SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 129
Basic EKG  โดย กิติพงษ์  พินิจพันธ์
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ( Cardiac  arrhythmia ) ,[object Object]
 
เซลล์ หัวใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Sinoatrial node (S.A. node)  อยู่ตรวจบริเวณแนวต่อของ  superior vena cava  กับเอเตรียมขวา ทำ หน้าที่เป็นเซลล์ให้กำเนิดจังหวะการเต้นของหัวใจ  (pacemaker cell)  สามารถผลิตสัญญาณไฟฟ้าขึ้นเองโดยอัตโนมัตินาทีละ  60-100  ครั้ง   ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
Atrioventricular node (A.V. node)  อยู่ตรงส่วนล่างของผนังกั้นระหว่างเอเตรียมขวาและซ้ายของหัวใจห้องบน ทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณไฟฟ้าจากหัวใจห้องบนมายังหัวใจห้องล่าง และสามารถให้กำเนิดไฟฟ้าได้เองในอัตรา  40-60  ครั้งต่อนาที   ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
Bundle of His  กลุ่มเซลล์นี้ต่อออกไปจาก  A.V. node  เข้าไปในผนังกั้นระหว่างเวนตริเคิล แล้วแยกออกเป็น  2  แขนง คือ  right  และ  left bundle of brunch  ทำหน้าที่รับสัญญาณไฟฟ้าต่อจาก  A.V. node   ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
Purkinje  fibers  เป็นเส้นใยที่แยกออกจาก  (bundle brunch)  ทั้งสองข้างอยู่ในชั้นใต้เยื่อบุหัวใจของเวนตริเคิล ทำหน้าที่ให้สัญญาณไฟฟ้าแผ่กระจายไปอย่างรวดเร็ว ทำให้เวนตริเคิลบีบตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถให้กำเนิดไฟฟ้าได้ด้วยอัตราต่ำกว่า  40  ครั้งต่อนาที   ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
การเกิดไฟฟ้าในเซลล์ของหัวใจ Polarization   ( resting  )  ผนังเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมีประจุบวกเท่ากับประจุลบ โดยมีความเข้มข้น  K  ( ประจุลบ )  สูงกว่าความเข้มข้น  Na ( ประจุบวก )  ผนังเซลล์ยอมให้  K  ซึมผ่านผนังเซลล์ได้  แต่ไม่ยอมให้  Na   ซึมผ่านเลย  ดังนั้นจึงมีประจุลบอยู่ในเซลล์  ประจุบวกอยู่นอกเซลล์
Depolarization   เมื่อเซลล์ถูกกระตุ้น   จะมีการเปลี่ยนศักย์ของผนังเซลล์   โดยยอมให้   Na  เข้า เซลล์  ทำให้มีประจุบวกอยู่ในเซลล์  ประจุลบอยู่นอกเซลล์ Repolarization   เซลล์กลับคืนสู่สภาพปกติ โดยกระตุ้นให้กลับมีประจุบวกอยู่ภายนอก และประจุลบอยู่ในเซลล์ระบบส่งนำคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ระบบนำคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Polarization  ( resting  ) Depolarization  Repolarization -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - -  -  -  -  -  -  - +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  + +  +  +  +  +  +
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การติด  Limb Leads
unipolar chest lead
 
1.  P wave  เป็นคลื่นแรกที่เกิดจาก  S.A. node  ส่งกระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นเอเตรียมให้มี  depolarization  เกิดก่อนที่เอเตรียมทั้งสองข้างจะบีบตัว ค่าปกติ  0.10  วินาที คลื่นสูงไม่เกิน  0.3 mV. 2.  P-R interval  เป็นช่วงเวลาที่คลื่นไฟฟ้าจาก  S.A. node  ผ่านทั่วเอเตรียมไปยัง  A.V. node  นับเป็นจุดเริ่มต้น  depolarization  ของเอเตรียม จนถึงจุดเริ่มต้น  depolarization  ของเวนตริเคล ค่าปกติ  0.12-0.2  วินาที 3.  QRS complex  เป็นคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่บันทึกได้ขณะที่มี  depolarization  ของเวนตริเคิล มีขนาดคลื่น  0.5-3 mV.  และกว้าง  0.05-0.10  วินาที  = 2  ช่องครึ่ง  ( เล็ก )  ถ้าเป็น  PVC  จะกว้างกว่านี้
4.  S-T Segment  เป็นช่วงจากจุดสิ้นสุดของ  QRS complex  ไปยังจุดเริ่มต้นของ  T wave  คือช่วงเวลาที่  depolarization  สิ้นสุดลง และก่อนที่  repolarization  จะเริ่มขึ้น ระยะนี้จะไม่มีความแตกต่างประจุไฟฟ้าที่ขั้วบวกและลบ จึงบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้เป็นเส้นราบ 5.  T wave  เกิดจาก  repolarization  ของเวนตริเคิลซ้ายและขวา เกิดก่อนที่เวนตริเคิลทั้งสองคลายตัว ปกติคลื่นสูงไม่เกิน  0.5 mV. T wave  สูง  K  สูง  . ให้  Glucose +RI + Kexestate 6.  U wave  เป็นคลื่นบวกที่เกิดตามหลัง  T wave  ปกติไม่ค่อยพบ คลื่นนี้จะสูงขึ้นชัดเจนเมื่อภาวะโปแตสเซียมต่ำหรือเวนตริเคิลขยายโต
หลักการอ่านและแปลผล  EKG * Rate * Rhythm  * P Wave * PR interval * QRS complex ดูอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
1 mm = 0.04 sec 1  ช่องใหญ่ มี  5  ช่องเล็ก  =0.2 sec Rate
การหา  rate  ที่  EKG regular rhythm  วิธีที่  1  การนับช่องสี่เหลี่ยมเล็ก  Heart rate / min =  1500 จำนวนช่องเล็กที่อยู่ระหว่าง  RR interval Interval  1 mm equal to  0.04 sec Interval  5 mm equal to  0.20 sec Interval 25 mm equal to  1 sec For  1 minute consist of 1500 mm Or equal to 1500/5  300 blocks
Heart rate / min =  1500 = 150 ครั้ง /  นาที 10
การหา  rate  ที่  EKG regular rhythm  วิธีที่  2  การนับช่องสี่เหลี่ยมใหญ่ Heart rate / min =  300 จำนวนช่องใหญ่ที่อยู่ระหว่าง  RR interval 0  300  150  100  75  60    50
การหา  rate  ที่  EKG irregular rhythm  *  เลือก  R wave  จุดเริ่มต้น นับช่วงไป  15  ช่องใหญ่  *  นับ  QRS  ที่อยู่ในช่วงนี้ แล้วคูณด้วย  20  คือ  Heart rate  ใน  1  นาที วิธีที่  1  วิธีที่  2  *  เลือก  R wave  จุดเริ่มต้น นับช่วงไป  30  ช่องใหญ่  *  นับ  QRS  ที่อยู่ในช่วงนี้ แล้วคูณด้วย  10  คือ  Heart rate  ใน  1  นาที
HR  = 45 / min HR  = 60 / min
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],the rhythm
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],P waves
- P-R intervals  คงที่หรือไม่ ? - P-R interval  อยู่ในช่วงปกติหรือไม่ ? -  ถ้า  P-R interval  ไม่เท่ากัน มีลักษณะที่เปลี่ยนแปลงอย่างไร ? P-R intervals
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],QRS complex
มีลักษณะ 1.  อัตราการเต้นปกติ คือ  60-100  ครั้ง / นาที  Atrial rate = Ventricular rate 2.  จังหวะการเต้นสม่ำเสมอ  PP  และ  RR interval  มีค่าคงที่ 3. P wave  รูปร่างปกติและเหมือนกัน นำหน้า  QRS  ทุกตัว และหัวตั้งใน    Lead I, II, aVF  หัวกลับใน  aVR 4. PR, QRS  ปกติทั้งระยะเวลาและรูปร่าง Normal sinus rhythm
1. Bradycardia 2. Tachycardia 3. Premature contraction 4. Flutter 5. Fibrillation 6. Heart block  กลไกการเกิดความผิดปกติการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ อาจแบ่งออกได้เป็น  6  ชนิด
Bradycardia   ที่สำคัญ - Sinus bradycardia - Sinus arrhythmia - Sinus arrest
Sinus Bradycardia - rate 40-60  ครั้ง / นาที จังหวะการเต้นสม่ำเสมอ - P wave  รูปร่างปกติ นำหน้า  QRS complex  ทุกตัว ,[object Object]
Sinus Arrhythmia -  จังหวะ การ เต้น ไม่ สม่ำเสมอ  หายใจเข้าอัตราเร็ว หายใจออกอัตราช้า   ลง  PP, RR ไม่คงที่ต่างกัน > 0.16 วินาที - พบได้ในผู้สูงอายุ หรือ โรคกล้ามเนื้อหัวใจด้านล่างตายเฉียบพลัน - P wave  นำหน้า  QRS complex  ทุ กตัว  และ PR  ปกติ
Sinus Arrest -  จังหวะเต้น ไม่ สม่ำเสมอ  RR ไม่คงที่ - P wave  นำหน้า  QRS complex  ทุ กตัว  และ PR  ปกติ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Tachycardia   ที่สำคัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Sinus Tachycardia - Rate  มากกว่า  100  ครั้ง / นาที จังหวะ การเต้นสม่ำเสมอ - P wave  นำหน้า  QRS complex   ทุกตัวใน อัตรา  1 :1 - PR  ปกติ  และ  คงที่ ลักษณะ
การรักษา 1. แก้ไขตามสาเหตุ  เช่น ให้ยาลดไข้  งดใช้ยาที่กระตุ้นประสาทซิมพาเทติก 2.  ให้ยาปิดกั้นแคลเซียม  เช่น  verapamil 3.  ให้ยากระตุ้นการทำงานของพาราซิมพาเทติก  เช่น  digitalis 4.  การใช้  vagal  maneuvers  ร่วมด้วย   เช่น การนวด  carotid  sinus,  valsava  maneuver
Multifocal atrial tachycardia (MAT) - rate >100  ครั้ง / นาที ไม่สม่ำเสมอ บางครั้ง  PP, PR, RR interval  จะเปลี่ยนตามตำแหน่งของ  pacemaker  - P wave  ผิดปกติมากกว่า  3  ตัว อยู่นำหน้า  QRS  ทุกตัว  QRS   ปกติ -  พบใน  COPD, Resp. failure, CHF, theophylline therapy
Paroxysmal supraventricular tachycardia (PSVT) - rate  เร็ว  (150-250  ครั้ง / นาที )  สม่ำเสมอ - P wave  หัวตั้งหรือหัวกลับ  บางครั้งมองไม่เห็น   หรือตามหลัง  QRS - QRS  ตัวแคบปกติ -  มักเกิดทันทีและหยุดทันที อาจเริ่มต้นจาก  PAC
Torsades de Pointes (TdP) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Ventricular Tachycardia Rate :  140-220  ครั้ง / นาที Rhythm  :  สม่ำเสมอ   ลักษณะคลื่น  : P wave  ไม่ค่อยพบ   QRS complex  รูปร่างกว้าง  P-R  interval  วัดไม่ได้ สาเหตุ OHD, electrolyte imbalance, antiarrhythmic drugs
Premature contraction   ที่สำคัญ - Premature Atrial Contraction - Premature Ventricular Contraction
[object Object],[object Object],Premature Atrial Contraction
[object Object],[object Object],[object Object]
Premature ventricular contraction : PVC -  ไม่พบ  ectopic P wave  นำหน้า  PVC  แต่อาจพบ  sinus P wave    ที่ไม่สัมพันธ์กับ  QRS - QRS  เกิดก่อนกำหนด รูปร่างต่างจากปกติ และกว้างกว่า  0.12 sec - Rate,rhythm  ขึ้นอยู่กับ  underlying rhythm  -  ช่วงที่เกิด  PVC  จังหวะ จะ ไม่สม่ำเสมอ
Premature Ventricular Contractions (PVCs) Multifocal PVC ’ s Unifocal   PVC ’ s ;  Ventricular Bigeminy
PVC ,[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Flutter   ที่สำคัญ - Atrial  Flutter - Ventricular Flutter
Atrial rate 250-350  ครั้ง / นาที   จังหวะ สม่ำเสมอหรือไม่สม่ำเสมอ   P wave   ไม่ชัด มี   Flutter wave (F wave)   ลักษณะ เด่น คล้าย ฟันเลื่อย   (sawtooth pattern)   เห็นชัดใน   lead II,III, aVF, V1 ventricular rate  ไม่แน่นอน  Atrial  Flutter Atrial flutter with 2 - 5 : 1 AV conduction
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
Fibrillation   ที่สำคัญ - Atrial Fibrillation - Ventricular Fibrillation
Atrial Fibrillation ,[object Object],[object Object],[object Object]
Ventricular Fibrillation  (VF) - Rate  เร็วมากจนวัดไม่ได้ - Rhythm  ไม่สม่ำเสมอ ไม่เป็นระเบียบ - P wave ไม่พบ - QRS complexes or T wave  แยกไม่ได้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Heart block   ที่สำคัญ - First-Degree (AV) Block - Second-Degree (AV) Block - Third-Degree (AV) Block
First - degree AV block - P wave 1  ตัว ตามด้วย  QRS complex 1  ตัว ตามปกติ  - PR interval  กว้างกว่า  0.20  วินาที พบในคนปกติที่มี  vagal tone เพิ่ม นักกีฬา โรคหัวใจได้รับยาบางอย่าง
Second - degree AV block : Mobitz I - P wave  และ   QRS complex  รูปร่างปกติ - PR interval  จะค่อยๆ  กว้าง ออก ในแต่ละ  QRS complex  จนในที่สุด    P wave  ตัว หนึ่งจะ ไม่มี   QRS complex   เกิดตามมา พบได้ในคนปกติ นักกีฬา ยาบางอย่าง โรคหัวใจ เช่น  Inferior wall MI
2nd - degree AV block : Mobitz II - P wave  ปกติ  เกิดสม่ำเสมอ  P wave  บางตัว มี  QRS  ตามมา   ปกติและ  PR  คงที่  แต่บางตัวไม่มี  QRS  ตามมา ,[object Object],4 : 3 AV block  คือ มี  P wave 4  ตัว มี  QRS 3  ตัว พบในผู้ป่วยโรคหัวใจ เช่น  Anterior wall MI
3rd degree AV block: Complete Heart Block - P wave  ปกติ มีจังหวะการเต้นสม่ำเสมอ มีจำนวนมากกว่า  QRS ,[object Object],[object Object]
Asystole ,[object Object]
Cardiac Pacemaker
จุดประสงค์ของการใช้  Pacemaker 1.  Bradyarrhythmia  เพื่อให้  Hemodynamic  กลับสู่ปกติหรือใกล้เคียงปกติทั้งในขณะพักและออกกำลังกาย 2.  Ventricular  Tachyarrhythmia  เพื่อกระตุ้นการเต้น ,  Cardioversion,Defibrillation
ชนิดของ  Pacemaker ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
2. Permanent Pacemaker
ข้อบ่งชี้ของการใส่  Temporary Pacemaker 1.  Bradycardia  ที่  Cardiac  Out put  ไม่พอ 1.1   Complete  Heart  Block 1.2  Sick  Sinus  Syndrome 2. Bradycardia  มีอาการแบบชั่วคราวเนื่องจากได้ ยา  Digoxin, ยา  Antiarrhythmia
[object Object],[object Object],4.  หลังผ่าตัด  Open Heart
6.  ระหว่างการทำ  Cardiac  Catheterization 7.  ก่อนทำ  Permanent Pacemaker ,[object Object],[object Object]
ข้อบ่งชี้ของการใส่  Permanent Pacemaker ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Mode  ของ  Permanent Pacemaker ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การดูแลรักษาผู้ป่วยเมื่อ  Pacemaker  ทำงานผิดปกติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Pace Maker ,[object Object]
Pace Maker ,[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การประเมิน  Tissue  perfusion  เพื่อดู  Cardiac out put  ว่าเพียงพอหรือไม่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การดูแลผู้ป่วยหลังใส่ Permanent Pacemaker 1.  Bed  rest in 24  hr  ห้ามขยับแขนข้างที่ใส่  Pacemaker 2.Observe  แผล 3. ให้ยาแก้ปวด  prn 4. ทำ EKG 12 leads  หลังใส่ , observe EKG 5.Observe Arrythmia 6. เฝ้าระวัง  Complication : lead  หัก   , lead  ทะลุ   , Rejection (1 WK-1Year)
การสอนผู้ป่วย 1. บอกการทำงานของเครื่อง , ภาวะผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์ 2. บอกอัตราความเร็วของเครื่อง 3. สอนวิธีการจับ   Pulse ,  การหาตำแหน่ง , จังหวะการเต้น , การนับเต็มนาที 4.Record pulse  หลังตื่นนอนทุกวัน 5. การมาพบแพทย์ตามนัด 6. การสะอึก   , pulse irregular 7. ระวังการเข้าใกล้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแรงสูง , ห้ามพิงโดยตรงกับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำงานอยู่ ( มอเตอร์ไฟฟ้ากำลังสูง ) ถ้าเวียนศรีษะให้รีบออกห่างและจับ pulse
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
การผ่าตัดหัวใจแบ่งเป็น   2  กลุ่มคือ   1.Close heart surgery  ,[object Object],[object Object],[object Object]
2.Open heart surgery ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตรวจทางห้องปฏิบัติการก่อนผ่าตัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวทางการเตรียมเลือดสำหรับการผ่าตัดหัวใจ 6 6 6 Open heart surgery เฉพาะกรณีมีข้อบ่งชี้ 1 Close heart surgery Platelets [unit] FFP [unit] PRC [unit] ชนิดของการผ่าตัด
Cardiopulmonary Bypass and Post perfusion syndrome ,[object Object]
ผลของการใช้   Cardiopulmonary Bypass  ต่อร่างกาย ,[object Object],[object Object],[object Object]
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวกระตุ้นให้ร่างกาย ,[object Object]
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไป หออภิบาลหลังผ่าตัดหัวใจ ,[object Object]
การเตรียมอุปกรณ์รับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตรวจร่างกายแรกรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตรวจร่างกายแรกรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (2) ,[object Object],[object Object],[object Object]
การเฝ้าติดตามดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบ organ -system oriented approach ,[object Object],[object Object]
1.Cardiovascular System ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเฝ้าติดตามเพื่อประเมิน   cardiac output   ,[object Object],[object Object],[object Object]
การแก้ไขภาวะ   low cardiac output จาก   preload  ต่ำ   ,[object Object],[object Object]
การแก้ไขภาวะ   low cardiac output จาก afterload สูง ,[object Object]
การแก้ไขภาวะ   low cardiac output จาก poor contractility ,[object Object],[object Object]
การแก้ไขภาวะ   low cardiac output จาก arrhythmias ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การแก้ไขภาวะ   low cardiac output จากภาวะ acute pulmonary hypertensive crisis(1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การแก้ไขภาวะ   low cardiac output จากภาวะ acute pulmonary hypertensive crisis(2) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.Respiratory system(1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.Respiratory system(2) ,[object Object],[object Object]
2.Respiratory system(3) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเฝ้าติดตามการทำหน้าที่ของระบบหายใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Fluid  (1)  ,[object Object],[object Object]
Fluid  (2) ,[object Object],[object Object]
แนวทางการให้สารน้ำแก่ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ 5 0%maintanance fluid  Day 0 Day 1 Day 2 Day 3 Maximum total fluid intake Postoperative Day
แนวทางการให้สารน้ำแก่ผู้ป่วยเด็ก หลังผ่าตัดหัวใจ Day 0  =5DW  500 cc/day  หรือ   2 cc/kg/hr Day 1,2 =5DW  750 cc/day  หรือ   2.5-3 cc/kg/hr Day  3  =5DW  1,100 cc/day  หรือ   4 cc/kg/hr อายุ >2 ปีหรือ BW>13 kg Day 0=10DN/5 500 cc/day  หรือ   2 cc/kg/hr Day 1= 10DN/5 750 cc/day  หรือ   2.5-3 cc/kg/hr อายุ <2 ปีหรือ BW<13 kg
Electrolyte(1) ,[object Object],[object Object],[object Object]
Electrolyte(2)  ,[object Object],[object Object]
Hematology(1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Hematology(2) ,[object Object],[object Object],[object Object]
Infection ,[object Object]
GI ,[object Object]
Renal ,[object Object],[object Object]
Neurology ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Psychosocial ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Any question ?

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
Post cardiac arrest care can we make it better?
Post cardiac arrest care can we make it better?Post cardiac arrest care can we make it better?
Post cardiac arrest care can we make it better?Kanyanat Taew
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50Loveis1able Khumpuangdee
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 

Mais procurados (20)

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Post cardiac arrest care can we make it better?
Post cardiac arrest care can we make it better?Post cardiac arrest care can we make it better?
Post cardiac arrest care can we make it better?
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Atls for nurse
Atls for nurse Atls for nurse
Atls for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 

Semelhante a การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่และวัยผู้

Clinical medicine
Clinical medicineClinical medicine
Clinical medicineMoni Buvy
 
Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2vora kun
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Mew Tadsawiya
 
Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010taem
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxxeremslad
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxERppk
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
CPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามาCPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามาvora kun
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..piyarat wongnai
 

Semelhante a การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่และวัยผู้ (15)

Clinical medicine
Clinical medicineClinical medicine
Clinical medicine
 
Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554
 
Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010
 
Acute Mi
Acute MiAcute Mi
Acute Mi
 
ชีพจร
ชีพจรชีพจร
ชีพจร
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
 
CPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามาCPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามา
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..
 
2016 CVS assessment
2016 CVS assessment2016 CVS assessment
2016 CVS assessment
 

การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่และวัยผู้

  • 1. Basic EKG โดย กิติพงษ์ พินิจพันธ์
  • 2.
  • 3.  
  • 4.
  • 5. Sinoatrial node (S.A. node) อยู่ตรวจบริเวณแนวต่อของ superior vena cava กับเอเตรียมขวา ทำ หน้าที่เป็นเซลล์ให้กำเนิดจังหวะการเต้นของหัวใจ (pacemaker cell) สามารถผลิตสัญญาณไฟฟ้าขึ้นเองโดยอัตโนมัตินาทีละ 60-100 ครั้ง ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
  • 6. Atrioventricular node (A.V. node) อยู่ตรงส่วนล่างของผนังกั้นระหว่างเอเตรียมขวาและซ้ายของหัวใจห้องบน ทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณไฟฟ้าจากหัวใจห้องบนมายังหัวใจห้องล่าง และสามารถให้กำเนิดไฟฟ้าได้เองในอัตรา 40-60 ครั้งต่อนาที ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
  • 7. Bundle of His กลุ่มเซลล์นี้ต่อออกไปจาก A.V. node เข้าไปในผนังกั้นระหว่างเวนตริเคิล แล้วแยกออกเป็น 2 แขนง คือ right และ left bundle of brunch ทำหน้าที่รับสัญญาณไฟฟ้าต่อจาก A.V. node ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
  • 8. Purkinje fibers เป็นเส้นใยที่แยกออกจาก (bundle brunch) ทั้งสองข้างอยู่ในชั้นใต้เยื่อบุหัวใจของเวนตริเคิล ทำหน้าที่ให้สัญญาณไฟฟ้าแผ่กระจายไปอย่างรวดเร็ว ทำให้เวนตริเคิลบีบตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถให้กำเนิดไฟฟ้าได้ด้วยอัตราต่ำกว่า 40 ครั้งต่อนาที ระบบการนำไฟฟ้าของหัวใจ
  • 9. การเกิดไฟฟ้าในเซลล์ของหัวใจ Polarization ( resting ) ผนังเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมีประจุบวกเท่ากับประจุลบ โดยมีความเข้มข้น K ( ประจุลบ ) สูงกว่าความเข้มข้น Na ( ประจุบวก ) ผนังเซลล์ยอมให้ K ซึมผ่านผนังเซลล์ได้ แต่ไม่ยอมให้ Na ซึมผ่านเลย ดังนั้นจึงมีประจุลบอยู่ในเซลล์ ประจุบวกอยู่นอกเซลล์
  • 10. Depolarization เมื่อเซลล์ถูกกระตุ้น จะมีการเปลี่ยนศักย์ของผนังเซลล์ โดยยอมให้ Na เข้า เซลล์ ทำให้มีประจุบวกอยู่ในเซลล์ ประจุลบอยู่นอกเซลล์ Repolarization เซลล์กลับคืนสู่สภาพปกติ โดยกระตุ้นให้กลับมีประจุบวกอยู่ภายนอก และประจุลบอยู่ในเซลล์ระบบส่งนำคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
  • 11. ระบบนำคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Polarization ( resting ) Depolarization Repolarization - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + +
  • 12.
  • 15.  
  • 16. 1. P wave เป็นคลื่นแรกที่เกิดจาก S.A. node ส่งกระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นเอเตรียมให้มี depolarization เกิดก่อนที่เอเตรียมทั้งสองข้างจะบีบตัว ค่าปกติ 0.10 วินาที คลื่นสูงไม่เกิน 0.3 mV. 2. P-R interval เป็นช่วงเวลาที่คลื่นไฟฟ้าจาก S.A. node ผ่านทั่วเอเตรียมไปยัง A.V. node นับเป็นจุดเริ่มต้น depolarization ของเอเตรียม จนถึงจุดเริ่มต้น depolarization ของเวนตริเคล ค่าปกติ 0.12-0.2 วินาที 3. QRS complex เป็นคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่บันทึกได้ขณะที่มี depolarization ของเวนตริเคิล มีขนาดคลื่น 0.5-3 mV. และกว้าง 0.05-0.10 วินาที = 2 ช่องครึ่ง ( เล็ก ) ถ้าเป็น PVC จะกว้างกว่านี้
  • 17. 4. S-T Segment เป็นช่วงจากจุดสิ้นสุดของ QRS complex ไปยังจุดเริ่มต้นของ T wave คือช่วงเวลาที่ depolarization สิ้นสุดลง และก่อนที่ repolarization จะเริ่มขึ้น ระยะนี้จะไม่มีความแตกต่างประจุไฟฟ้าที่ขั้วบวกและลบ จึงบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้เป็นเส้นราบ 5. T wave เกิดจาก repolarization ของเวนตริเคิลซ้ายและขวา เกิดก่อนที่เวนตริเคิลทั้งสองคลายตัว ปกติคลื่นสูงไม่เกิน 0.5 mV. T wave สูง K สูง . ให้ Glucose +RI + Kexestate 6. U wave เป็นคลื่นบวกที่เกิดตามหลัง T wave ปกติไม่ค่อยพบ คลื่นนี้จะสูงขึ้นชัดเจนเมื่อภาวะโปแตสเซียมต่ำหรือเวนตริเคิลขยายโต
  • 18. หลักการอ่านและแปลผล EKG * Rate * Rhythm * P Wave * PR interval * QRS complex ดูอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
  • 19. 1 mm = 0.04 sec 1 ช่องใหญ่ มี 5 ช่องเล็ก =0.2 sec Rate
  • 20. การหา rate ที่ EKG regular rhythm วิธีที่ 1 การนับช่องสี่เหลี่ยมเล็ก Heart rate / min = 1500 จำนวนช่องเล็กที่อยู่ระหว่าง RR interval Interval 1 mm equal to 0.04 sec Interval 5 mm equal to 0.20 sec Interval 25 mm equal to 1 sec For 1 minute consist of 1500 mm Or equal to 1500/5 300 blocks
  • 21. Heart rate / min = 1500 = 150 ครั้ง / นาที 10
  • 22. การหา rate ที่ EKG regular rhythm วิธีที่ 2 การนับช่องสี่เหลี่ยมใหญ่ Heart rate / min = 300 จำนวนช่องใหญ่ที่อยู่ระหว่าง RR interval 0 300 150 100 75 60 50
  • 23. การหา rate ที่ EKG irregular rhythm * เลือก R wave จุดเริ่มต้น นับช่วงไป 15 ช่องใหญ่ * นับ QRS ที่อยู่ในช่วงนี้ แล้วคูณด้วย 20 คือ Heart rate ใน 1 นาที วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 * เลือก R wave จุดเริ่มต้น นับช่วงไป 30 ช่องใหญ่ * นับ QRS ที่อยู่ในช่วงนี้ แล้วคูณด้วย 10 คือ Heart rate ใน 1 นาที
  • 24. HR = 45 / min HR = 60 / min
  • 25.
  • 26.
  • 27. - P-R intervals คงที่หรือไม่ ? - P-R interval อยู่ในช่วงปกติหรือไม่ ? - ถ้า P-R interval ไม่เท่ากัน มีลักษณะที่เปลี่ยนแปลงอย่างไร ? P-R intervals
  • 28.
  • 29. มีลักษณะ 1. อัตราการเต้นปกติ คือ 60-100 ครั้ง / นาที Atrial rate = Ventricular rate 2. จังหวะการเต้นสม่ำเสมอ PP และ RR interval มีค่าคงที่ 3. P wave รูปร่างปกติและเหมือนกัน นำหน้า QRS ทุกตัว และหัวตั้งใน Lead I, II, aVF หัวกลับใน aVR 4. PR, QRS ปกติทั้งระยะเวลาและรูปร่าง Normal sinus rhythm
  • 30. 1. Bradycardia 2. Tachycardia 3. Premature contraction 4. Flutter 5. Fibrillation 6. Heart block กลไกการเกิดความผิดปกติการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ อาจแบ่งออกได้เป็น 6 ชนิด
  • 31. Bradycardia ที่สำคัญ - Sinus bradycardia - Sinus arrhythmia - Sinus arrest
  • 32.
  • 33. Sinus Arrhythmia - จังหวะ การ เต้น ไม่ สม่ำเสมอ หายใจเข้าอัตราเร็ว หายใจออกอัตราช้า ลง PP, RR ไม่คงที่ต่างกัน > 0.16 วินาที - พบได้ในผู้สูงอายุ หรือ โรคกล้ามเนื้อหัวใจด้านล่างตายเฉียบพลัน - P wave นำหน้า QRS complex ทุ กตัว และ PR ปกติ
  • 34. Sinus Arrest - จังหวะเต้น ไม่ สม่ำเสมอ RR ไม่คงที่ - P wave นำหน้า QRS complex ทุ กตัว และ PR ปกติ
  • 35.
  • 36.
  • 37. Sinus Tachycardia - Rate มากกว่า 100 ครั้ง / นาที จังหวะ การเต้นสม่ำเสมอ - P wave นำหน้า QRS complex ทุกตัวใน อัตรา 1 :1 - PR ปกติ และ คงที่ ลักษณะ
  • 38. การรักษา 1. แก้ไขตามสาเหตุ เช่น ให้ยาลดไข้ งดใช้ยาที่กระตุ้นประสาทซิมพาเทติก 2. ให้ยาปิดกั้นแคลเซียม เช่น verapamil 3. ให้ยากระตุ้นการทำงานของพาราซิมพาเทติก เช่น digitalis 4. การใช้ vagal maneuvers ร่วมด้วย เช่น การนวด carotid sinus, valsava maneuver
  • 39. Multifocal atrial tachycardia (MAT) - rate >100 ครั้ง / นาที ไม่สม่ำเสมอ บางครั้ง PP, PR, RR interval จะเปลี่ยนตามตำแหน่งของ pacemaker - P wave ผิดปกติมากกว่า 3 ตัว อยู่นำหน้า QRS ทุกตัว QRS ปกติ - พบใน COPD, Resp. failure, CHF, theophylline therapy
  • 40. Paroxysmal supraventricular tachycardia (PSVT) - rate เร็ว (150-250 ครั้ง / นาที ) สม่ำเสมอ - P wave หัวตั้งหรือหัวกลับ บางครั้งมองไม่เห็น หรือตามหลัง QRS - QRS ตัวแคบปกติ - มักเกิดทันทีและหยุดทันที อาจเริ่มต้นจาก PAC
  • 41.
  • 42. Ventricular Tachycardia Rate : 140-220 ครั้ง / นาที Rhythm : สม่ำเสมอ ลักษณะคลื่น : P wave ไม่ค่อยพบ QRS complex รูปร่างกว้าง P-R interval วัดไม่ได้ สาเหตุ OHD, electrolyte imbalance, antiarrhythmic drugs
  • 43. Premature contraction ที่สำคัญ - Premature Atrial Contraction - Premature Ventricular Contraction
  • 44.
  • 45.
  • 46. Premature ventricular contraction : PVC - ไม่พบ ectopic P wave นำหน้า PVC แต่อาจพบ sinus P wave ที่ไม่สัมพันธ์กับ QRS - QRS เกิดก่อนกำหนด รูปร่างต่างจากปกติ และกว้างกว่า 0.12 sec - Rate,rhythm ขึ้นอยู่กับ underlying rhythm - ช่วงที่เกิด PVC จังหวะ จะ ไม่สม่ำเสมอ
  • 47. Premature Ventricular Contractions (PVCs) Multifocal PVC ’ s Unifocal PVC ’ s ; Ventricular Bigeminy
  • 48.
  • 49.
  • 50. Flutter ที่สำคัญ - Atrial Flutter - Ventricular Flutter
  • 51. Atrial rate 250-350 ครั้ง / นาที จังหวะ สม่ำเสมอหรือไม่สม่ำเสมอ P wave ไม่ชัด มี Flutter wave (F wave) ลักษณะ เด่น คล้าย ฟันเลื่อย (sawtooth pattern) เห็นชัดใน lead II,III, aVF, V1 ventricular rate ไม่แน่นอน Atrial Flutter Atrial flutter with 2 - 5 : 1 AV conduction
  • 52.
  • 53.
  • 54. Fibrillation ที่สำคัญ - Atrial Fibrillation - Ventricular Fibrillation
  • 55.
  • 56. Ventricular Fibrillation (VF) - Rate เร็วมากจนวัดไม่ได้ - Rhythm ไม่สม่ำเสมอ ไม่เป็นระเบียบ - P wave ไม่พบ - QRS complexes or T wave แยกไม่ได้
  • 57.
  • 58. Heart block ที่สำคัญ - First-Degree (AV) Block - Second-Degree (AV) Block - Third-Degree (AV) Block
  • 59. First - degree AV block - P wave 1 ตัว ตามด้วย QRS complex 1 ตัว ตามปกติ - PR interval กว้างกว่า 0.20 วินาที พบในคนปกติที่มี vagal tone เพิ่ม นักกีฬา โรคหัวใจได้รับยาบางอย่าง
  • 60. Second - degree AV block : Mobitz I - P wave และ QRS complex รูปร่างปกติ - PR interval จะค่อยๆ กว้าง ออก ในแต่ละ QRS complex จนในที่สุด P wave ตัว หนึ่งจะ ไม่มี QRS complex เกิดตามมา พบได้ในคนปกติ นักกีฬา ยาบางอย่าง โรคหัวใจ เช่น Inferior wall MI
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 65. จุดประสงค์ของการใช้ Pacemaker 1. Bradyarrhythmia เพื่อให้ Hemodynamic กลับสู่ปกติหรือใกล้เคียงปกติทั้งในขณะพักและออกกำลังกาย 2. Ventricular Tachyarrhythmia เพื่อกระตุ้นการเต้น , Cardioversion,Defibrillation
  • 66.
  • 67.  
  • 69. ข้อบ่งชี้ของการใส่ Temporary Pacemaker 1. Bradycardia ที่ Cardiac Out put ไม่พอ 1.1 Complete Heart Block 1.2 Sick Sinus Syndrome 2. Bradycardia มีอาการแบบชั่วคราวเนื่องจากได้ ยา Digoxin, ยา Antiarrhythmia
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82.
  • 83.
  • 84.
  • 85. การดูแลผู้ป่วยหลังใส่ Permanent Pacemaker 1. Bed rest in 24 hr ห้ามขยับแขนข้างที่ใส่ Pacemaker 2.Observe แผล 3. ให้ยาแก้ปวด prn 4. ทำ EKG 12 leads หลังใส่ , observe EKG 5.Observe Arrythmia 6. เฝ้าระวัง Complication : lead หัก , lead ทะลุ , Rejection (1 WK-1Year)
  • 86. การสอนผู้ป่วย 1. บอกการทำงานของเครื่อง , ภาวะผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์ 2. บอกอัตราความเร็วของเครื่อง 3. สอนวิธีการจับ Pulse , การหาตำแหน่ง , จังหวะการเต้น , การนับเต็มนาที 4.Record pulse หลังตื่นนอนทุกวัน 5. การมาพบแพทย์ตามนัด 6. การสะอึก , pulse irregular 7. ระวังการเข้าใกล้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแรงสูง , ห้ามพิงโดยตรงกับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำงานอยู่ ( มอเตอร์ไฟฟ้ากำลังสูง ) ถ้าเวียนศรีษะให้รีบออกห่างและจับ pulse
  • 88.
  • 89.
  • 90.
  • 91.
  • 92. แนวทางการเตรียมเลือดสำหรับการผ่าตัดหัวใจ 6 6 6 Open heart surgery เฉพาะกรณีมีข้อบ่งชี้ 1 Close heart surgery Platelets [unit] FFP [unit] PRC [unit] ชนิดของการผ่าตัด
  • 93.
  • 94.
  • 95.
  • 96.
  • 97.
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102.
  • 103.
  • 104.
  • 105.
  • 106.
  • 107.
  • 108.
  • 109.
  • 110.
  • 111.
  • 112.
  • 113.
  • 114.
  • 115.
  • 116.
  • 117.
  • 119. แนวทางการให้สารน้ำแก่ผู้ป่วยเด็ก หลังผ่าตัดหัวใจ Day 0 =5DW 500 cc/day หรือ 2 cc/kg/hr Day 1,2 =5DW 750 cc/day หรือ 2.5-3 cc/kg/hr Day 3 =5DW 1,100 cc/day หรือ 4 cc/kg/hr อายุ >2 ปีหรือ BW>13 kg Day 0=10DN/5 500 cc/day หรือ 2 cc/kg/hr Day 1= 10DN/5 750 cc/day หรือ 2.5-3 cc/kg/hr อายุ <2 ปีหรือ BW<13 kg
  • 120.
  • 121.
  • 122.
  • 123.
  • 124.
  • 125.
  • 126.
  • 127.
  • 128.