SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
Baixar para ler offline
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
ที่ปรึกษาศูนย์อานวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า
2 สิงหาคม 2556
Adapted from:
A Framework for Leading the Transformation to Performance Excellence
(LTPE Framework)
By
John R. Latham, University of Northern Colorado, 2013
กรอบการนาองค์กร (จากการสัมภาษณ์ผนาสูงสุดของ 14 องค์กรที่
ู้
ได้รบรางวัล Baldrige) ประกอบด้วย 35 ปั จจัย ที่จดได้เป็ น 5
ั
ั
กลุม คือ
่
1.แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลง (Forces and
้
facilitators of change)
2.แนวทางการนาองค์กร (Leadership approaches)
3.พฤติกรรมของผูนา (Leadership behaviors)
้
4.ลักษณะเฉพาะของผูนา (Individual leader characteristics)
้
5.วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)




้
ตังแต่เกิดวิกฤตเรืองของคุณภาพในทศวรรษ 1980s ทาให้
่
องค์กรต่าง ๆ ในอเมริกาต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของการ
แข่งขันในระดับโลก การแข่งขันในการเลือกคนเก่ง ความไม่
แน่นอนทางเศรษฐกิจ ความท้าทายด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
เป็ นแรงผลักดันให้องค์กรเหล่านั้น ต้องมีการคิดใหม่ทาใหม่
เกี่ยวกับกลยุทธ์และการออกแบบวิธีการ เพื่อให้องค์กรประสบ
ผลสาเร็จอย่างยั ่งยืน


เกณฑ์รางวัลเพื่อผลประกอบการที่เป็ นเลิศ (Malcolm Baldrige
National Quality Award Criteria for Performance Excellence หรือ
CPE) เป็ นรูปแบบของการบูรณาการมุมมองด้าน เศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม เข้ากับ กลยุทธ์ การปฏิบตการ ผลผลิต
ั ิ
บริการ และรวมถึงผลประกอบการ
ปั ญหาและจุดมุ่งหมาย
 ประมาณการว่าร้อยละ 70-80 ของความพยายามปรับเปลี่ยน
องค์กรประสบความล้มเหลว
 เราจะมีวิธีการเรียนรูจากองค์กรที่ประสบผลสาเร็จในการ
้
เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ?
 องค์กรที่มีสมรรถนะสูง มีการพัฒนาความต่อเนื่อง (pipeline)
ของผูนา เพื่อความยั ่งยืนและนาพาองค์กรให้มีความก้าวหน้าขึ้น
้
ไปอีกได้อย่างไร ?
วิธีการ - มี 5 คาถามหลักที่ใช้ในการสัมภาษณ์ คือ
้
1. อะไรคือแรงผลักดันทังภายนอกและภายในที่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง และส่งผลอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ
่
2. อะไรคือแนวทางที่ผนาระดับสูงใช้ (กระบวนการและกิจกรรม) และ
ู้
ส่งผลอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ
่
3. อะไรคือพฤติกรรมที่ผนาระดับสูงแสดงออก และส่งผลอย่างไรต่อการ
ู้
เปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ
่
4. อะไรคือลักษณะเฉพาะของผูนา ทีผบริหารระดับสูงใช้ และส่งผล
้ ่ ู้
อย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ
่
5. อะไรคือวัฒนธรรมองค์กรที่สาคัญ และส่งผลอย่างไรต่อการ
เปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ
่
วิธีการเก็บข้อมูล
 ถามผูนาระดับสูง เป็ นคาถามกว้าง ๆ และเป็ นแบบปลายเปิ ด
้
เช่น ก) เหตุใดจึงต้องพัฒนา ข) วิธีการนาทาอย่างไร ค) อะไร
คือสิ่งท้าทาย ง) มีอะไรบ้างที่ได้ผลและอะไรบ้างที่ไม่ได้ผล จ)
ได้เรียนรูอะไรบ้าง
้
 ผูนาองค์กรทีถูกสัมภาษณ์จะเล่าเรืองราว (story) ที่เกิดขึ้น ซึ่ง
้
่
่
นาไปสูการเปลี่ยนแปลง ผูทาวิจยจะถามอย่างต่อเนื่องเพื่อความ
่
้
ั
กระจ่างในจุดที่สาคัญ และเพื่อตอบคาถามหลักของงานวิจย
ั
กรอบการนา (The framework for LTPE) ประกอบด้วย 35 แนวทาง
แบ่งได้เป็ น 5 กลุมคือ:
่
 แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ ยนแปลง (f)
้
 แนวทางการนาองค์กร (a)
 พฤติกรรมของผูนา (b)
้
 ลักษณะเฉพาะของผูนา (i)
้
 วัฒนธรรมองค์กร (c)
กรอบการนาเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์
 กลุมแรกประกอบด้วยแรงผลักดันและผูประสานงานในการ
่
้
เปลี่ยนแปลง ร่วมกับ แนวทางที่ผบริหารระดับสูงใช้ เป็ น
ู้
วิทยาศาสตร์ (science) ที่นาไปสูการเปลี่ยนแปลง
่
 กลุมที่สองประกอบด้วย พฤติกรรมผูนา ลักษณะเฉพาะของผูนา
่
้
้
และวัฒนธรรมองค์กร เป็ นศิลปะ (art) ที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลง
1.แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลง
้
 มีอยู่ 5 แรง ที่เป็ นแรงผลักและแรงดึง (push and pull) คือ
1.ความตึงเครียด tension (f1)
2.การต่อต้าน resistance (f2)
3.ความสอดคล้อง alignment (f3)
4.เกณฑ์ criteria for performance excellence (CPE) model (f4)
5.ผูเชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอก subject matter experts
้
(SMEs) internal and external (f5)
ความตึงเครียด tension (f1)
 มีแรงจากภายนอกและภายในทาให้องค์กรไม่สามารถอยูเฉย ๆ ได้
่
อีกต่อไป โดยเฉพาะแรงบีบจากองค์กรแม่หรือองค์กรที่มีหน้าที่
ควบคุม หรือเกิดจากสภาพสิ่งแวดล้อมทีมีการแข่งขัน
่
 กรณีศึกษาส่วนมากกล่าวว่า เกณฑ์ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การ
ได้รบรางวัลเป็ นส่วนหนึ่งของแรงกระตุน
ั
้
้
 การประเมินตนเองตามแนวทาง Baldrige Award มีผลต่อแรงทัง
ภายในและภายนอก ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
 ทุกรายกล่าวว่า ความก้าวหน้าของคะแนนจากการประเมิน และ
ผลลัพธ์ที่ดีข้ ึน เป็ นแรงกระตุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
้
การต่อต้าน resistance (f2)
 ปฏิกิรยาต่อการเปลี่ยนแปลงคือการต่อต้าน ซึ่งเป็ นธรรมชาติการ
ิ
ปองกันตนเอง ที่มีวงจรการแสดงออกของอารมณ์ในการ
้
ตอบสนองคือ ปฏิเสธ โกรธ ต่อรอง หดหู่ และยอมรับในที่สุด
(denial, anger, bargaining, depression, and acceptance)
 ความสามารถในการเข้าใจความรูสึกของผูอื่น ต่อการ
้
้
เปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ เป็ นกุญแจความสาเร็จในการ
เปลี่ยนแปลงองค์กร ซึ่งเป็ นทักษะของผูนาการเปลี่ยนแปลง และ
้
ผูนาแบบผูรบใช้ (transformational leaders, and servant leaders)
้
้ั
ความสอดคล้อง alignment (f3)
 ความสอดคล้อง หมายถึงความสมาเสมอและเป็ นแนว ที่การ
่
กระทาของบุคคลเป็ นแนวทางเดียวกับ ทิศทาง พันธกิจ
วิสยทัศน์ และค่านิยมขององค์กร
ั
 ความสาเร็จขึ้นกับความสมาเสมอของผูนาในด้าน พฤติกรรม กล
่
้
ยุทธ์ นโยบาย กระบวนการ การสื่อสาร วัฒนธรรม และการ
กระตุน
้
 ความสอดคล้องของ บุคคล กลุม ค่านิยม เปาประสงค์ ฯลฯ เป็ น
่
้
มุมมองที่สาคัญของผูนาการเปลี่ยนแปลง (transformational
้
leadership)
เกณฑ์ criteria for performance excellence (CPE) model (f4)
 การเดินทาง (journeys) สู่ความเป็ นเลิศ เป็ นการเปลี่ยนแปลง
ขนานใหญ่ ที่มีพ้ ืนฐานคือ วงจรการบริหารแบบกลยุทธ์ของ
องค์กร (organizations’ strategic management cycles)
 เกณฑ์มีส่วนช่วยในการวินิจฉัย และช่วยองค์กรในการพัฒนา
กระบวนการวางแผนกลยุทธ์
 เกณฑ์มีประโยชน์หลายประการ เช่น ช่วยกาหนดประเด็นในการ
พัฒนา เชื่อมโยงการบริหารคุณภาพกับวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ
และระบุโอกาสพัฒนา
ผูเชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอก subject matter experts (SMEs)
้
internal and external (f5)
 เกณฑ์มีความซับซ้อนและยากต่อการนาไปใช้ องค์กรจึงต้องมี
ผูเชี่ยวชาญภายในคือหัวหน้าศูนย์คณภาพ (chief quality officer or
้
ุ
CQO) และผูเชี่ยวชาญจากภายนอก มาเป็ นผูช่วยเหลือในการ
้
้
เปลี่ยนแปลง
 ผ้นาระดับสูงทุกรายกล่าวว่า ใช้ที่ปรึกษาจากภายนอกมาช่วย ณ จุด
ใดจุดหนึ่งในช่วงการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามที่ปรึกษาจาก
ภายนอกมาช่วยด้านเวลา (speed up) ให้กบผูบริหารระดับสูงใน
ั ้
กระบวนการการเปลี่ยนแปลง แต่ที่ปรึกษาเหล่านั้น ไม่สามารถมา
ทดแทนกับความมุ่งมั ่นของผูนาได้
้
แนวทางการนาองค์กร
 กรอบการนาองค์กร (LTPE framework) ประกอบด้วย 9 แนวทาง
หรือกระบวนการ ที่ผนาระดับสูงใช้ในการเปลี่ยนแปลง
ู้
 แนวทางทั้ง 9 นี้ เป็ นพื้นฐาน ที่มีการเชื่อมโยงกันของระบบการ
นาขององค์กรแบบมีกลยุทธ์
ผูมีสวนได้สวนเสีย - Stakeholders (a1)
้ ่
่
 การเข้าใจความต้องการของผูมีสวนได้สวนเสียทุกกลุ่มและการสร้าง
้ ่
่
ความสัมพันธ์ เพื่อสร้างคุณค่าอย่างเป็ นระบบ โดยมีการระบุและมี
การสื่อสารความต้องการ เพื่อนาไปใช้กบแนวทางต่อไป (a2-a9)
ั
 ความเข้าใจความต้องการของผูมีสวนได้สวนเสีย นาไปใช้ประโยชน์
้ ่
่
เพื่อการพัฒนากลยุทธ์ การตัดสินใจ และการสร้างคุณค่าให้กบผูมี
ั ้
ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
 การตอบสนองความต้องการผูมีสวนได้สวนเสียทุกกลุ่ม มีหลักฐาน
้ ่
่
ยืนยันว่า เกี่ยวข้องกับองค์กรที่มีสมรรถนะสูง ความมีชื่อเสียง การมี
ผลประกอบการด้านการเงินที่ดข้ ึน และส่งผลให้องค์กรประสบความ
ี
ยั ่งยืนในระยะยาว
การชี้นา - Compelling Directive (a2)
 การชี้นาเป็ นการระบุความเป็ นจริงที่ตองการ (desired reality) ที่มี
้
องค์ประกอบ 4 ประการคือ วิสยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และ
ั
จุดมุ่งหมาย (vision, mission, values, and meaningful work or
purpose)
 การระบุทิศทางหรือวิสยทัศน์ทองค์กรต้องการ เป็ นกุญแจสาคัญของ
ั
ี่
ผูนาการเปลี่ยนแปลง ผูนาแบบผูรบใช้ และผูนาด้วยจิตวิญญาณ
้
้
้ั
้
(transformational leadership, servant leadership, and spiritual
leadership)
 การชี้นาทาได้โดยการมุ่งเน้นกลยุทธ์และเปาประสงค์ focused
้
strategy and associated goals (a3)
การมุ่งเน้นกลยุทธ์ - Focused Strategy (a3)
 กลยุทธ์เป็ นการบอกแนวทางการไปสูจุดมุ่งหมายขององค์กร ให้กบ
่
ั
บุคคลในองค์กรและผูมีสวนได้สวนเสียที่สาคัญ
้ ่
่
 การพัฒนากลยุทธ์เป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบของผูนาระดับสูง
้
 การเน้นความสาคัญที่สุดในบางเรืองเท่านั้น (vital few) คือการตอบ
่
ปฏิเสธ (say no) กับแนวคิดดี ๆ หลาย ๆ เรื่อง แต่ไม่มีความสาคัญ
กับองค์กร เป็ นการกาจัดโครงการเด็กเล่น (pet projects) ที่ไม่
สอดคล้องกับกลยุทธ์
 การมุ่งเน้น (Focus) คือการจัดลาดับความสาคัญ ว่าอะไรสมควรทา
(what to do)
บุคลากร - E3 People (a4)
 การพัฒนาบุคลากรเป็ นบทบาทสาคัญของผูนาระดับสูง เป็ นการ
้
เตรียมคนเพือสนับสนุนกลยุทธ์ที่ได้วางไว้
่
 มีวิจยที่ยนยันความเชื่อมโยงของ การคัดเลือก การพัฒนา และ
ั ื
ความผูกพันของบุคลากร กับผลประกอบการ และเป็ นกุญแจ
สาคัญของการพัฒนาคุณภาพทุกรูปแบบ
 การมุ่งเน้นบุคลากร เป็ นมุมมองพื้นฐานของผูนาการ
้
เปลี่ยนแปลง (transformational leadership)
การปฏิบตและทาให้สาเร็จ - Deploy and Execute (a5)
ั ิ
 ผูนาระดับสูงให้ความช่วยเหลือการนาไปปฏิบตและทาให้สาเร็จ
้
ั ิ
โดยการสนับสนุนด้านทรัพยากร และการสื่อสาร (b4) ที่แสดง
ถึงความมุ่งมั ่นในการพัฒนาคุณภาพ
 การมอบหมายงานและการจัดสรรทรัพยากรให้กบ การริเริม
ั
่
ดาเนินการ (initiative) เป็ นหน้าที่ของผูนาระดับสูง ที่ทาให้
้
บุคลากรเกิดความเชื่อมั ่น และเกิดการปฏิบติ
ั
 การติดตามความก้าวหน้าของการริเริมดาเนินการ ตามกลยุทธ์ที่
่
วางไว้ ตลอดถึงผลการปฏิบตงานประจาวัน จาเป็ นต้องอาศัย
ั ิ
แบบรายงาน comprehensive enterprise scorecard (a6)
การวัดผล - Measure Performance (a6)
 การวัดผลประกอบด้วย ก) แบบรายงาน comprehensive enterprise
scorecard; ข) รายงานสะท้อนกลับของผูมีสวนได้ส่วนเสีย; ค) ผล
้ ่
การประเมิน Baldrige-based; และ ง) แบบรายงานของผูนา
้
scorecard specific to leadership (เป็ นกลไกที่ทาให้ผนาระดับสูง
ู้
้
รับผิดชอบทังต่อการกระทาและผลลัพธ์)
 แบบรายงานผล enterprise scorecards เป็ นชุดของตัววัดผลที่
แสดงผลงานในด้านการตอบสนองต่อผูมีสวนได้ส่วนเสีย ลูกค้า
้ ่
ผลิตภัณฑ์และบริการ การปฏิบตงาน บุคลากร ผูสงมอบและ
ั ิ
้่
พันธมิตร รวมทั้งความรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวมและสิ่งแวดล้อม
การทบทวนผลงาน - Review Performance (a7)
 การติดตามผลการดาเนินการขององค์กรเป็ นส่วนสาคัญ ในการ
ให้ความมั ่นใจถึงความสาเร็จของการนากลยุทธ์ไปสูปฏิบติ
่ ั
 ระบบการติดตามเปาประสงค์ของกลยุทธ์มีท้งระยะสั้นและระยะ
้
ั
ยาว เป็ นการแสดงความรับผิดชอบ accountability (b6) ซึ่งเป็ น
กุญแจสาคัญของความสาเร็จ
 ผูนาสูงสุดหลายคนใช้ระบบไฟจราจร (stop light) ในการแสดง
้
ความก้าวหน้าของผลงาน เทียบกับเปาหมายที่ได้กาหนดไว้ เพื่อ
้
เพิ่มประสิทธิภาพในการติดตาม
การส่งเสริมพฤติกรรม- Reinforcing Behavior (a8)
 ผูนาสูงสุดใช้กระบวนการที่มุ่งเน้นเรือง : ก) การชื่นชมและการ
้
่
ให้รางวัล; ข) ความก้าวหน้า ; และ ค) บางครั้งมีการให้ออกจาก
งาน หรือมอบหมายงานให้ใหม่ เพื่อสร้างพฤติกรรมที่ตองการ
้
 การวิจยได้ยนยันความเกี่ยวข้อง ของการชื่นชมและการให้รางวัล
ั
ื
กับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของบุคลากร ที่มีความสอดคล้อง
alignment (f3) กับพันธกิจ วิสยทัศน์ ค่านิยม และกลยุทธ์ของ
ั
องค์กร
เรียนรูและพัฒนา - Learn and Improve (a9)
้
 ผูนาสูงสุดทุกคนใช้วิธีการเรียนรูและพัฒนาเหล่านี้คือ : ก) วงจรการ
้
้
บริหารแบบกลยุทธ์; ข) วงจรการประเมินของ Baldrige; ค)
กระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างน้อยรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง (เช่น
PDSA, Six Sigma, lean); และ ง) การเทียบเคียง (benchmarking)
 กระบวนการเรียนรูและพัฒนาคือ วงจรการบริหารแบบกลยุทธ์ ซึ่ง
้
วงจรนี้ประกอบด้วยการพัฒนากลยุทธ์ การนากลยุทธ์ไปปฏิบติ
ั
กระบวนการทบทวน และการปรับปรุงแก้ไขที่ได้จากการเรียนรู ้
 การเรียนรูเป็ นกระบวนการต่อเนื่องของกลยุทธ์ ที่ทดสอบแล้วว่า
้
องค์กรจะประสบกับความสาเร็จในปั จจุบน และในอนาคต
ั






แนวทาง 9 ประการของการนาองค์กรอย่างมีกลยุทธ์ ที่สงผลต่อ
่
แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลงคือ ความตึง
้
เครียด Tension (f1) ที่ก่อเกิดมาจากความแตกต่างของความเป็ น
จริงที่ตองการ desired reality (a2) กับความเป็ นจริงในปั จจุบน
้
ั
current reality (a6)
ความสอดคล้อง เป็ นผลมาจากการบูรณาการของเกณฑ์ CPE
(f4) และผูเชี่ยวชาญ SMEs (f5) ที่ช่วยเร่งให้เกิดความ
้
เปลี่ยนแปลง
และแนวทางทั้ง 9 สามารถนาไปใช้ในการออกแบบระบบการนา
องค์กรอย่างมีกลยุทธ์ และใช้ในการสอนและสื่อสารให้กบผูนาได้
ั ้
ทุกระดับ
ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic managementcapercom
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงRadanat Chiachai
 
Erp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai VersionErp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai VersionPaul Kell
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder maruay songtanin
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาNatepanna Yavirach
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำTuk Diving
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 
ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity maruay songtanin
 

Mais procurados (15)

Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Erp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai VersionErp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai Version
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
 
Sp6 6
Sp6 6Sp6 6
Sp6 6
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 

Semelhante a ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1

กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy maruay songtanin
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary changemaruay songtanin
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพChalermpon Dondee
 
9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO
9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO  9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO
9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO maruay songtanin
 
เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020
 เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020 เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020
เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020maruay songtanin
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself maruay songtanin
 
ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3
ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3
ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3 maruay songtanin
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation maruay songtanin
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts maruay songtanin
 

Semelhante a ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1 (20)

กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
 
บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO
9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO  9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO
9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO - 9 steps to HPO
 
เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020
 เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020 เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020
เครื่องมือสู่ความเป็นเลิศ Baldrige excellence builder 2019 2020
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
 
ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3
ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3
ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ FAQs of Baldrige Criteria part 3 of 3
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 

Mais de maruay songtanin

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...maruay songtanin
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfmaruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

Mais de maruay songtanin (20)

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1

  • 2. Adapted from: A Framework for Leading the Transformation to Performance Excellence (LTPE Framework) By John R. Latham, University of Northern Colorado, 2013
  • 3. กรอบการนาองค์กร (จากการสัมภาษณ์ผนาสูงสุดของ 14 องค์กรที่ ู้ ได้รบรางวัล Baldrige) ประกอบด้วย 35 ปั จจัย ที่จดได้เป็ น 5 ั ั กลุม คือ ่ 1.แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลง (Forces and ้ facilitators of change) 2.แนวทางการนาองค์กร (Leadership approaches) 3.พฤติกรรมของผูนา (Leadership behaviors) ้ 4.ลักษณะเฉพาะของผูนา (Individual leader characteristics) ้ 5.วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
  • 4.   ้ ตังแต่เกิดวิกฤตเรืองของคุณภาพในทศวรรษ 1980s ทาให้ ่ องค์กรต่าง ๆ ในอเมริกาต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของการ แข่งขันในระดับโลก การแข่งขันในการเลือกคนเก่ง ความไม่ แน่นอนทางเศรษฐกิจ ความท้าทายด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เป็ นแรงผลักดันให้องค์กรเหล่านั้น ต้องมีการคิดใหม่ทาใหม่ เกี่ยวกับกลยุทธ์และการออกแบบวิธีการ เพื่อให้องค์กรประสบ ผลสาเร็จอย่างยั ่งยืน
  • 5.  เกณฑ์รางวัลเพื่อผลประกอบการที่เป็ นเลิศ (Malcolm Baldrige National Quality Award Criteria for Performance Excellence หรือ CPE) เป็ นรูปแบบของการบูรณาการมุมมองด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เข้ากับ กลยุทธ์ การปฏิบตการ ผลผลิต ั ิ บริการ และรวมถึงผลประกอบการ
  • 6. ปั ญหาและจุดมุ่งหมาย  ประมาณการว่าร้อยละ 70-80 ของความพยายามปรับเปลี่ยน องค์กรประสบความล้มเหลว  เราจะมีวิธีการเรียนรูจากองค์กรที่ประสบผลสาเร็จในการ ้ เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ?  องค์กรที่มีสมรรถนะสูง มีการพัฒนาความต่อเนื่อง (pipeline) ของผูนา เพื่อความยั ่งยืนและนาพาองค์กรให้มีความก้าวหน้าขึ้น ้ ไปอีกได้อย่างไร ?
  • 7. วิธีการ - มี 5 คาถามหลักที่ใช้ในการสัมภาษณ์ คือ ้ 1. อะไรคือแรงผลักดันทังภายนอกและภายในที่ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง และส่งผลอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ ่ 2. อะไรคือแนวทางที่ผนาระดับสูงใช้ (กระบวนการและกิจกรรม) และ ู้ ส่งผลอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ ่ 3. อะไรคือพฤติกรรมที่ผนาระดับสูงแสดงออก และส่งผลอย่างไรต่อการ ู้ เปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ ่ 4. อะไรคือลักษณะเฉพาะของผูนา ทีผบริหารระดับสูงใช้ และส่งผล ้ ่ ู้ อย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ ่ 5. อะไรคือวัฒนธรรมองค์กรที่สาคัญ และส่งผลอย่างไรต่อการ เปลี่ยนแปลงสูความเป็ นเลิศ ่
  • 8. วิธีการเก็บข้อมูล  ถามผูนาระดับสูง เป็ นคาถามกว้าง ๆ และเป็ นแบบปลายเปิ ด ้ เช่น ก) เหตุใดจึงต้องพัฒนา ข) วิธีการนาทาอย่างไร ค) อะไร คือสิ่งท้าทาย ง) มีอะไรบ้างที่ได้ผลและอะไรบ้างที่ไม่ได้ผล จ) ได้เรียนรูอะไรบ้าง ้  ผูนาองค์กรทีถูกสัมภาษณ์จะเล่าเรืองราว (story) ที่เกิดขึ้น ซึ่ง ้ ่ ่ นาไปสูการเปลี่ยนแปลง ผูทาวิจยจะถามอย่างต่อเนื่องเพื่อความ ่ ้ ั กระจ่างในจุดที่สาคัญ และเพื่อตอบคาถามหลักของงานวิจย ั
  • 9. กรอบการนา (The framework for LTPE) ประกอบด้วย 35 แนวทาง แบ่งได้เป็ น 5 กลุมคือ: ่  แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ ยนแปลง (f) ้  แนวทางการนาองค์กร (a)  พฤติกรรมของผูนา (b) ้  ลักษณะเฉพาะของผูนา (i) ้  วัฒนธรรมองค์กร (c)
  • 10.
  • 11. กรอบการนาเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์  กลุมแรกประกอบด้วยแรงผลักดันและผูประสานงานในการ ่ ้ เปลี่ยนแปลง ร่วมกับ แนวทางที่ผบริหารระดับสูงใช้ เป็ น ู้ วิทยาศาสตร์ (science) ที่นาไปสูการเปลี่ยนแปลง ่  กลุมที่สองประกอบด้วย พฤติกรรมผูนา ลักษณะเฉพาะของผูนา ่ ้ ้ และวัฒนธรรมองค์กร เป็ นศิลปะ (art) ที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลง
  • 12. 1.แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลง ้  มีอยู่ 5 แรง ที่เป็ นแรงผลักและแรงดึง (push and pull) คือ 1.ความตึงเครียด tension (f1) 2.การต่อต้าน resistance (f2) 3.ความสอดคล้อง alignment (f3) 4.เกณฑ์ criteria for performance excellence (CPE) model (f4) 5.ผูเชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอก subject matter experts ้ (SMEs) internal and external (f5)
  • 13.
  • 14. ความตึงเครียด tension (f1)  มีแรงจากภายนอกและภายในทาให้องค์กรไม่สามารถอยูเฉย ๆ ได้ ่ อีกต่อไป โดยเฉพาะแรงบีบจากองค์กรแม่หรือองค์กรที่มีหน้าที่ ควบคุม หรือเกิดจากสภาพสิ่งแวดล้อมทีมีการแข่งขัน ่  กรณีศึกษาส่วนมากกล่าวว่า เกณฑ์ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การ ได้รบรางวัลเป็ นส่วนหนึ่งของแรงกระตุน ั ้ ้  การประเมินตนเองตามแนวทาง Baldrige Award มีผลต่อแรงทัง ภายในและภายนอก ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง  ทุกรายกล่าวว่า ความก้าวหน้าของคะแนนจากการประเมิน และ ผลลัพธ์ที่ดีข้ ึน เป็ นแรงกระตุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ้
  • 15. การต่อต้าน resistance (f2)  ปฏิกิรยาต่อการเปลี่ยนแปลงคือการต่อต้าน ซึ่งเป็ นธรรมชาติการ ิ ปองกันตนเอง ที่มีวงจรการแสดงออกของอารมณ์ในการ ้ ตอบสนองคือ ปฏิเสธ โกรธ ต่อรอง หดหู่ และยอมรับในที่สุด (denial, anger, bargaining, depression, and acceptance)  ความสามารถในการเข้าใจความรูสึกของผูอื่น ต่อการ ้ ้ เปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ เป็ นกุญแจความสาเร็จในการ เปลี่ยนแปลงองค์กร ซึ่งเป็ นทักษะของผูนาการเปลี่ยนแปลง และ ้ ผูนาแบบผูรบใช้ (transformational leaders, and servant leaders) ้ ้ั
  • 16. ความสอดคล้อง alignment (f3)  ความสอดคล้อง หมายถึงความสมาเสมอและเป็ นแนว ที่การ ่ กระทาของบุคคลเป็ นแนวทางเดียวกับ ทิศทาง พันธกิจ วิสยทัศน์ และค่านิยมขององค์กร ั  ความสาเร็จขึ้นกับความสมาเสมอของผูนาในด้าน พฤติกรรม กล ่ ้ ยุทธ์ นโยบาย กระบวนการ การสื่อสาร วัฒนธรรม และการ กระตุน ้  ความสอดคล้องของ บุคคล กลุม ค่านิยม เปาประสงค์ ฯลฯ เป็ น ่ ้ มุมมองที่สาคัญของผูนาการเปลี่ยนแปลง (transformational ้ leadership)
  • 17. เกณฑ์ criteria for performance excellence (CPE) model (f4)  การเดินทาง (journeys) สู่ความเป็ นเลิศ เป็ นการเปลี่ยนแปลง ขนานใหญ่ ที่มีพ้ ืนฐานคือ วงจรการบริหารแบบกลยุทธ์ของ องค์กร (organizations’ strategic management cycles)  เกณฑ์มีส่วนช่วยในการวินิจฉัย และช่วยองค์กรในการพัฒนา กระบวนการวางแผนกลยุทธ์  เกณฑ์มีประโยชน์หลายประการ เช่น ช่วยกาหนดประเด็นในการ พัฒนา เชื่อมโยงการบริหารคุณภาพกับวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ และระบุโอกาสพัฒนา
  • 18. ผูเชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอก subject matter experts (SMEs) ้ internal and external (f5)  เกณฑ์มีความซับซ้อนและยากต่อการนาไปใช้ องค์กรจึงต้องมี ผูเชี่ยวชาญภายในคือหัวหน้าศูนย์คณภาพ (chief quality officer or ้ ุ CQO) และผูเชี่ยวชาญจากภายนอก มาเป็ นผูช่วยเหลือในการ ้ ้ เปลี่ยนแปลง  ผ้นาระดับสูงทุกรายกล่าวว่า ใช้ที่ปรึกษาจากภายนอกมาช่วย ณ จุด ใดจุดหนึ่งในช่วงการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามที่ปรึกษาจาก ภายนอกมาช่วยด้านเวลา (speed up) ให้กบผูบริหารระดับสูงใน ั ้ กระบวนการการเปลี่ยนแปลง แต่ที่ปรึกษาเหล่านั้น ไม่สามารถมา ทดแทนกับความมุ่งมั ่นของผูนาได้ ้
  • 19. แนวทางการนาองค์กร  กรอบการนาองค์กร (LTPE framework) ประกอบด้วย 9 แนวทาง หรือกระบวนการ ที่ผนาระดับสูงใช้ในการเปลี่ยนแปลง ู้  แนวทางทั้ง 9 นี้ เป็ นพื้นฐาน ที่มีการเชื่อมโยงกันของระบบการ นาขององค์กรแบบมีกลยุทธ์
  • 20.
  • 21. ผูมีสวนได้สวนเสีย - Stakeholders (a1) ้ ่ ่  การเข้าใจความต้องการของผูมีสวนได้สวนเสียทุกกลุ่มและการสร้าง ้ ่ ่ ความสัมพันธ์ เพื่อสร้างคุณค่าอย่างเป็ นระบบ โดยมีการระบุและมี การสื่อสารความต้องการ เพื่อนาไปใช้กบแนวทางต่อไป (a2-a9) ั  ความเข้าใจความต้องการของผูมีสวนได้สวนเสีย นาไปใช้ประโยชน์ ้ ่ ่ เพื่อการพัฒนากลยุทธ์ การตัดสินใจ และการสร้างคุณค่าให้กบผูมี ั ้ ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด  การตอบสนองความต้องการผูมีสวนได้สวนเสียทุกกลุ่ม มีหลักฐาน ้ ่ ่ ยืนยันว่า เกี่ยวข้องกับองค์กรที่มีสมรรถนะสูง ความมีชื่อเสียง การมี ผลประกอบการด้านการเงินที่ดข้ ึน และส่งผลให้องค์กรประสบความ ี ยั ่งยืนในระยะยาว
  • 22. การชี้นา - Compelling Directive (a2)  การชี้นาเป็ นการระบุความเป็ นจริงที่ตองการ (desired reality) ที่มี ้ องค์ประกอบ 4 ประการคือ วิสยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และ ั จุดมุ่งหมาย (vision, mission, values, and meaningful work or purpose)  การระบุทิศทางหรือวิสยทัศน์ทองค์กรต้องการ เป็ นกุญแจสาคัญของ ั ี่ ผูนาการเปลี่ยนแปลง ผูนาแบบผูรบใช้ และผูนาด้วยจิตวิญญาณ ้ ้ ้ั ้ (transformational leadership, servant leadership, and spiritual leadership)  การชี้นาทาได้โดยการมุ่งเน้นกลยุทธ์และเปาประสงค์ focused ้ strategy and associated goals (a3)
  • 23. การมุ่งเน้นกลยุทธ์ - Focused Strategy (a3)  กลยุทธ์เป็ นการบอกแนวทางการไปสูจุดมุ่งหมายขององค์กร ให้กบ ่ ั บุคคลในองค์กรและผูมีสวนได้สวนเสียที่สาคัญ ้ ่ ่  การพัฒนากลยุทธ์เป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบของผูนาระดับสูง ้  การเน้นความสาคัญที่สุดในบางเรืองเท่านั้น (vital few) คือการตอบ ่ ปฏิเสธ (say no) กับแนวคิดดี ๆ หลาย ๆ เรื่อง แต่ไม่มีความสาคัญ กับองค์กร เป็ นการกาจัดโครงการเด็กเล่น (pet projects) ที่ไม่ สอดคล้องกับกลยุทธ์  การมุ่งเน้น (Focus) คือการจัดลาดับความสาคัญ ว่าอะไรสมควรทา (what to do)
  • 24. บุคลากร - E3 People (a4)  การพัฒนาบุคลากรเป็ นบทบาทสาคัญของผูนาระดับสูง เป็ นการ ้ เตรียมคนเพือสนับสนุนกลยุทธ์ที่ได้วางไว้ ่  มีวิจยที่ยนยันความเชื่อมโยงของ การคัดเลือก การพัฒนา และ ั ื ความผูกพันของบุคลากร กับผลประกอบการ และเป็ นกุญแจ สาคัญของการพัฒนาคุณภาพทุกรูปแบบ  การมุ่งเน้นบุคลากร เป็ นมุมมองพื้นฐานของผูนาการ ้ เปลี่ยนแปลง (transformational leadership)
  • 25. การปฏิบตและทาให้สาเร็จ - Deploy and Execute (a5) ั ิ  ผูนาระดับสูงให้ความช่วยเหลือการนาไปปฏิบตและทาให้สาเร็จ ้ ั ิ โดยการสนับสนุนด้านทรัพยากร และการสื่อสาร (b4) ที่แสดง ถึงความมุ่งมั ่นในการพัฒนาคุณภาพ  การมอบหมายงานและการจัดสรรทรัพยากรให้กบ การริเริม ั ่ ดาเนินการ (initiative) เป็ นหน้าที่ของผูนาระดับสูง ที่ทาให้ ้ บุคลากรเกิดความเชื่อมั ่น และเกิดการปฏิบติ ั  การติดตามความก้าวหน้าของการริเริมดาเนินการ ตามกลยุทธ์ที่ ่ วางไว้ ตลอดถึงผลการปฏิบตงานประจาวัน จาเป็ นต้องอาศัย ั ิ แบบรายงาน comprehensive enterprise scorecard (a6)
  • 26. การวัดผล - Measure Performance (a6)  การวัดผลประกอบด้วย ก) แบบรายงาน comprehensive enterprise scorecard; ข) รายงานสะท้อนกลับของผูมีสวนได้ส่วนเสีย; ค) ผล ้ ่ การประเมิน Baldrige-based; และ ง) แบบรายงานของผูนา ้ scorecard specific to leadership (เป็ นกลไกที่ทาให้ผนาระดับสูง ู้ ้ รับผิดชอบทังต่อการกระทาและผลลัพธ์)  แบบรายงานผล enterprise scorecards เป็ นชุดของตัววัดผลที่ แสดงผลงานในด้านการตอบสนองต่อผูมีสวนได้ส่วนเสีย ลูกค้า ้ ่ ผลิตภัณฑ์และบริการ การปฏิบตงาน บุคลากร ผูสงมอบและ ั ิ ้่ พันธมิตร รวมทั้งความรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวมและสิ่งแวดล้อม
  • 27. การทบทวนผลงาน - Review Performance (a7)  การติดตามผลการดาเนินการขององค์กรเป็ นส่วนสาคัญ ในการ ให้ความมั ่นใจถึงความสาเร็จของการนากลยุทธ์ไปสูปฏิบติ ่ ั  ระบบการติดตามเปาประสงค์ของกลยุทธ์มีท้งระยะสั้นและระยะ ้ ั ยาว เป็ นการแสดงความรับผิดชอบ accountability (b6) ซึ่งเป็ น กุญแจสาคัญของความสาเร็จ  ผูนาสูงสุดหลายคนใช้ระบบไฟจราจร (stop light) ในการแสดง ้ ความก้าวหน้าของผลงาน เทียบกับเปาหมายที่ได้กาหนดไว้ เพื่อ ้ เพิ่มประสิทธิภาพในการติดตาม
  • 28. การส่งเสริมพฤติกรรม- Reinforcing Behavior (a8)  ผูนาสูงสุดใช้กระบวนการที่มุ่งเน้นเรือง : ก) การชื่นชมและการ ้ ่ ให้รางวัล; ข) ความก้าวหน้า ; และ ค) บางครั้งมีการให้ออกจาก งาน หรือมอบหมายงานให้ใหม่ เพื่อสร้างพฤติกรรมที่ตองการ ้  การวิจยได้ยนยันความเกี่ยวข้อง ของการชื่นชมและการให้รางวัล ั ื กับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของบุคลากร ที่มีความสอดคล้อง alignment (f3) กับพันธกิจ วิสยทัศน์ ค่านิยม และกลยุทธ์ของ ั องค์กร
  • 29. เรียนรูและพัฒนา - Learn and Improve (a9) ้  ผูนาสูงสุดทุกคนใช้วิธีการเรียนรูและพัฒนาเหล่านี้คือ : ก) วงจรการ ้ ้ บริหารแบบกลยุทธ์; ข) วงจรการประเมินของ Baldrige; ค) กระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างน้อยรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง (เช่น PDSA, Six Sigma, lean); และ ง) การเทียบเคียง (benchmarking)  กระบวนการเรียนรูและพัฒนาคือ วงจรการบริหารแบบกลยุทธ์ ซึ่ง ้ วงจรนี้ประกอบด้วยการพัฒนากลยุทธ์ การนากลยุทธ์ไปปฏิบติ ั กระบวนการทบทวน และการปรับปรุงแก้ไขที่ได้จากการเรียนรู ้  การเรียนรูเป็ นกระบวนการต่อเนื่องของกลยุทธ์ ที่ทดสอบแล้วว่า ้ องค์กรจะประสบกับความสาเร็จในปั จจุบน และในอนาคต ั
  • 30.    แนวทาง 9 ประการของการนาองค์กรอย่างมีกลยุทธ์ ที่สงผลต่อ ่ แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลงคือ ความตึง ้ เครียด Tension (f1) ที่ก่อเกิดมาจากความแตกต่างของความเป็ น จริงที่ตองการ desired reality (a2) กับความเป็ นจริงในปั จจุบน ้ ั current reality (a6) ความสอดคล้อง เป็ นผลมาจากการบูรณาการของเกณฑ์ CPE (f4) และผูเชี่ยวชาญ SMEs (f5) ที่ช่วยเร่งให้เกิดความ ้ เปลี่ยนแปลง และแนวทางทั้ง 9 สามารถนาไปใช้ในการออกแบบระบบการนา องค์กรอย่างมีกลยุทธ์ และใช้ในการสอนและสื่อสารให้กบผูนาได้ ั ้ ทุกระดับ