SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 57
Baixar para ler offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
22 พฤษภาคม 2557
By Peter Senge
by Peter Senge, Bryan Smith, Nina Kruschwitz, Joe Laur and Sara Schley
Nicholas Brealey © 2008 (432 pages)
ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล
ที่กรุณาแนะนาหนังสือเล่มนี้ มาศึกษา
 Peter Senge lectures at MIT.
 Bryan Smith is a faculty member at York University’s Sustainable
Enterprise Academy.
 Nina Kruschwitz is manager of the Fifth Discipline Fieldbook
Project.
 Senge, Joe Laur and Sara Schley co-founded the SoL
Sustainability Consortium, which fosters economic, ecological
and social sustainability.
 Senior lecturer at MIT
 Founding chair of the Society for
Organisational Learning
 Journal of Business Strategy (1999):
“strategist of the century”
 Wall Street Journal: One of the world’s
most influential business thinkers”
 การปฏิวัติกาลังเกิดขึ้นในทุกองค์กรทั่วโลก เพราะการค่อย ๆ
ปรับเปลี่ยนอาจจะไม่ทันกาล
 โดยเป็นการเปลี่ยนจากธุรกิจแบบเดิม ๆ (business as usual) มา
เป็นการใช้กลยุทธ์ เพื่อสร้างความยั่งยืนให้กับโลก (sustainable
world)
 หนังสือนี้ มีกลยุทธ์ในระดับบุคคลจนถึงองค์กร ที่ตอบสนองความ
ท้าทายปัจจุบัน ในการสร้างความยั่งยืนของโลก เพื่อคนรุ่นเรา
และคนรุ่นต่อไป
Part 1
 ยุคอุตสาหกรรมกาลังสิ้นสุดลง เนื่องจากทุกภาคส่วนตระหนักถึง
ผลข้างเคียง ที่ทาร้ายโลกของเรา
 การสิ้นสุดยุคหนึ่งนาไปสู่การเกิดใหม่ของอีกยุคหนึ่ง
 แม้ว่ายุคอุตสาหกรรมทาให้เกิดการพัฒนาด้านการศึกษา สิทธิ
มนุษยชน วัสดุอานวยความสะดวกต่าง ๆ แต่ก็ทาลาย
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมอันดีงาม และทาให้การดารงชีวิตมีความ
ยากลาบาก
มี 3 หนทางในการทาให้โลกเกิดความยั่งยืนคือ:
 1. ต้องคานึงถึงคนรุ่นต่อไป (There is no viable path forward that
does not take into account the need of future generations.)
 2. องค์กรต้องเข้ามามีส่วนร่วม (Institutions matter.)
 3. การปรับเปลี่ยนต้องอาศัยแนวคิดใหม่ (All real change is
grounded in new ways of thinking and perceiving.)
 ความท้าทายมีสามประการคือ 1.) พลังงานและการขนส่ง 2.)
อาหารและน้า 3.) ของเสียและสารพิษ
 อีกทั้งการที่ทรัพยากรที่ตกอยู่ในกามือของคนจานวนน้อย
 โลกจะยั่งยืนได้ต้องคิดให้แตกต่าง การมองภาพอนาคตต้องมอง
ในภาพใหญ่อย่างเป็นระบบ ที่มีการเชื่อมโยงกัน
 การมองภาพใหญ่อาศัยความสามารถสามประการคือ 1.)
มองเห็นระบบ 2.) มีการเชื่อมโยงข้ามพรมแดน และ 3.) มี
ความสร้างสรรค์มากกว่าการแก้ปัญหา (seeing systems,
collaborating across boundaries and creating versus problem
solving )
 ปัญหาของโลกในปัจจุบันคือภาวะโลกร้อน เกิดสภาวะเรือน
กระจก (Greenhouse) เนื่องจากมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ็อก
ไซด์ (CO2) สู่บรรยากาศ เกินกว่าที่สลายตัวได้เองตามธรรมชาติ
รวมทั้งมีการตัดไม้ทาลายป่ า
 การยกตัวอย่างก๊าซคาร์บอนไดอ็อกไซด์ แสดงให้เห็นความ
เร่งด่วนของปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข ซึ่งไม่ได้มีเพียงประการเดียว
เท่านั้น ยังมีปัญหาอื่น ๆ อีก ที่ต้องการการแก้ไขเร่งด่วนเช่นกัน
Part 2
 ในสวีเดน
 ใช้น้ามันเป็ นพลังงาน 30%
 รถยนต์ 15% ใช้ ethanol
 เกิดจากเครือข่ายท้องถิ่นเล็ก ๆ
มากมาย ที่มีความมุ่งมั่นและกล้า
หาญ ในการนาร่องเรื่องการ
อนุรักษ์ทรัพยากร ได้สร้างแรง
บันดาลใจ ให้กับผู้อื่นเห็นเป็น
ตัวอย่าง และมีการขยายผลเป็ นวง
กว้าง
BioFuel
Region
Green Zones
Dealerships
Cars
 ถ้าการปล่อยก๊าซคาร์บอนคือ
เงินตรา สานักงาน ศูนย์การค้า
โรงแรม อพาร์ทเมนท์ บ้านเรือน
จะถูกอัดแน่นไปด้วยเงิน
 USGBC: The US Green Building
Council
 LEED: Leadership in Energy and
Environmental Design
 เริ่มจากกลุ่มคนเล็ก ๆ รวมตัวกัน
ระบุผลกระทบของอาคารต่อ
สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และชุมชน
 We should not cause more water to be removed from a
watershed than we replenish. (Neville Isdell, CEO, 2007)
 ในอีก 2 ทศวรรษหน้า การใช้น้าจะเพิ่มขึ้นอีก 40 % และใช้เพิ่ม
อีก 17% ในการเพาะปลูก เพื่อเลี้ยงพลเมืองโลกที่เพิ่มขึ้น
Part 3
 กรอบแนวคิดเรื่องความยั่งยืนของโลก เกิดจาก Stuart Hart
และ Mark Milstein ที่ระบุความยั่งยืนเป็นสองมิติคือ เวลา
และสถานที่ (time and space) รวมถึงความท้าทายด้าน
สังคมและสิ่งแวดล้อม
 กรอบแนวคิดดังกล่าว มีความเชื่อมโยงของหน้าที่หลักและ
ความยั่งยืนเข้าด้วยกัน ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
 มีแรงผลักดันทางธุรกิจ ที่ทาให้เกิดการมุ่งเน้นความยั่งยืนของ
โลก 4 ประการคือ
 1. การเกิดผลข้างเคียงของการประกอบธุรกิจ คือมลภาวะและ
ของเสียที่ปล่อยออกมาสู่สิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความตระหนัก
ในการประหยัดทรัพยากร และลดมลภาวะ
 2. กลุ่มองค์กรทางสังคม ที่ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม มีบทบาท
มากขึ้นในการตรวจตราอุตสาหกรรม ให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน
สิ่งแวดล้อม
 3. แนวโน้มทางเทคโนโลยี เช่น Genomics, biomimicry,
nanotechnology, information technology และ renewable
energy ที่ทาให้การดาเนินการทางธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป
 4. ปัญหาระดับโลก เช่น ทรัพยากรที่ร่อยหรอลง สิ่งแวดล้อม
ที่เสื่อมโทรม บรรยากาศโลกที่เปลี่ยนไป ความยากจนของ
ประเทศกาลังพัฒนา ปัญหาเรื่องความมั่นคง
แนวคิดยุคอุตสาหกรรม
 พลังงานมีมากและราคาถูก
 ที่ว่างเปล่าสาหรับทิ้งขยะยังมีอีกมาก
 มนุษย์เปลี่ยนสิ่งแวดล้อมโลกไม่ได้
 มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐที่สุดในโลก
 น้าและดินมีไม่จากัด
 ผลผลิตและมาตรฐานคือสิ่งสาคัญในการพัฒนา
 การเพิ่ม GDP เป็นการลดช่องว่างของสังคม
แนวคิดใหม่
 ใช้พลังงานที่สร้างขึ้นมาใหม่
 นาวัสดุกลับมาใช้ซ้า
 นึกถึงอนาคตชนรุ่นหลัง
 เราคือสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
 นึกถึงคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติ
 ร่วมมือกัน
 นึกถึงส่วนรวม
Part 4
 การจะสร้างอนาคตใหม่ ต้องเรียนรู้การมองเห็นระบบของภาพ
ใหญ่ (see the larger systems) ของการทางานและการดาเนิน
ชีวิต
 การเห็นระบบต้องใช้ความฉลาดที่เราทุกคนมีอยู่
 องค์กรเห็นระบบของภาพใหญ่ โดยสร้างสิ่งแวดล้อมในการ
เรียนรู้ และสนับสนุนระบบที่ฉลาด ให้กว้างขวางขึ้นไปอีก
ประเด็นเพื่อความยั่งยืน
 (1) ละมุมมองแบบเดิม
 (2) ถอยหลังแล้วมองให้เห็นภาพใหญ่
 (3) ร่วมมือกันในสิ่งที่เห็นร่วมกัน (commons)
 การเห็นภาพใหญ่ได้ ต้องมองอย่างลึกซึ้ ง มองให้เห็นต้นเหตุของ
ปัญหา เห็นโอกาสใหม่ ๆ และเลือกหนทางปฏิบัติ ที่เป็นแนวทาง
ใหม่
ทางเลือก
 หนทางเลือกมีสองหนทาง คือ 1.) การแก้ปัญหาระยะสั้น (short-
term, symptomatic solutions) เป็นการแก้ปัญหาตามอาการที่
เกิดขึ้น (quick fixes) และ 2.) การแก้ปัญหาระยะยาว (long-
term solutions) คือการแก้ปัญหาที่พื้นฐาน
 องค์กรมักพบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กร ก็เป็นปัญหาของ
องค์กรอื่นด้วยเช่นกัน (commons) ซึ่งทาให้สามารถเกิดความ
ร่วมมือกันกับองค์กรอื่นได้
 การร่วมมือกับองค์กรอื่นในการแก้ปัญหาที่เป็นเหมือนกันนั้น
เป็นวงจรการพัฒนาที่ดี (virtuous cycle of improvement) เป็นการ
ลดค่าใช้จ่าย ทาให้เกิดเป็นระบบลดค่าใช้จ่ายอื่นๆ ได้อีก
 การเกิดความร่วมมือกัน เริ่มจากบุคคล ทีมงาน และองค์กร ที่
เห็นความเสี่ยง และยินดีแก้ปัญหาร่วมกัน
 การแก้ปัญหาระดับโลก ในเรื่อง พลังงานและการขนส่ง อาหาร
และน้า วัสดุและของเสีย ไม่สามารถแก้ได้อย่างโดด ๆ ต้อง
อาศัยความร่วมมือกัน แบบข้ามพรมแดน เพื่อภาพในอนาคตที่
ดีกว่า จะได้เกิดขึ้นจริง
Part 5
การร่วมมือข้ามพรมแดน
 ความร่วมมือต้องการมากกว่าความตั้งใจจริง คือต้องมีทักษะของการ
ชุมนุม (convening) เชิญผู้คนที่ถูกต้อง (right people) มีจุดมุ่งหมาย
เหมือนกัน เพื่อการประชุมจะได้เป็นไปอย่างเปิดกว้างและได้ผล
 ความร่วมมือไม่ได้เกิดจากมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างเดียว แต่เกิด
จากความตั้งใจจริง ที่จะแก้ไขความเปราะบางร่วมกัน
 ความร่วมมือกันได้ เกิดจากความสามารถ 3 ประการคือ 1.) มีการ
ชุมนุม 2.) การฟัง และ 3.) การมีจุดมุ่งหมายในการเอาใจใส่ร่วมกัน
(convening, listening and nurturing shared commitment)
การนาไปปฏิบัติ
 การปฏิบัติเป็นกระบวนการทีละขั้น ๆ ที่ต้องอาศัยความอดทน
และอดกลั้น หาผู้ที่มีความผูกพันร่วมกัน เป็นบุคคลที่มี
ความสาคัญต่อระบบนั้น รวมถึงผู้ที่ไม่มีส่วนในการตัดสินใจ แต่
มีอิทธิพลต่อกระบวนการด้วย
การมองด้วยสายตาคู่ใหม่
 การเปิดสายตาคู่ใหม่ประกอบด้วย :
 1. มีความหลากหลายในกลุ่ม ที่เป็นตัวแทนของระบบในภาพใหญ่
 2. ระบุมุมมองที่ต่างออกไป
 3. เห็นพ้องทั้งทีม (Go there together)
 4. ให้เวลา ไม่เร่งรัด ในการฟังเสียงสะท้อน
 5. ให้ความสนใจกับความมุ่งมั่นจากเสียงสะท้อน ไม่เร่งรีบ
สร้างความมุ่งมั่นร่วมกัน
 เชื่อมโยงสิ่งที่เป็นความสนใจส่วนตัวกับขององค์กรเข้าด้วยกัน
แล้วสร้างความเป็นไปได้ ในการมุ่งเน้นและความมุ่งมั่น
 สิ่งสาคัญในการส่งเสริมการสร้างความมุ่งมั่นร่วมกัน คือการ
ผสานสิ่งที่คุณเอาใจใส่ กับสิ่งที่องค์กรเอาใจใส่ เข้าด้วยกันเป็น
เนื้ อเดียวกัน
มุ่งให้ไกล
 การเปิดใจ เกิดจากกระบวนการที่เกินเลยมุมมองของเรา ในการ
เชื่อมโยงกับผู้อื่น เพื่อสร้างระบบขึ้นมาใหม่ด้วยกัน
 การจะข้ามเขตได้ ต้องอาศัยการเปิดความฝันด้วย เป็นการผสาน
จุดประสงค์ หรือจุดหมาย (purpose or destiny) ร่วมกัน
 นี่จึงเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างแท้จริง และมักจะถูก
มองข้ามกันไป
Part 6
จากการแก้ปัญหาเป็นร่วมสร้างสรรค์
 การแก้ปัญหาต่างจากการสร้างสรรค์ แม้ว่าจะเป็นไปเพื่อการ
เปลี่ยนแปลง
 เพราะการสร้างสรรค์ต้องใช้ แรงกระตุ้น แรงบันดาลใจ
จินตนาการ ความอดทน อดกลั้น และมีมนุษยธรรม (inspiration,
aspiration, imagination, patience, perseverance and no small
amount of humility)
 อีกทั้งมีความจาเป็นที่ต้องมีเครือข่ายของผู้มุ่งมั่นและขององค์กร
ที่เรียนรู้ในการมองเห็นระบบและทางเลือกใหม่
ใช้ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ
 การปรับเปลี่ยนจากการแก้ปัญหามาเป็นการสร้างสรรค์ เป็นการ
ปรับเปลี่ยนมุมมองที่เกิดจากแรงบันดาลใจ โดยเฉพาะที่มาจาก
ธรรมชาติ
 ในทางธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ที่นากลับมาใช้ใหม่ (life after life) มี
แนวทางที่มีแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติ ที่มีการหมุนเวียน
วัตถุธาตุกลับมาใช้ใหม่นั่นเอง
จากทาสิ่งง่าย ๆ เป็นความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ใหม่
 บริษัทมากมายเลือกทาในสิ่งที่ทาได้ง่าย เช่น ประหยัดน้า
ประหยัดไฟฟ้า ซึ่งเป็นแนวทางแก้ปัญหาในระยะสั้น
 องค์กรควรมีการลงทุนเพื่ออนาคต และเกื้ อหนุนโครงข่ายผู้นา ที่
มีความเห็นเหมือนกัน
ออกแบบใหม่เพื่ออนาคต
 องค์กรที่มีความตั้งใจจริง การออกแบบองค์กรใหม่ ต้องทาเป็น
ระบบไม่แยกส่วน
 การออกแบบต้องคานึงถึง การทางานหลักหรือหน้าที่หลักของ
องค์กร เน้นการสร้างนวัตกรรม การพัฒนาและการวิจัยในระยะ
ยาว ไว้ในระบบด้วย
 จากนั้นให้มุ่งเน้นที่บุคลากร โดยนาแบบอย่างการปฏิบัติที่เป็น
เลิศ มาถ่ายทอดให้ผู้จัดการหรือหัวหน้าหน่วยนาไปปฏิบัติ
 ซึ่งการออกแบบ อาจต้องมีการปรับเปลี่ยนตามบริบท
การสร้างอนาคตที่ต้องการ
 เรียนรู้จากระบบของสิ่งมีชีวิต (Learn from
living systems)
 ปฏิบัติเป็นประจาวัน (Unleashing everyday
magic)
 ไม่จาเป็นต้องรู้ทุกเรื่อง (You don’t have to
have all the answers)
 วิสัยทัศน์มีไว้ใช้ ไม่ได้มีไว้โชว์ (It’s not what
the vision is, it’s what the vision does)
No division or department can be exempt from integrating sustainability into the key results they produce
Part 7
ในการสร้างอนาคตที่ดี เราต้อง:
 ลดการบริโภคอย่างฟุ่ มเฟื อย
 ลงทุนเพื่อสร้างสิ่งใหม่ที่ดีขึ้นกว่าเดิม ทั้งทางด้าน ชีวิต สังคม
และทรัพยากรธรรมชาติ
 เร่งสร้างนวัตกรรมทางสังคม ที่เรียนรู้จากความแตกต่างทาง
วัฒนธรรม
 ลดการแก้ปัญหาระยะสั้น
 ส่งเสริมการแก้ปัญหาระยะยาว โดยใช้ระบบธรรมาภิบาล
ภาวะผู้นาในอนาคต
 ภาวะผู้นาเกี่ยวข้องการกับการสร้างอนาคตที่ต้องการอย่างแท้จริง
ไม่ใช่ผู้ที่ทาให้ดีที่สุด ในสภาวะที่ไม่สามารถควบคุมได้
 ผู้นาในอนาคต คือผู้ที่สามารถเชื่อมโยงอดีตไปยังอนาคต ได้ยาว
ไกลกว่าผู้นาในยุคที่ผ่านมา
สรุป
 โลกเรากาลังเผชิญปัญหาเรื่องความยั่งยืนและสภาวะโลกร้อน
 Peter Senge, Bryan Smith, Nina Kruschwitz, Joe Laur และ Sara
Schley วิพากษ์บทบาทของบุคคล องค์กร และนานาชาติ ที่ต้อง
ร่วมมือกันสร้างในสิ่งที่ดีกว่าเดิม
 ผู้ประพันธ์สาธิตการสร้างความยั่งยืน และความร่วมมือกันใน
การแก้ปัญหาก่อนที่จะสายเกินไป
 ประโยชน์ที่ธุรกิจจะได้คือประหยัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ ด้วย
การใช้นโยบายการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์และบริการ
คุณค่าของหนังสือ
 เป็นการเชื่อมโยงความยั่งยืน เข้ากับระบบการคิด เพื่อสร้างการ
เปลี่ยนแปลง
 เน้นความสาคัญของความร่วมมือ และร่วมสร้างสรรค์
 สร้างความหวัง ด้วยการบอกเล่าเรื่องดี ๆ ที่เกิดขึ้น
 We are a young species who, uncertain of our niche,
has very recently – in a virtual second of life’s day
on earth – expanded to fill the world.
 In a sense we are like teenagers, full of enthusiasm
and energy, and more than a bit confused. And, like
every teenager must, we are about to discover that
we are not the center of the universe – not even
the center of life on this planet. We are but one of
millions, and our merit depends not on our ego, but
on our contribution.”
Napoleon Hill

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบEvolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
maruay songtanin
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
maruay songtanin
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
maruay songtanin
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
maruay songtanin
 
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลางHuman centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
maruay songtanin
 
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีนChinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีน
maruay songtanin
 
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
maruay songtanin
 
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญาWise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
maruay songtanin
 

Destaque (20)

Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบEvolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
 
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 20162016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
 
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลางHuman centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
 
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
 
Execution premium การทำให้สำเร็จ
Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ
Execution premium การทำให้สำเร็จ
 
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีนChinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีน
 
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นPmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
 
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการGeneration y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
 
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ BlazeyBlazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
 
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำLeaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
 
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติTips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
 
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
 
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมินPmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
 
World is flat โลกราบเรียบ
World is flat โลกราบเรียบWorld is flat โลกราบเรียบ
World is flat โลกราบเรียบ
 
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญาWise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
 
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
 
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์
 

Semelhante a The necessary revolution จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
jirapom
 
Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จInnovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
maruay songtanin
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
Kobwit Piriyawat
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
Noppakhun Suebloei
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
พัน พัน
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
Klangpanya
 

Semelhante a The necessary revolution จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน (20)

เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จInnovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
Green Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and UpdatesGreen Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and Updates
 
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
 
Baldrige awareness series 9 societal responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม
Baldrige awareness series 9   societal responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคมBaldrige awareness series 9   societal responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม
Baldrige awareness series 9 societal responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงกลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 

Mais de maruay songtanin

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
maruay songtanin
 
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

Mais de maruay songtanin (20)

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

The necessary revolution จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน