SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
Baixar para ler offline
P a g e | 1
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 1 เรื่อง การเก็บตัวอย่างดินและการศึกษาโครงสร้างของดิน
การเก็บตัวอย่างดิน (SOIL SAMPLING)
การเก็บตัวอย่างดินโดยเก็บตัวอย่างที่ผิวดิน
ในกรณีที่ไม่สามารถเก็บตัวอย่างดินได้ลึกถึง 1 เมตร ให้นักเรียนใช้เสียมหรือพลั่วค่อยตักดินลึกประมาณ 10
เซนติเมตร จากผิวดิน เพื่อเป็นตัวอย่างของชั้นดินที่จะศึกษาลักษณะดิน ดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1 เทคนิคการเก็บตัวอย่างดินที่ผิวดิน
การเก็บตัวอย่างดินโดยใช้สว่านเจาะดิน
1. กางแผ่นพลาสติก แผ่นกระดาษ หรือภาชนะลงบนผิวดินใกล้ๆ กับบริเวณที่จะเจาะดิน
2. เจาะดินด้วยสว่านเจาะดิน โดยค่อยๆ หมุนสว่านตามทิศตามเข็มนาฬิกาไปเรื่อยๆ ไม่ต้องออกแรงมาก จนเจาะดินได้
ระดับความลึกประมาณ 1 เมตร ค่อยๆ ดึงสว่านเจาะดินที่เก็บตัวอย่างดินขึ้นมาทีละน้อยและวางตัวอย่างดินที่เก็บได้มา
วางต่อกันตามลาดับของชั้นดินที่นาขึ้นมาลงบนแผ่นพลาสติกหรือแผ่นกระดาษที่ปูไว้
3. ระบุชั้นดิน วัดความหนาชั้นดิน คุณลักษณะของสีดิน เนื้อดิน และลักษณะอื่นๆ ที่แตกต่างกันของชั้นดินแต่ละชั้น
วิธีการตรวจวัด
1. เก็บตัวอย่างดินแต่ละชั้น โดยเลือกวิธีเก็บตัวอย่างดินให้เหมาะสมกับพื้นที่ จานวน 3 ตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูล และรายงานเพียงตัวอย่างเดียว สาหรับแต่ละจุดศึกษา
2. ใส่ตัวอย่างดินในถุงหรือภาชนะเก็บดินอื่นๆ
3. ปิดฉลากที่ถุงใส่ตัวอย่างดินแสดงชื่อจุดศึกษา ความลึกจากด้านบนสุดและล่างสุดของชั้นดิน
4. นาตัวอย่างดินกลับมาจากภาคสนาม และแผ่ดินลงบนแผ่นพลาสติกอื่นหรือบนแผ่นกระดาษเพื่อผึ่งดินให้แห้งด้วยลม
การศึกษาโครงสร้างของดิน (SOIL STRUCTURE)
โครงสร้างของดิน คือ รูปร่างของก้อนดินตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดิน แต่ละหน่วยของโครงสร้างดิน
เรียกว่า เม็ดดิน (Ped) ซึ่งดินจะมีโครงสร้างหรือไม่มีโครงสร้างก็ได้ดังนี้
P a g e | 2
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
1. ดินที่มีโครงสร้างมีแบบต่างๆ
2. ดินที่ไม่มีโครงสร้าง ประกอบด้วย 2 ลักษณะ
วิธีการตรวจวัด
1. เก็บตัวอย่างดินโดยวิธีต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาลักษณะดิน บันทึกข้อมูลเบื้องต้น เช่น สภาพแวดล้อม
2. วางดินตัวอย่างที่ยังไม่ถูกรบกวนลงบนมือ สังเกตดินในมือโดยละเอียด และสังเกตโครงสร้างของดิน ซึ่ง
โครงสร้างของดินมีหลายรูปแบบ ดังแผนภาพโครงสร้างของดิน
3. ตรวจวัดขนาด รูปร่าง และบันทึกข้อมูลลงในใบบันทึกข้อมูลการตรวจวัดคุณลักษณะดิน
P a g e | 3
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 2 เรื่อง การตรวจวัดสีดิน
การตรวจวัดสีดิน (SOIL COLOR)
สีของดิน บ่งบอกถึงสารเคมีที่เคลือบอยู่ที่อนุภาคของดิน ปริมาณสารอินทรีย์ในดิน และปริมาณความชื้นในดิน
ตัวอย่างเช่น ดินที่มีอินทรียสารมากมักเป็นดินที่มีสีเข้ม แร่ธาตุบางชนิด เช่น เหล็ก จะทาให้ดินมีสีแดงและเหลืองที่ผิวของ
อนุภาคดิน ดินในที่แล้งมักมีสีขาวเนื่องจากมีการสะสมของผลึกเกลือและด่างต่างๆ เช่น แคลเซียมคาร์บอเนต และโซเดียมคลอ
ไรด์ เป็นต้น เคลือบอยู่ สีของดินอาจมีผลมาจากปริมาณความชื้นในดิน ความชื้นที่มีอยู่นั้นขึ้นอยู่กับระยะเวลาของการระบายน้า
หรือน้าขัง ดังนั้น ดินที่มีความชื้นมากจึงมักจะมีสีเข้มกว่าดินปกติ ในการเทียบสีดินนั้นยึดตามหลักการของ Munsell
รหัส Munsell เป็นรหัสสากลที่ใช้ในการบรรยายสีของดิน สีดินแต่ละสีในสมุดเทียบสีดินของ GLOBE ประกอบด้วย
ตัวอักษรแทนชนิดของสีและตัวเลขกากับ 3 ตัวโดยไล่ตามลาดับ คือ Hue Value และ Croma
1. Hue เป็นตัวเลขและตัวอักษรประกอบกัน ค่า Hue แสดงถึงตาแหน่งของสีบนวงล้อสี (Color Wheel) สัญลักษณ์อักษรแต่ละ
ตัวแทนสีต่างๆ ได้แก่
B – สีน้าเงิน BG – สีน้าเงินเขียว
G – สีเขียว GY – สีเขียวเหลือง (สีส้ม)
N – สีเทา ขาว และดา PB – สีม่วงน้าเงิน
P – สีม่วง RP – สีม่วงแดง
R – สีแดง RY – สีเหลืองปนแดง
Y – สีเหลือง YR – สีแดงปนเหลือง
2. Value เป็นเลขตัวแรกก่อนเส้นขีดคั่น ค่า Value แสดงถึงค่าความสว่างของสี ระดับของช่วงความสว่างเริ่มจาก 0 ซึ่งเป็นสีดา
สนิท จนถึง 10 ซึ่งเป็นสีขาวบริสุทธิ์
P a g e | 4
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
3. Chroma เป็นตัวเลขหลังเส้นขีดคั่น (/) ค่า Chroma บรรยายถึง ความเข้มของสี สีที่มีค่า Chroma ต่า บางครั้งเรียกว่า สีอ่อน
ในขณะที่สีที่มีค่า Chroma สูงเรียกว่ามีความอิ่มตัวของสีสูงมีความเข้ม หรือแก่ (Vivid) ระดับความเข้มของสีเริ่มจาก 0
สาหรับสีที่มีความเข้มปานกลางเพิ่มความเข้มไปเรื่อยๆ เมื่อมีค่าสูงขึ้น
วิธีการตรวจวัด
1. หยิบเม็ดดินจากตัวอย่างดินแต่ละชั้นมาสังเกต และบันทึกลงในใบบันทึกข้อมูล ว่าเม็ดดินนั้น ชื้นแห้ง หรือว่า
เปียก ถ้าแห้งให้ทาให้ชื้นเล็กน้อยด้วยน้าจากขวดที่เตรียมไป
2. บิเม็ดดินออกเป็น 2 ส่วน
3. ยืนให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านไหล่ไปที่สมุดเทียบสีดินและตัวอย่างดินที่กาลังตรวจวัดสีดิน
4. บันทึกค่าสีดินลงในใบบันทึกข้อมูล
P a g e | 5
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 3 เรื่อง การตรวจวัดความยึดตัวของดินและการตรวจวัดเนื้อดิน
การตรวจวัดความยึดตัวของดิน (SOILA CONSISTENCE)
ความยึดตัวของดิน หมายถึง พฤติกรรมของดินที่ตอบสนองต่อแรงกระทาจากภายนอก ซึ่งสัมพันธ์กับเนื้อดิน
โครงสร้างของดิน และระดับความชื้นของดินในขณะนั้น ดังนั้นการตอบสนองของแรงกระทานี้จะเปลี่ยนแปลงตามระดับ
ความชื้น
การประเมินความยึดตัวของดินจึงกระทาเมื่อดินมีความชื้นหลายระดับ ดังนี้
1. เมื่อดินเปียก (Wet Soil) ขณะดินมีความชื้นสูงใกล้เคียงจุดอิ่มตัวด้วยน้า จะทดสอบเป็น 2 ชนิด คือ
ก. การเปลี่ยนรูปได้หรือสภาพพลาสติก (Plasticity) หมายถึง ความยากง่ายในการปั้นให้เป็นรูปต่างๆ
ข. ความเหนียว (Stickiness) หมายถึง ความยากง่ายที่ดินจะเกาะติดมือในขณะจับหรือบีบในระหว่างนิ้
2. เมื่อดินชื้น (Moist Soil) ขณะดินมีความชื้นปานกลาง จะประเมินสภาพร่วนซุย (Friability) ของก้อนดิน เมื่อถูกบีบใน
ระหว่างนิ้ว
3. ดินแห้ง (Dry Soil) ขณะก้อนดินมีระดับความชื้นผึ่งแห้งในที่ร่ม (Air Dry) จะทดสอบความแข็ง (Hardness) โดยการ
บีบในอุ้งมือ
สาหรับการทดสอบความยึดตัวของดินในเอกสารนี้ จะเป็นการทดสอบเมื่อดินมีสภาพชื้นและอธิบายความยึดตัวและระดับ
ความแข็งของแต่ละเม็ดดิน โดยใช้คาว่า ร่วน ร่วนซุย แน่น และแน่นมาก อธิบายความยึดตัวของดิน
วิธีการตรวจวัด
1. นาเม็ดดินจากดินชั้นบนถ้าดินแห้งให้ทาให้ชั้นดินชื้นโดยใช้น้าฉีดแล้วดึงเม็ดดินออกมาสังเกตการยึดตัว
ของดิน (ทาซ้าเช่นนี้สาหรับดินทุกชั้น)
2. หยิบเม็ดดินไว้ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ค่อยๆ บีบเม็ดดินจนแตกออกเป็นส่วน
P a g e | 6
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
3. บันทึกลักษณะการยึดตัวอย่างใดอย่างหนึ่งใบบันทึกข้อมูล
การตรวจวัดเนื้อดิน (SOIL TEXTURE)
เนื้อดิน เกิดจากการผสมของอนุภาคดิน 3 ขนาดในสัดส่วนต่างๆ กัน อนุภาคดินแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดใหญ่ คือ
1. ทราย เป็นอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และให้ความรู้สึกสากมือ และเนื้อดิน “หยาบ” ขนาด 2.00 – 0.05 mm (USDA1)
(ขนาด 2.00 – 0.02 mm ISSS2)
2. ทรายแป้ง เป็นอนุภาคขนาดปานกลาง และให้ความรู้สึกนุ่ม ลื่นมือ หรือ “ลักษณะคล้ายแป้ง” ขนาด 0.05 – 0.002 mm
(USDA) (ขนาด 0.02 – 0.002 mm ISSS)
3. ดินเหนียว เป็นอนุภาคขนาดเล็กที่สุด และให้ความรู้สึก “เหนียว” และแน่นยากที่จะบีบ ขนาด <0.002 mm (USDA)
(ขนาด <0.002 mm ISSS)
สามารถจาแนกเนื้อดินที่เกิดจากการผสมของอนุภาคดินของดินทราย ทรายแป้ง และดินเหนียวในสัดส่วนต่างๆ กัน
ออกเป็นย่อยๆ ได้ดังนี้ (Soil Survey Division Staff, 1993)
P a g e | 7
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
วิธีการตรวจวัด
P a g e | 8
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 9
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 10
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 11
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
คู่มือตรวจสอบเนื้อดินภาคสนาม (ชาลี นาวานุเคราะห์, 2542)
P a g e | 12
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 4 เรื่อง การตรวจวัดคาร์บอเนตอิสระ
การตรวจวัดคาร์บอเนตอิสระ (FREE CARBONATES)
สารประกอบคาร์บอเนตของแคลเซียมหรือสารอื่นๆ จะสะสมในบริเวณที่มีการผุพังของวัตถุต้นกาเนิดดิน โดย
คาร์บอเนตในดินสามารถเกิดขึ้นในสภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้งหรือในดินที่มีต้นกาเนิดมาจากหินที่มีแคลเซียมสูง เช่น หินปูน
คาร์บอเนตอิสระจะเคลือบอนุภาคดินไว้ทาให้ดินมีสภาพเป็นเบส (มีค่าพีเอชสูงกว่า 7) ดินชนิดนี้มักเกิดในที่ที่มีสภาพภูมิอากาศ
แบบแห้งแล้งหรือกึ่งแห้งแล้ง คาร์บอเนตมักจะเป็นผลึกสีขาวและมักจะทาให้เป็นรอยได้ง่ายโดยการใช้เล็บ บางครั้งในสภาพ
อากาศแบบแห้งแล้ง คาร์บอเนตสะสมรวมกันเป็นชั้นคล้ายกับการเชื่อมแข็งเป็นดาน และรากพืชไม่สามารถเจริญเติบโตผ่านชั้น
นี้ได้
การทดสอบคาร์บอเนตทาได้โดยการใช้กรด เช่น น้าส้มสายชู หยดลงบนดิน ถ้ามีคาร์บอเนต จะเกิดปฏิกิริยาระหว่าง
น้าส้มสายชู (กรด) กับคาร์บอเนต (เบส) ทาให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อมีคาร์บอนไดออกไซด์จะทาให้เกิดฟองแก๊ส ยิ่งมี
คาร์บอเนตมากเท่าไรก็จะมีฟองแก๊สเกิดขึ้นมากเท่านั้น
วิธีการตรวจวัด
1. หยดน้าส้มสายชูลงบนดิน ถ้าเกิดคาร์บอเนตอิสระขึ้น จะเห็นเป็นฟองฟู่ หรือเห็นฟองแก๊สเกิดขึ้น ซึ่งเกิดจากการทา
ปฏิกิริยาของน้าส้มสายชูกับคาร์บอเนต
2. บันทึกสิ่งที่สังเกตได้
P a g e | 13
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 5 เรื่อง การตรวจวัดอุณหภูมิดิน
การตรวจวัดอุณหภูมิดิน (SOIL TEMPERATURE)
อุณหภูมิดินมีความสัมพันธ์โดยตรงกับอุณหภูมิบรรยากาศ ตัวอย่างเช่น ในเวลากลางวันดินจะดูดซับพลังงานจากดวง
อาทิตย์ทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น ในเวลากลางคืนดินจะคายความร้อนออกสู่บรรยากาศ อุณหภูมิดินจึงอาจต่ากว่าอุณหภูมิบรรยากาศ
ในช่วงหน้าร้อนและอาจสูงกว่าอุณหภูมิอากาศในช่วงหน้าหนาว อุณหภูมิดินมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ช่วงเวลาของการ
แตกตาหรือการร่วงของใบ และอัตราการย่อยสลายของอินทรียสาร
วิธีการตรวจวัด
การเทียบมาตรฐานเทอร์มอมิเตอร์
1. เทน้า 250 มิลลิลิตร ใส่ลงไปในถังที่มีน้าแข็งครึ่งถัง
2. นาเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐานและเทอร์มอมิเตอร์สาหรับวัดดินจุ่มลงไปในถังน้าแข็ง นาน 2 นาที และควรระวังให้
ปลายเทอร์มอมิเตอร์จุ่มลงในน้าไม่ต่ากว่า 4 เซนติเมตร
3. อ่านค่าอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ทั้ง 2 อัน
4. ถ้าอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดินต่างจากเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน น้อยกว่า 2 องศาเซลเซียส แสดงว่า เทอร์มอ
มิเตอร์ดินสามารถตรวจวัดอุณหภูมิได้ค่าที่ถูกต้องและยอมรับได้
5. ถ้าค่าความแตกต่างอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดินต่างจากเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน มากกว่า 2 องศาเซลเซียส ให้
รอต่อไป 2 นาที ถ้าค่าความแตกต่างอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดินต่างจากเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน ยังคงมากกว่า
2 องศาเซลเซียส ให้ปรับนอตที่อยู่ด้านล่างของหน้าปัดอุณหภูมิด้วยประแจจนอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดิน
ใกล้เคียงกับเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน จึงจะสามารถนาเทอร์มอมิเตอร์ดินไปใช้ได้
การวัดอุณหภูมิในภาคสนาม
อุณหภูมิที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร
1. ตอกเหล็กนาร่องลงไปลึกประมาณ 15 เซนติเมตร
2. นาเทอร์มอมิเตอร์ใส่ลงในท่อพลาสติกยาว 12 เซนติเมตร สาหรับวัดอุณหภูมิที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร แล้ว
ใส่ลงในในร่องดินที่เตรียมไว้ในข้อ 1
3. รอ 2 นาที อ่านค่าอุณหภูมิดิน ครั้งที่ 1 และเวลาที่อ่านค่า บันทึกลงในใบบันทึกข้อมูล อ่านค่าอุณหภูมิดินอีก 2
ครั้ง โดยรอเวลาอ่านค่าเหลือเพียงครั้งละ 1 นาที
P a g e | 14
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
4. ถ้าค่าที่อ่านได้ทั้ง 3 ครั้ง ต่างกันไม่เกิน 1 องศาเซลเซียส ถือว่าเป็นค่าที่ยอมรับได้ แต่ถ้าค่าที่อ่านได้ทั้ง 3 ครั้ง
ต่างกันมากกว่า 1 องศาเซลเซียส ให้ตัดค่าที่แตกต่างจากกลุ่มออกและอ่านค่าอุณหภูมิดินซ้าทุก 1 นาที จนกว่าค่า
อุณหภูมิที่อ่านได้จะแตกต่างกันไม่เกิน 1 องศาเซลเซียส
ภาพที่ 1 วิธีการตรวจวัดอุณหภูมิดินที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร
อุณหภูมิที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร
วัดอุณหภูมิดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร โดยทาเช่นเดียวกับการอุณหภูมิที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร
แต่เปลี่ยนจากใช้ท่อพลาสติกยาว 12 เซนติเมตร มาใช้ท่อพลาสติกยาว 7 เซนติเมตร แล้วทาตามข้อ 1 – 4 ข้างบน
ภาพที่ 2 วิธีการตรวจวัดอุณหภูมิดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร
P a g e | 15
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 6 เรื่อง การตรวจวัดความชื้นในดิน
การตรวจวัดความชื้นในดิน (SOIL MOISTURE)
ความชื้นในดิน เป็นสัดส่วนระหว่างมวลของน้าในดินกับมวลของดินแห้ง โดยทั่วไปสัดส่วนนี้มีค่าระหว่าง 0.05 – 0.5
กรัม/กรัม มีเพียงดินที่แห้งจัดเท่านั้นที่ค่านี้น้อยกว่าปกติ เช่น ดินในทะเลทรายมีค่าต่า 0.05 กรัม/กรัม และมีเพียงดินที่มีอินทรีย
สารสูง ดินพรุ หรือดินเหนียวที่ชุ่มน้าจะมีค่าสูงกว่า 0.5 กรัม/กรัม การวัดความชื้นในดินช่วยบอกหน้าที่ของดินที่อยู่ในบริเวณ
ระบบนิเวศนั้น ตัวอย่างเช่น แสดงถึงความสามารถในการอุ้มน้าหรือไหลผ่านของน้าในดินที่เกิดจากการไหลของน้าใต้ดิน การ
ไหลของน้าผิวดิน และการคายน้าและระเหยของน้าออกสู่บรรยากาศ และยังใช้อธิบายความสามารถของดินในการให้ธาตุอาหาร
และน้าสู่พืชซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตและการอยู่รอดของพืช
1. เก็บตัวอย่างดินที่ความลึก 10 เซนติเมตร แต่ละจุด อย่างน้อย 3 ตัวอย่าง เพื่อทาการตรวจวัด 3 ซ้า
2. เขียนฉลากแสดงรายละเอียดของตัวอย่างดิน เช่น ชื่อจุดศึกษา ระดับความลึกของดิน ชื่อผู้เก็บตัวอย่างดิน วันที่เก็บ
ตัวอย่างดิน
3. ชั่งน้าหนักดินแต่ละตัวอย่างก่อนอบ
4. นาตัวอย่างดินไปอบที่อุณหภูมิ 95 – 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
5. ชั่งน้าหนักของแต่ละตัวอย่างดินหลังอบ แล้วคานวณหาค่าความชื้นตามสูตร ดังนี้
ความชื้นในดิน (กรัม/กรัม) = มวลของดินเปียก – มวลของดินแห้ง
P a g e | 16
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 7 เรื่อง การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของดิน
การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของดิน (SOIL PH)
ความเป็นกรด-เบส หรือค่าพีเอชของดิน แต่ละชั้นบอกถึงลักษณะดินต้นกาเนิด สารเคมีที่อยู่ในฝนหรือน้าที่ไหลลงสู่
ดิน การจัดการดิน และกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดิน (พืช สัตว์ และจุลินทรีย์) เช่นเดียวกับพีเอชของน้า พีเอชของดินวัดโดยใช้
ค่าล็อก pH ของดินเป็นตัวบ่งชี้สมบัติทางเคมีของดินและธาตุอาหารในดิน กิจกรรมของสารเคมีในดินส่งผลต่อพีเอช พืชแต่ละ
ชนิดก็จะขึ้นได้ในดินที่มีพีเอชต่างกัน เกษตรกรจึงมักจะใส่สารลงไปในดินเพื่อเปลี่ยนค่าพีเอชให้เหมาะกับชนิดของพืชที่จะ
ปลูกพีเอชของดินยังมีผลต่อพีเอชของน้าใต้ดินหรือแหล่งน้าอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง ดังเช่น แม่น้า หรือทะเลสาบ ค่าพีเอชของ
ดินมีค่า 1 – 14 จาแนกเป็นค่าพิสัยได้10 ระดับ ดังนี้ (Soil Survey Division Staff, 1993)
วิธีการตรวจวัด
การเตรียมตัวอย่างดินสาหรับห้องปฏิบัติการ
1. ใช้ตะแกรงร่อนดินเบอร์ 10 (ช่องตะแกรงขนาด 2 มิลลิเมตร) เหนือกระดาษ แล้วเทดินตัวอย่างลงในตะแกรง ใส่ถุงมือ
ยางเพื่อกันไม่ให้กรดและเบสจากมือของผู้ปฏิบัติไปทาให้ค่าพีเอชของดิน ผิดไปจากความเป็นจริง
2. ค่อยๆ เขี่ยเบาๆ ทาให้ดินผ่านช่องตะแกรงลงไปบนกระดาษ อย่าดันจนตะแกรงลวดโก่งด้วยการกดดินแรงเกินไป หยิบ
เอาหินและสิ่งปะปนอื่นๆ ออกจากตะแกรงทิ้งไป เก็บรักษาตัวอย่างดินที่ร่อนแล้ว แต่ละชนิดไว้สาหรับการวิเคราะห์
อื่นๆ
3. นาดินตัวอย่างที่เอาหินออกแล้วจากกระดาษใต้ตะแกรงร่อนลงในถุงพลาสติกหรือภาชนะที่แห้งและสะอาด ปิดปาก
ภาชนะ และเขียนฉลากไว้ที่ถุงเช่นเดียวกับที่เขียนไว้ที่ภาชนะที่ใช้เก็บดินภาคสนาม (เลขที่ชั้นดิน ระดับความลึกชั้น
ตัวอย่างดิน วันที่ ชื่อจุดศึกษา ตาแหน่งจุดศึกษา ฯลฯ) ตัวอย่างดินนี้สามารถนาไปใช้ในการวิเคราะห์อื่นๆ ใน
P a g e | 17
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ห้องปฏิบัติการบนฉลาก ให้เขียนชื่อจุดศึกษา เลขที่ตัวอย่างดิน เลขที่ชั้นดิน ความลึกระดับบนสุดจากผิวดิน ความลึก
ระดับล่างสุดจากผิวดิน วันที่ที่เก็บตัวอย่างดิน
4. เก็บรักษาตัวอย่างดินนี้ไว้ในที่ที่ปลอดภัย ในที่แห้งจนกว่าจะนาไปใช้
การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของดิน
1. ชั่งตัวอย่างดินที่แห้งและร่อนแล้วมา 20 กรัม เทลงในบีกเกอร์ แล้วเติมน้ากลั่น 20 หรือ 100 มิลลิลิตร เพื่อให้ได้
อัตราส่วนดิน : น้า เท่ากับ 1 : 1 ในกรณีดินร่วนและดินทราย หรืออัตราส่วน 1 : 5 ในกรณีดินเหนียว (ดินในประเทศ
ไทยส่วนใหญ่ใช้อัตราส่วน 1 : 5)
2. ใช้แท่งแก้วคนดินนานเวลา 30 วินาที แล้วพักทิ้งไว้3 นาที ทาอย่างนี้ 5 ครั้ง
3. เมื่อคนดินครบ 5 ครั้งแล้ว ตั้งทิ้งไว้จนดินในบีกเกอร์ตกตะกอน จะเห็นน้าใสๆ อยู่บริเวณด้านบน
4. จุ่มกระดาษวัดค่าพีเอช หรือปากกาวัดค่าพีเอชที่ปรับค่ามาตรฐาน ลงไปในบริเวณน้าใสๆ อย่าจุ่มลงไปให้โดนดิน
ด้านล่าง (ภาพที่ 99) รอจนค่าหยุดนิ่ง แล้วอ่านค่าพีเอช
5. เมื่อวัดค่าพีเอชเสร็จแล้ว ใช้น้ากลั่นล้างปากกาวัดค่าพีเอชบริเวณส่วนที่สัมผัสกับดินให้สะอาด แล้วใช้กระดาษทิชชูซับ
ให้แห้ง
หมายเหตุ: ก่อนการใช้พีเอชมิเตอร์ต้องมีการเทียบมาตรฐานเครื่องมือ (ดูวิธีการเทียบมาตรฐานจากหลักวิธีการดาเนินการเรื่อง
น้า)
P a g e | 18
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 8 เรื่อง การตรวจวัดความอุดมสมบูรณ์ของดิน
การตรวจวัดความอุดมสมบูรณ์ของดิน (SOIL FERTILITY)
ความอุดมสมบูรณ์ของดิน บอกได้โดยปริมาณของธาตุอาหารหลักที่ประกอบอยู่ในดิน เช่น ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส
(P) และโพแทสเซียม (K) เป็นธาตุหลักที่มีความสาคัญที่สุดที่พืชต้องการในปริมาณมากสาหรับการเจริญเติบโตที่เหมาะสมแต่
ละชั้นดินสามารถทดสอบปริมาณธาตุทั้งสามที่มีอยู่ ผลของการวัดช่วยในการกาหนดความเหมาะสมของดินสาหรับการปลูกพืช
วิธีการตรวจวัด
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมสารละลายดินโดยการสกัดดิน
1. การหาความอุดมสมบูรณ์ของดิน จะใช้ชุดทดสอบความอุดมสมบูรณ์ของดิน พร้อมสารทดสอบเพื่อหาค่า N, P และ K
ของดิน
2. ใส่น้ากลั่นลงในหลอดสกัดดินที่มาจากชุดตรวจสอบดินให้ถึงขีดปริมาตรข้างขวด หรือประมาณ 30 cm3
3. เติมสารประกอบ Floc-Ex ลงไปในหลอดสกัดจานวน 2 เม็ด ปิดปากหลอดและเขย่าให้ผสมกันจนเม็ด Floc-Ex ละลาย
หมด
4. เปิดจุกและใส่ดินที่แห้งและร่อนแล้วลงไป 1 ช้อนชาพูน (ประมาณ 5 กรัม)
5. ปิดฝาหลอดสกัดดินให้แน่นและเขย่าให้ดินทาปฏิกิริยากับสารละลายเป็นเวลา 1 นาที
6. ตั้งหลอดทิ้งไว้นั้น จนกระทั่งดินตกตะกอน (โดยปกติจะใช้เวลาประมาณ 5 นาที) สารละลายส่วนที่ใสเหนือดินจะเก็บ
ไว้ใช้ในการทดสอบหาค่าไนเตรต (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจวัดไนโตรเจน (N)
1. ใช้หลอดดูดดูดสารละลายใสที่อยู่เหนือดิน แล้วนาไปใส่ในหลอดทดลองหลอดเปล่าในชุดทดสอบดินหนึ่งหลอด จน
เกือบถึงปากหลอด (ถึงขีดบอกระดับประมาณ 10 มิลลิลิตร)
2. ใส่สาร Nitrate WR CTA ลงไปในหลอดทดลองจานวน 1 เม็ด ต้องแน่ใจว่าเศษของเม็ดสารที่แตกออกจะต้องถูกใส่เข้า
ไปในหลอดทดลองด้วยและต้องพยายามที่จะไม่สัมผัสเม็ดสารที่ใส่เข้าไปในหลอดนั้น ปิดฝาหลอด และเขย่าจนเม็ด
สารละลายจนหมด
3. วางหลอดที่เขย่าแล้ว ในแก้วหรือบีกเกอร์และตั้งทิ้งไว้5 นาที ให้เกิดสี (อย่าทิ้งไว้เกิน 10 นาที)
4. เปรียบเทียบสีชมพูของสารละลายกับแผ่นสีมาตรฐานที่แสดงระดับของไนโตรเจนในชุดทดสอบดิน บันทึกผลที่ได้
(สูง กลาง ต่า) ในใบบันทึกข้อมูลความอุดมสมบูรณ์ของดิน
5. เทสารละลายทิ้ง ล้างหลอดทดลองและปิเปตด้วยน้ากลั่น
P a g e | 19
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
ใบความรู้ 9 เรื่อง การกระจายช่องอนุภาคดิน
P a g e | 20
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 21
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 22
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 23
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 24
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 25
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน
P a g e | 26
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม ดิน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 

Mais procurados (20)

2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

Mais de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Mais de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 

การสำรวจดิน Globe tu64

  • 1. P a g e | 1 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 1 เรื่อง การเก็บตัวอย่างดินและการศึกษาโครงสร้างของดิน การเก็บตัวอย่างดิน (SOIL SAMPLING) การเก็บตัวอย่างดินโดยเก็บตัวอย่างที่ผิวดิน ในกรณีที่ไม่สามารถเก็บตัวอย่างดินได้ลึกถึง 1 เมตร ให้นักเรียนใช้เสียมหรือพลั่วค่อยตักดินลึกประมาณ 10 เซนติเมตร จากผิวดิน เพื่อเป็นตัวอย่างของชั้นดินที่จะศึกษาลักษณะดิน ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 เทคนิคการเก็บตัวอย่างดินที่ผิวดิน การเก็บตัวอย่างดินโดยใช้สว่านเจาะดิน 1. กางแผ่นพลาสติก แผ่นกระดาษ หรือภาชนะลงบนผิวดินใกล้ๆ กับบริเวณที่จะเจาะดิน 2. เจาะดินด้วยสว่านเจาะดิน โดยค่อยๆ หมุนสว่านตามทิศตามเข็มนาฬิกาไปเรื่อยๆ ไม่ต้องออกแรงมาก จนเจาะดินได้ ระดับความลึกประมาณ 1 เมตร ค่อยๆ ดึงสว่านเจาะดินที่เก็บตัวอย่างดินขึ้นมาทีละน้อยและวางตัวอย่างดินที่เก็บได้มา วางต่อกันตามลาดับของชั้นดินที่นาขึ้นมาลงบนแผ่นพลาสติกหรือแผ่นกระดาษที่ปูไว้ 3. ระบุชั้นดิน วัดความหนาชั้นดิน คุณลักษณะของสีดิน เนื้อดิน และลักษณะอื่นๆ ที่แตกต่างกันของชั้นดินแต่ละชั้น วิธีการตรวจวัด 1. เก็บตัวอย่างดินแต่ละชั้น โดยเลือกวิธีเก็บตัวอย่างดินให้เหมาะสมกับพื้นที่ จานวน 3 ตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูล และรายงานเพียงตัวอย่างเดียว สาหรับแต่ละจุดศึกษา 2. ใส่ตัวอย่างดินในถุงหรือภาชนะเก็บดินอื่นๆ 3. ปิดฉลากที่ถุงใส่ตัวอย่างดินแสดงชื่อจุดศึกษา ความลึกจากด้านบนสุดและล่างสุดของชั้นดิน 4. นาตัวอย่างดินกลับมาจากภาคสนาม และแผ่ดินลงบนแผ่นพลาสติกอื่นหรือบนแผ่นกระดาษเพื่อผึ่งดินให้แห้งด้วยลม การศึกษาโครงสร้างของดิน (SOIL STRUCTURE) โครงสร้างของดิน คือ รูปร่างของก้อนดินตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดิน แต่ละหน่วยของโครงสร้างดิน เรียกว่า เม็ดดิน (Ped) ซึ่งดินจะมีโครงสร้างหรือไม่มีโครงสร้างก็ได้ดังนี้
  • 2. P a g e | 2 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน 1. ดินที่มีโครงสร้างมีแบบต่างๆ 2. ดินที่ไม่มีโครงสร้าง ประกอบด้วย 2 ลักษณะ วิธีการตรวจวัด 1. เก็บตัวอย่างดินโดยวิธีต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาลักษณะดิน บันทึกข้อมูลเบื้องต้น เช่น สภาพแวดล้อม 2. วางดินตัวอย่างที่ยังไม่ถูกรบกวนลงบนมือ สังเกตดินในมือโดยละเอียด และสังเกตโครงสร้างของดิน ซึ่ง โครงสร้างของดินมีหลายรูปแบบ ดังแผนภาพโครงสร้างของดิน 3. ตรวจวัดขนาด รูปร่าง และบันทึกข้อมูลลงในใบบันทึกข้อมูลการตรวจวัดคุณลักษณะดิน
  • 3. P a g e | 3 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 2 เรื่อง การตรวจวัดสีดิน การตรวจวัดสีดิน (SOIL COLOR) สีของดิน บ่งบอกถึงสารเคมีที่เคลือบอยู่ที่อนุภาคของดิน ปริมาณสารอินทรีย์ในดิน และปริมาณความชื้นในดิน ตัวอย่างเช่น ดินที่มีอินทรียสารมากมักเป็นดินที่มีสีเข้ม แร่ธาตุบางชนิด เช่น เหล็ก จะทาให้ดินมีสีแดงและเหลืองที่ผิวของ อนุภาคดิน ดินในที่แล้งมักมีสีขาวเนื่องจากมีการสะสมของผลึกเกลือและด่างต่างๆ เช่น แคลเซียมคาร์บอเนต และโซเดียมคลอ ไรด์ เป็นต้น เคลือบอยู่ สีของดินอาจมีผลมาจากปริมาณความชื้นในดิน ความชื้นที่มีอยู่นั้นขึ้นอยู่กับระยะเวลาของการระบายน้า หรือน้าขัง ดังนั้น ดินที่มีความชื้นมากจึงมักจะมีสีเข้มกว่าดินปกติ ในการเทียบสีดินนั้นยึดตามหลักการของ Munsell รหัส Munsell เป็นรหัสสากลที่ใช้ในการบรรยายสีของดิน สีดินแต่ละสีในสมุดเทียบสีดินของ GLOBE ประกอบด้วย ตัวอักษรแทนชนิดของสีและตัวเลขกากับ 3 ตัวโดยไล่ตามลาดับ คือ Hue Value และ Croma 1. Hue เป็นตัวเลขและตัวอักษรประกอบกัน ค่า Hue แสดงถึงตาแหน่งของสีบนวงล้อสี (Color Wheel) สัญลักษณ์อักษรแต่ละ ตัวแทนสีต่างๆ ได้แก่ B – สีน้าเงิน BG – สีน้าเงินเขียว G – สีเขียว GY – สีเขียวเหลือง (สีส้ม) N – สีเทา ขาว และดา PB – สีม่วงน้าเงิน P – สีม่วง RP – สีม่วงแดง R – สีแดง RY – สีเหลืองปนแดง Y – สีเหลือง YR – สีแดงปนเหลือง 2. Value เป็นเลขตัวแรกก่อนเส้นขีดคั่น ค่า Value แสดงถึงค่าความสว่างของสี ระดับของช่วงความสว่างเริ่มจาก 0 ซึ่งเป็นสีดา สนิท จนถึง 10 ซึ่งเป็นสีขาวบริสุทธิ์
  • 4. P a g e | 4 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน 3. Chroma เป็นตัวเลขหลังเส้นขีดคั่น (/) ค่า Chroma บรรยายถึง ความเข้มของสี สีที่มีค่า Chroma ต่า บางครั้งเรียกว่า สีอ่อน ในขณะที่สีที่มีค่า Chroma สูงเรียกว่ามีความอิ่มตัวของสีสูงมีความเข้ม หรือแก่ (Vivid) ระดับความเข้มของสีเริ่มจาก 0 สาหรับสีที่มีความเข้มปานกลางเพิ่มความเข้มไปเรื่อยๆ เมื่อมีค่าสูงขึ้น วิธีการตรวจวัด 1. หยิบเม็ดดินจากตัวอย่างดินแต่ละชั้นมาสังเกต และบันทึกลงในใบบันทึกข้อมูล ว่าเม็ดดินนั้น ชื้นแห้ง หรือว่า เปียก ถ้าแห้งให้ทาให้ชื้นเล็กน้อยด้วยน้าจากขวดที่เตรียมไป 2. บิเม็ดดินออกเป็น 2 ส่วน 3. ยืนให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านไหล่ไปที่สมุดเทียบสีดินและตัวอย่างดินที่กาลังตรวจวัดสีดิน 4. บันทึกค่าสีดินลงในใบบันทึกข้อมูล
  • 5. P a g e | 5 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 3 เรื่อง การตรวจวัดความยึดตัวของดินและการตรวจวัดเนื้อดิน การตรวจวัดความยึดตัวของดิน (SOILA CONSISTENCE) ความยึดตัวของดิน หมายถึง พฤติกรรมของดินที่ตอบสนองต่อแรงกระทาจากภายนอก ซึ่งสัมพันธ์กับเนื้อดิน โครงสร้างของดิน และระดับความชื้นของดินในขณะนั้น ดังนั้นการตอบสนองของแรงกระทานี้จะเปลี่ยนแปลงตามระดับ ความชื้น การประเมินความยึดตัวของดินจึงกระทาเมื่อดินมีความชื้นหลายระดับ ดังนี้ 1. เมื่อดินเปียก (Wet Soil) ขณะดินมีความชื้นสูงใกล้เคียงจุดอิ่มตัวด้วยน้า จะทดสอบเป็น 2 ชนิด คือ ก. การเปลี่ยนรูปได้หรือสภาพพลาสติก (Plasticity) หมายถึง ความยากง่ายในการปั้นให้เป็นรูปต่างๆ ข. ความเหนียว (Stickiness) หมายถึง ความยากง่ายที่ดินจะเกาะติดมือในขณะจับหรือบีบในระหว่างนิ้ 2. เมื่อดินชื้น (Moist Soil) ขณะดินมีความชื้นปานกลาง จะประเมินสภาพร่วนซุย (Friability) ของก้อนดิน เมื่อถูกบีบใน ระหว่างนิ้ว 3. ดินแห้ง (Dry Soil) ขณะก้อนดินมีระดับความชื้นผึ่งแห้งในที่ร่ม (Air Dry) จะทดสอบความแข็ง (Hardness) โดยการ บีบในอุ้งมือ สาหรับการทดสอบความยึดตัวของดินในเอกสารนี้ จะเป็นการทดสอบเมื่อดินมีสภาพชื้นและอธิบายความยึดตัวและระดับ ความแข็งของแต่ละเม็ดดิน โดยใช้คาว่า ร่วน ร่วนซุย แน่น และแน่นมาก อธิบายความยึดตัวของดิน วิธีการตรวจวัด 1. นาเม็ดดินจากดินชั้นบนถ้าดินแห้งให้ทาให้ชั้นดินชื้นโดยใช้น้าฉีดแล้วดึงเม็ดดินออกมาสังเกตการยึดตัว ของดิน (ทาซ้าเช่นนี้สาหรับดินทุกชั้น) 2. หยิบเม็ดดินไว้ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ค่อยๆ บีบเม็ดดินจนแตกออกเป็นส่วน
  • 6. P a g e | 6 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน 3. บันทึกลักษณะการยึดตัวอย่างใดอย่างหนึ่งใบบันทึกข้อมูล การตรวจวัดเนื้อดิน (SOIL TEXTURE) เนื้อดิน เกิดจากการผสมของอนุภาคดิน 3 ขนาดในสัดส่วนต่างๆ กัน อนุภาคดินแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดใหญ่ คือ 1. ทราย เป็นอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และให้ความรู้สึกสากมือ และเนื้อดิน “หยาบ” ขนาด 2.00 – 0.05 mm (USDA1) (ขนาด 2.00 – 0.02 mm ISSS2) 2. ทรายแป้ง เป็นอนุภาคขนาดปานกลาง และให้ความรู้สึกนุ่ม ลื่นมือ หรือ “ลักษณะคล้ายแป้ง” ขนาด 0.05 – 0.002 mm (USDA) (ขนาด 0.02 – 0.002 mm ISSS) 3. ดินเหนียว เป็นอนุภาคขนาดเล็กที่สุด และให้ความรู้สึก “เหนียว” และแน่นยากที่จะบีบ ขนาด <0.002 mm (USDA) (ขนาด <0.002 mm ISSS) สามารถจาแนกเนื้อดินที่เกิดจากการผสมของอนุภาคดินของดินทราย ทรายแป้ง และดินเหนียวในสัดส่วนต่างๆ กัน ออกเป็นย่อยๆ ได้ดังนี้ (Soil Survey Division Staff, 1993)
  • 7. P a g e | 7 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน วิธีการตรวจวัด
  • 8. P a g e | 8 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 9. P a g e | 9 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 10. P a g e | 10 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 11. P a g e | 11 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน คู่มือตรวจสอบเนื้อดินภาคสนาม (ชาลี นาวานุเคราะห์, 2542)
  • 12. P a g e | 12 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 4 เรื่อง การตรวจวัดคาร์บอเนตอิสระ การตรวจวัดคาร์บอเนตอิสระ (FREE CARBONATES) สารประกอบคาร์บอเนตของแคลเซียมหรือสารอื่นๆ จะสะสมในบริเวณที่มีการผุพังของวัตถุต้นกาเนิดดิน โดย คาร์บอเนตในดินสามารถเกิดขึ้นในสภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้งหรือในดินที่มีต้นกาเนิดมาจากหินที่มีแคลเซียมสูง เช่น หินปูน คาร์บอเนตอิสระจะเคลือบอนุภาคดินไว้ทาให้ดินมีสภาพเป็นเบส (มีค่าพีเอชสูงกว่า 7) ดินชนิดนี้มักเกิดในที่ที่มีสภาพภูมิอากาศ แบบแห้งแล้งหรือกึ่งแห้งแล้ง คาร์บอเนตมักจะเป็นผลึกสีขาวและมักจะทาให้เป็นรอยได้ง่ายโดยการใช้เล็บ บางครั้งในสภาพ อากาศแบบแห้งแล้ง คาร์บอเนตสะสมรวมกันเป็นชั้นคล้ายกับการเชื่อมแข็งเป็นดาน และรากพืชไม่สามารถเจริญเติบโตผ่านชั้น นี้ได้ การทดสอบคาร์บอเนตทาได้โดยการใช้กรด เช่น น้าส้มสายชู หยดลงบนดิน ถ้ามีคาร์บอเนต จะเกิดปฏิกิริยาระหว่าง น้าส้มสายชู (กรด) กับคาร์บอเนต (เบส) ทาให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อมีคาร์บอนไดออกไซด์จะทาให้เกิดฟองแก๊ส ยิ่งมี คาร์บอเนตมากเท่าไรก็จะมีฟองแก๊สเกิดขึ้นมากเท่านั้น วิธีการตรวจวัด 1. หยดน้าส้มสายชูลงบนดิน ถ้าเกิดคาร์บอเนตอิสระขึ้น จะเห็นเป็นฟองฟู่ หรือเห็นฟองแก๊สเกิดขึ้น ซึ่งเกิดจากการทา ปฏิกิริยาของน้าส้มสายชูกับคาร์บอเนต 2. บันทึกสิ่งที่สังเกตได้
  • 13. P a g e | 13 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 5 เรื่อง การตรวจวัดอุณหภูมิดิน การตรวจวัดอุณหภูมิดิน (SOIL TEMPERATURE) อุณหภูมิดินมีความสัมพันธ์โดยตรงกับอุณหภูมิบรรยากาศ ตัวอย่างเช่น ในเวลากลางวันดินจะดูดซับพลังงานจากดวง อาทิตย์ทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น ในเวลากลางคืนดินจะคายความร้อนออกสู่บรรยากาศ อุณหภูมิดินจึงอาจต่ากว่าอุณหภูมิบรรยากาศ ในช่วงหน้าร้อนและอาจสูงกว่าอุณหภูมิอากาศในช่วงหน้าหนาว อุณหภูมิดินมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ช่วงเวลาของการ แตกตาหรือการร่วงของใบ และอัตราการย่อยสลายของอินทรียสาร วิธีการตรวจวัด การเทียบมาตรฐานเทอร์มอมิเตอร์ 1. เทน้า 250 มิลลิลิตร ใส่ลงไปในถังที่มีน้าแข็งครึ่งถัง 2. นาเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐานและเทอร์มอมิเตอร์สาหรับวัดดินจุ่มลงไปในถังน้าแข็ง นาน 2 นาที และควรระวังให้ ปลายเทอร์มอมิเตอร์จุ่มลงในน้าไม่ต่ากว่า 4 เซนติเมตร 3. อ่านค่าอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ทั้ง 2 อัน 4. ถ้าอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดินต่างจากเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน น้อยกว่า 2 องศาเซลเซียส แสดงว่า เทอร์มอ มิเตอร์ดินสามารถตรวจวัดอุณหภูมิได้ค่าที่ถูกต้องและยอมรับได้ 5. ถ้าค่าความแตกต่างอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดินต่างจากเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน มากกว่า 2 องศาเซลเซียส ให้ รอต่อไป 2 นาที ถ้าค่าความแตกต่างอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดินต่างจากเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน ยังคงมากกว่า 2 องศาเซลเซียส ให้ปรับนอตที่อยู่ด้านล่างของหน้าปัดอุณหภูมิด้วยประแจจนอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ดิน ใกล้เคียงกับเทอร์มอมิเตอร์มาตรฐาน จึงจะสามารถนาเทอร์มอมิเตอร์ดินไปใช้ได้ การวัดอุณหภูมิในภาคสนาม อุณหภูมิที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร 1. ตอกเหล็กนาร่องลงไปลึกประมาณ 15 เซนติเมตร 2. นาเทอร์มอมิเตอร์ใส่ลงในท่อพลาสติกยาว 12 เซนติเมตร สาหรับวัดอุณหภูมิที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร แล้ว ใส่ลงในในร่องดินที่เตรียมไว้ในข้อ 1 3. รอ 2 นาที อ่านค่าอุณหภูมิดิน ครั้งที่ 1 และเวลาที่อ่านค่า บันทึกลงในใบบันทึกข้อมูล อ่านค่าอุณหภูมิดินอีก 2 ครั้ง โดยรอเวลาอ่านค่าเหลือเพียงครั้งละ 1 นาที
  • 14. P a g e | 14 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน 4. ถ้าค่าที่อ่านได้ทั้ง 3 ครั้ง ต่างกันไม่เกิน 1 องศาเซลเซียส ถือว่าเป็นค่าที่ยอมรับได้ แต่ถ้าค่าที่อ่านได้ทั้ง 3 ครั้ง ต่างกันมากกว่า 1 องศาเซลเซียส ให้ตัดค่าที่แตกต่างจากกลุ่มออกและอ่านค่าอุณหภูมิดินซ้าทุก 1 นาที จนกว่าค่า อุณหภูมิที่อ่านได้จะแตกต่างกันไม่เกิน 1 องศาเซลเซียส ภาพที่ 1 วิธีการตรวจวัดอุณหภูมิดินที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร อุณหภูมิที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร วัดอุณหภูมิดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร โดยทาเช่นเดียวกับการอุณหภูมิที่ระดับความลึก 5 เซนติเมตร แต่เปลี่ยนจากใช้ท่อพลาสติกยาว 12 เซนติเมตร มาใช้ท่อพลาสติกยาว 7 เซนติเมตร แล้วทาตามข้อ 1 – 4 ข้างบน ภาพที่ 2 วิธีการตรวจวัดอุณหภูมิดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร
  • 15. P a g e | 15 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 6 เรื่อง การตรวจวัดความชื้นในดิน การตรวจวัดความชื้นในดิน (SOIL MOISTURE) ความชื้นในดิน เป็นสัดส่วนระหว่างมวลของน้าในดินกับมวลของดินแห้ง โดยทั่วไปสัดส่วนนี้มีค่าระหว่าง 0.05 – 0.5 กรัม/กรัม มีเพียงดินที่แห้งจัดเท่านั้นที่ค่านี้น้อยกว่าปกติ เช่น ดินในทะเลทรายมีค่าต่า 0.05 กรัม/กรัม และมีเพียงดินที่มีอินทรีย สารสูง ดินพรุ หรือดินเหนียวที่ชุ่มน้าจะมีค่าสูงกว่า 0.5 กรัม/กรัม การวัดความชื้นในดินช่วยบอกหน้าที่ของดินที่อยู่ในบริเวณ ระบบนิเวศนั้น ตัวอย่างเช่น แสดงถึงความสามารถในการอุ้มน้าหรือไหลผ่านของน้าในดินที่เกิดจากการไหลของน้าใต้ดิน การ ไหลของน้าผิวดิน และการคายน้าและระเหยของน้าออกสู่บรรยากาศ และยังใช้อธิบายความสามารถของดินในการให้ธาตุอาหาร และน้าสู่พืชซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตและการอยู่รอดของพืช 1. เก็บตัวอย่างดินที่ความลึก 10 เซนติเมตร แต่ละจุด อย่างน้อย 3 ตัวอย่าง เพื่อทาการตรวจวัด 3 ซ้า 2. เขียนฉลากแสดงรายละเอียดของตัวอย่างดิน เช่น ชื่อจุดศึกษา ระดับความลึกของดิน ชื่อผู้เก็บตัวอย่างดิน วันที่เก็บ ตัวอย่างดิน 3. ชั่งน้าหนักดินแต่ละตัวอย่างก่อนอบ 4. นาตัวอย่างดินไปอบที่อุณหภูมิ 95 – 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง 5. ชั่งน้าหนักของแต่ละตัวอย่างดินหลังอบ แล้วคานวณหาค่าความชื้นตามสูตร ดังนี้ ความชื้นในดิน (กรัม/กรัม) = มวลของดินเปียก – มวลของดินแห้ง
  • 16. P a g e | 16 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 7 เรื่อง การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของดิน การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของดิน (SOIL PH) ความเป็นกรด-เบส หรือค่าพีเอชของดิน แต่ละชั้นบอกถึงลักษณะดินต้นกาเนิด สารเคมีที่อยู่ในฝนหรือน้าที่ไหลลงสู่ ดิน การจัดการดิน และกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดิน (พืช สัตว์ และจุลินทรีย์) เช่นเดียวกับพีเอชของน้า พีเอชของดินวัดโดยใช้ ค่าล็อก pH ของดินเป็นตัวบ่งชี้สมบัติทางเคมีของดินและธาตุอาหารในดิน กิจกรรมของสารเคมีในดินส่งผลต่อพีเอช พืชแต่ละ ชนิดก็จะขึ้นได้ในดินที่มีพีเอชต่างกัน เกษตรกรจึงมักจะใส่สารลงไปในดินเพื่อเปลี่ยนค่าพีเอชให้เหมาะกับชนิดของพืชที่จะ ปลูกพีเอชของดินยังมีผลต่อพีเอชของน้าใต้ดินหรือแหล่งน้าอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง ดังเช่น แม่น้า หรือทะเลสาบ ค่าพีเอชของ ดินมีค่า 1 – 14 จาแนกเป็นค่าพิสัยได้10 ระดับ ดังนี้ (Soil Survey Division Staff, 1993) วิธีการตรวจวัด การเตรียมตัวอย่างดินสาหรับห้องปฏิบัติการ 1. ใช้ตะแกรงร่อนดินเบอร์ 10 (ช่องตะแกรงขนาด 2 มิลลิเมตร) เหนือกระดาษ แล้วเทดินตัวอย่างลงในตะแกรง ใส่ถุงมือ ยางเพื่อกันไม่ให้กรดและเบสจากมือของผู้ปฏิบัติไปทาให้ค่าพีเอชของดิน ผิดไปจากความเป็นจริง 2. ค่อยๆ เขี่ยเบาๆ ทาให้ดินผ่านช่องตะแกรงลงไปบนกระดาษ อย่าดันจนตะแกรงลวดโก่งด้วยการกดดินแรงเกินไป หยิบ เอาหินและสิ่งปะปนอื่นๆ ออกจากตะแกรงทิ้งไป เก็บรักษาตัวอย่างดินที่ร่อนแล้ว แต่ละชนิดไว้สาหรับการวิเคราะห์ อื่นๆ 3. นาดินตัวอย่างที่เอาหินออกแล้วจากกระดาษใต้ตะแกรงร่อนลงในถุงพลาสติกหรือภาชนะที่แห้งและสะอาด ปิดปาก ภาชนะ และเขียนฉลากไว้ที่ถุงเช่นเดียวกับที่เขียนไว้ที่ภาชนะที่ใช้เก็บดินภาคสนาม (เลขที่ชั้นดิน ระดับความลึกชั้น ตัวอย่างดิน วันที่ ชื่อจุดศึกษา ตาแหน่งจุดศึกษา ฯลฯ) ตัวอย่างดินนี้สามารถนาไปใช้ในการวิเคราะห์อื่นๆ ใน
  • 17. P a g e | 17 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ห้องปฏิบัติการบนฉลาก ให้เขียนชื่อจุดศึกษา เลขที่ตัวอย่างดิน เลขที่ชั้นดิน ความลึกระดับบนสุดจากผิวดิน ความลึก ระดับล่างสุดจากผิวดิน วันที่ที่เก็บตัวอย่างดิน 4. เก็บรักษาตัวอย่างดินนี้ไว้ในที่ที่ปลอดภัย ในที่แห้งจนกว่าจะนาไปใช้ การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของดิน 1. ชั่งตัวอย่างดินที่แห้งและร่อนแล้วมา 20 กรัม เทลงในบีกเกอร์ แล้วเติมน้ากลั่น 20 หรือ 100 มิลลิลิตร เพื่อให้ได้ อัตราส่วนดิน : น้า เท่ากับ 1 : 1 ในกรณีดินร่วนและดินทราย หรืออัตราส่วน 1 : 5 ในกรณีดินเหนียว (ดินในประเทศ ไทยส่วนใหญ่ใช้อัตราส่วน 1 : 5) 2. ใช้แท่งแก้วคนดินนานเวลา 30 วินาที แล้วพักทิ้งไว้3 นาที ทาอย่างนี้ 5 ครั้ง 3. เมื่อคนดินครบ 5 ครั้งแล้ว ตั้งทิ้งไว้จนดินในบีกเกอร์ตกตะกอน จะเห็นน้าใสๆ อยู่บริเวณด้านบน 4. จุ่มกระดาษวัดค่าพีเอช หรือปากกาวัดค่าพีเอชที่ปรับค่ามาตรฐาน ลงไปในบริเวณน้าใสๆ อย่าจุ่มลงไปให้โดนดิน ด้านล่าง (ภาพที่ 99) รอจนค่าหยุดนิ่ง แล้วอ่านค่าพีเอช 5. เมื่อวัดค่าพีเอชเสร็จแล้ว ใช้น้ากลั่นล้างปากกาวัดค่าพีเอชบริเวณส่วนที่สัมผัสกับดินให้สะอาด แล้วใช้กระดาษทิชชูซับ ให้แห้ง หมายเหตุ: ก่อนการใช้พีเอชมิเตอร์ต้องมีการเทียบมาตรฐานเครื่องมือ (ดูวิธีการเทียบมาตรฐานจากหลักวิธีการดาเนินการเรื่อง น้า)
  • 18. P a g e | 18 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 8 เรื่อง การตรวจวัดความอุดมสมบูรณ์ของดิน การตรวจวัดความอุดมสมบูรณ์ของดิน (SOIL FERTILITY) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน บอกได้โดยปริมาณของธาตุอาหารหลักที่ประกอบอยู่ในดิน เช่น ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) เป็นธาตุหลักที่มีความสาคัญที่สุดที่พืชต้องการในปริมาณมากสาหรับการเจริญเติบโตที่เหมาะสมแต่ ละชั้นดินสามารถทดสอบปริมาณธาตุทั้งสามที่มีอยู่ ผลของการวัดช่วยในการกาหนดความเหมาะสมของดินสาหรับการปลูกพืช วิธีการตรวจวัด ขั้นตอนที่ 1 เตรียมสารละลายดินโดยการสกัดดิน 1. การหาความอุดมสมบูรณ์ของดิน จะใช้ชุดทดสอบความอุดมสมบูรณ์ของดิน พร้อมสารทดสอบเพื่อหาค่า N, P และ K ของดิน 2. ใส่น้ากลั่นลงในหลอดสกัดดินที่มาจากชุดตรวจสอบดินให้ถึงขีดปริมาตรข้างขวด หรือประมาณ 30 cm3 3. เติมสารประกอบ Floc-Ex ลงไปในหลอดสกัดจานวน 2 เม็ด ปิดปากหลอดและเขย่าให้ผสมกันจนเม็ด Floc-Ex ละลาย หมด 4. เปิดจุกและใส่ดินที่แห้งและร่อนแล้วลงไป 1 ช้อนชาพูน (ประมาณ 5 กรัม) 5. ปิดฝาหลอดสกัดดินให้แน่นและเขย่าให้ดินทาปฏิกิริยากับสารละลายเป็นเวลา 1 นาที 6. ตั้งหลอดทิ้งไว้นั้น จนกระทั่งดินตกตะกอน (โดยปกติจะใช้เวลาประมาณ 5 นาที) สารละลายส่วนที่ใสเหนือดินจะเก็บ ไว้ใช้ในการทดสอบหาค่าไนเตรต (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ขั้นตอนที่ 2 การตรวจวัดไนโตรเจน (N) 1. ใช้หลอดดูดดูดสารละลายใสที่อยู่เหนือดิน แล้วนาไปใส่ในหลอดทดลองหลอดเปล่าในชุดทดสอบดินหนึ่งหลอด จน เกือบถึงปากหลอด (ถึงขีดบอกระดับประมาณ 10 มิลลิลิตร) 2. ใส่สาร Nitrate WR CTA ลงไปในหลอดทดลองจานวน 1 เม็ด ต้องแน่ใจว่าเศษของเม็ดสารที่แตกออกจะต้องถูกใส่เข้า ไปในหลอดทดลองด้วยและต้องพยายามที่จะไม่สัมผัสเม็ดสารที่ใส่เข้าไปในหลอดนั้น ปิดฝาหลอด และเขย่าจนเม็ด สารละลายจนหมด 3. วางหลอดที่เขย่าแล้ว ในแก้วหรือบีกเกอร์และตั้งทิ้งไว้5 นาที ให้เกิดสี (อย่าทิ้งไว้เกิน 10 นาที) 4. เปรียบเทียบสีชมพูของสารละลายกับแผ่นสีมาตรฐานที่แสดงระดับของไนโตรเจนในชุดทดสอบดิน บันทึกผลที่ได้ (สูง กลาง ต่า) ในใบบันทึกข้อมูลความอุดมสมบูรณ์ของดิน 5. เทสารละลายทิ้ง ล้างหลอดทดลองและปิเปตด้วยน้ากลั่น
  • 19. P a g e | 19 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน ใบความรู้ 9 เรื่อง การกระจายช่องอนุภาคดิน
  • 20. P a g e | 20 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 21. P a g e | 21 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 22. P a g e | 22 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 23. P a g e | 23 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 24. P a g e | 24 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 25. P a g e | 25 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน
  • 26. P a g e | 26 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม ดิน