก่อนป่วยวัณโรค • ดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง • ออกกาลังกายเป็นประจา • เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ • ใช้ผ้าปิดปาก ปิดจมูก เมื่อไอจาม • หมั่นตรวจร่างกายเป็นประจาทุกปี รวมทั้งเอกซเรย์ปอดปีละครั้ง • หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอเรื้อรัง น้าหนักลด เบื่ออาหาร คลาพบก้อนผิดปกติ ควรพบ แพทย์ • ไม่ควรอยู่ใกล้กับผู้ป่วยวัณโรคเป็นเวลานาน • ไม่ใช้ยาเสพติด • ไม่ทาพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ • หลีกเลี่ยงการเข้าไปในชุมชนแออัด โดยเฉพาะช่วงที่ตัวเองป่วย • การฉีดวัคซีน BCG ช่วยป้องกันวัณโรคในเด็กได้
  • 30. จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาลหรือไม่? ในขั้นตอนของการรักษานั้นผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาล ส่วน ในกรณีของผู้ที่มีเชื้อแบคทีเรียน้อย คือ ตรวจย้อมเสมหะแล้วไม่พบเชื้อวัณ โรค แต่ยังมีเชื้ออยู่ในเสมหะ ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักไม่ค่อยแพร่เชื้อ แต่ก็ยังต้องมี ความจาเป็นต้องได้รับการรักษาตามมาตรฐาน การรักษาวัณโรค แบ่งออกเป็น 2 ระยะ 1. ระยะเข้มข้น เป็นช่วง 2 เดือนแรกของการรักษา ช่วงนี้จะใช้ตัวยา 4 ชนิด ซึ่งด้วย อาจจะอยู่ในยาแยกเม็ด หรือยารวมอยู่ในเม็ดเดียวกัน ระยะเข้มข้นนี้เป็นระยะ สาคัญมาก เพราะจะช่วยลดปริมาณของเชื้อวัณโรคในปอดได้มากที่สุด และ ช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อด้วย
  • 31. 2. ระยะต่อเนื่อง ในช่วง 4 เดือนต่อมา การรักษาจะใช้ยา 2 ชนิด เพื่อกาจัดเชื้อวัณโรคที่เหลืออยู่ ซึ่งตัว ยาอาจจะอยู่ในรูปของยาแยกเม็ด หรือยา รวมอยู่ในเม็ดเดียวกันเช่นกัน หากกินยาตาม สูตรนี้ ก็จะช่วยรักษาวัณโรคได้ สิ่งที่สาคัญ มากที่สุดก็คือการรับประทานยาอย่าง ต่อเนื่อง หากผู้ป่วยรับประทานยาไม่ครบ เชื้อวัณโรค อาจเกิดการพัฒนา และทาให้เกิดการดื้อยาใน ที่สุด ทาให้ต้องรักษาด้วยยาราคาแพง และใช้ ระยะเวลาในการรักษานานกว่า 18 เดือน และ อาจจะเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาเพิ่มมาก ขึ้น ยิ่งถ้าหากเชื้อที่ดื้อยานี้แพร่ออกไป ก็จะทา ให้ผู้ที่ติดเชื้อรักษาได้ยากมากขึ้นไปอีก
  • 32. ควรไปพบแพทย์เมื่อใด หากพบว่ามีอาการไอติดต่อกันเป็นเวลา 2-3 สัปดาห์ หรือไอมีเสมหะปนเลือด ควรรีบไปพบ แพทย์เพื่อทาการวินิจฉัย และทาการรักษาก่อนที่ อาการจ ะ ลุก ลามม ากก ว่าเดิม พร้อมกัน นี้ หลังจากผู้ป่วยสูดดมเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย ผ่านการหายใจ โดยมีเพียง 1 ใน 10 ของผู้รับเชื้อที่ จะมีโอกาสติดเชื้อ
  • 33. เชื้อแบคทีเรียจะแพร่กระจายผ่าน ทางกระแสเลือด หากคุณเป็นคนที่มี สุขภาพแข็งแรง และมีภูมิคุ้มกันโรคดี ส่วนใหญ่การติดเชื้อก็จะกลายเป็นแค่ การมีเชื้ออยู่เท่านั้น เชื้อวัณโรคจะไม่ ก่อให้เกิดอันตรายใด ๆ แต่อย่างไรก็ ตาม หลังจากนั้นหลายเดือน หรือหลาย ปี ร่างกายจะถูกกระตุ้นให้เกิดโรคขึ้นได้ ในหลายอวัยวะ หากภูมิต้านทานโรค อ่อนแอลง เชื้อจะเริ่มทาลายเซลล์ที่อยู่ รอบๆ ทาให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อจะเริ่มมี อาการ
  • 34. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้จัดทาโครงงานและผู้ที่เข้ามาศึกษามี ความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรค 2. บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่ ถูกต้องเกี่ยวกับ โรควัณโรคและสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3. เข้าใจถึงสาเหตุของโรค การป้องกันและ การดูแลรักษาสุขภาพ
  • 35. แหล่งอ้างอิง กองบรรณาธิการ HONESTDOCS. วัณโรค 1 ใน 10 โรคติดต่อร้ายแรงที่ก่อให้เกิด การสูญเสีย. [ออนไลน์]. 2561. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์: https://www.honestdocs.co/tuberculosis-death-causes กลุ่มงานวิจัยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ. วัณโรค. [ออนไลน์]. 2553. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์: http://www.nci.go.th/th/research/researhdivision/research_informat ionTB.html Kapook. วัณโรค ติดต่อง่ายผ่านลมหายใจ เช็กอาการก่อนรุนแรง. [ออนไลน์]. 2552. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์: https://health.kapook.com/view858.html พงศ์เทพ ธีระวิทย์. วัณโรคปอด (Pulmonary tuberculosis). [ออนไลน์]. 2550. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์: https://med.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medici nebook1/TB.pdf
  • 36. ผู้จัดทา นางสาวอารียา บัวลอย เลขที่ 20 นางสาวชุติมา สนิทมาก เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9