SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
Baixar para ler offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
10 พฤษภาคม 2557
 ดัดแปลงจาก Baldrige 20/20
 การได้รับรางวัล Malcolm Baldrige
National Quality Award ของแต่ละ
องค์กร มีแนวทางที่แตกต่างกัน แต่มี
ผลลัพธ์ที่เหมือนกันคือ เป็นที่ยอมรับ
ว่า เป็นองค์กรที่เป็นเลิศ เป็นองค์กร
ระดับโลก และเป็นตัวอย่างที่ดีใน
ระดับชาติ
ผู้นาแต่ละองค์กร ได้ถ่ายทอดบทเรียนไว้ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ :
 ยอมรับรายงานป้อนกลับ เพื่อทาการปรับปรุงโอกาสพัฒนา และ
นาจุดแข็งมาต่อยอดในการสร้างนวัตกรรม
 ผู้นาต้องมีความผูกพันและมีความมุ่งมั่น
 นาเสียงจากลูกค้ามาปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการ
 เน้นผลประกอบการที่ดีขึ้น มากกว่าตัวรางวัล
 ถึงแม้ยังไม่บรรลุเป้าประสงค์ แต่ก็รู้ตัวว่ามีการพัฒนาขึ้นมาก
 เน้นการสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจ
 รู้ว่าเป้าหมายหน้าตาเป็นอย่างไร เราเป็นอย่างนั้นแล้วหรือยัง ถ้า
ยังไม่เป็น จะต้องทาอะไรเพิ่มเติม
 ตัวอย่างที่ผู้บริหารนารูปแบบของ Baldrige framework มาใช้เป็น
กลยุทธ์ เพื่อทาให้องค์กรบรรลุความสาเร็จ และมีความยั่งยืน
(achieve success and sustainability) มีดังต่อไปนี้ คือ
 1. Cargill Corn Milling (CCM)
 2. Poudre Valley Health System (PVHS)
 3. MESA Products, Inc.,
 4. Iredell-Statesville Schools (I-SS)
 5. Texas Nameplate Company, Inc.,
From Kernel to Crystal
เกณฑ์รางวัล ทาให้ CCM พบปัจจัยแห่งความสาเร็จ คือ
 (1) ผู้นามีส่วนร่วมและให้ความช่วยเหลือ
 (2) ความพยายามอย่างไม่ลดละ
 (3) ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทั้งภายในและภายนอก (ในการ
เขียนรายงานส่งเข้ารับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ)
 (4) การยอมรับรายงานป้อนกลับ
 CCM ก่อตั้งเมื่อ 40 กว่าปีมาแล้ว เมื่อบริษัทแม่คือ Cargill, Inc.,
ซื้ อโรงงานเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในเมือง Cedar Rapids มลรัฐ Iowa
 ปัจจุบัน CCM มีโรงงาน 9 แห่ง มีกาลังผลิตมากกว่า 1 ล้าน
bushels of corn ต่อวัน
 ในสมัยแรก ธุรกิจของ CCM มีการแยกกันบริหารของแต่ละ
โรงงาน มีการแข่งขันกันเองในกลุ่ม และแข่งขันกับคู่แข่งด้วย
 หลายปีต่อมา เนื่องจากต่างคนต่างทา จึงก่อเกิดปัญหาผลผลิตล้น
ตลาด ทาให้ราคาสินค้าตกลงอย่างมาก
 ในขณะที่จุดแข็งของ CCM อยู่ที่ ทักษะ ความรู้ และแนวคิด ของ
บุคลากร ซึ่งถ้านามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงงาน ก็จะเกิด
เป็นประโยชน์โดยรวม จึงมีการรวมศูนย์ให้ทุกโรงงานถือว่าเป็น
หน่วยลงทุนเดียว (single enterprise)
 มีการนาแนวทางของเกณฑ์รางวัล Baldrige มาใช้เพื่อให้เกิดเป็น
องค์รวม มีระบบ เป็นเหตุเป็นผล และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่างโรงงาน
 จุดเปลี่ยนสาคัญคือ การส่งเข้ารับรางวัลต้องเป็นขององค์กร
โดยรวม ไม่ใช่ของแต่ละโรงงาน
 CCM ส่งรายงานเข้ารับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ และรู้สึกช๊อค
เมื่อได้คะแนนที่ต่ามาก
 ทีมงานคิดว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม กระบวนการตรวจมีปัญหา
แน่ ๆ จึงได้นาเรื่องนี้ ปรึกษากับประธานบริษัทคือ Greg Page
โดยตกลงกันว่าจะใช้เวลา 1 วัน เพื่อวิเคราะห์รายงานป้อนกลับ
 ผลปรากฏว่า ประธานบริษัทกล่าวว่า ถ้าพวกคุณคิดว่าทาได้ดีกว่า
คะแนนที่ได้ ก็ขอให้พิสูจน์มา (If you truly think you are better
than this score indicates, then get to work and prove it!)
 ในปี ค.ศ. 2005 ผู้นาของ CCM ต้องการรายงานป้อนกลับเพิ่ม
จึงส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัลอีกครั้ง
 รายงานป้อนกลับที่ได้ มีข้อเสนอแนะที่ดีมากมาย ที่ผู้บริหารใช้
เป็นแนวทางของระบบการนาองค์กร (Corn Milling Leadership
System)
 ในปี ค.ศ. 2008 CCM ได้รับรางวัล Malcolm Baldrige National
Quality Award
 อย่าคาดหวังสูงเกินไป ให้การพัฒนาคุณภาพเป็นเรื่องของปกติ
ของงานประจาวัน
 อย่าปฏิเสธรายงานป้อนกลับจากภายนอก ก่อนพิจารณาให้
รอบคอบ
 จงให้การตัดสินใจบนความจริง เป็นวัฒนธรรมขององค์กร
 จงยอมรับว่า มุมมองจากภายนอก ช่วยให้เราเห็นจุดบอดได้
 จงระลึกไว้ว่าปัจจัยแห่งความสาเร็จคือ ผู้นามีส่วนร่วมและ
สนับสนุน มีความมุ่งมั่น เกื้ อหนุนด้านทรัพยากรทุกด้าน และยินดี
รับฟังรายงานป้อนกลับ
A Return from the Brink
 Poudre Valley Health System (PVHS) เริ่มเข้าสู่กระบวนการ
Baldrige journey ในช่วงกลางทศวรรษ 1990s โดยมีสถานะเป็น
โรงพยาบาลชุมชนในเมือง Fort Collins มลรัฐ Colorado
 ก่อนหน้านี้ โรงพยาบาลมีอัตราการหมุนเวียนบุคลากร 25%
เปลี่ยนผู้อานวยการโรงพยาบาล 5 คน ในระยะเวลา 4 ปี
 ในปี ค.ศ. 1997 คณะกรรมการบริหารจึงมีมติให้ใช้กรอบรางวัล
คุณภาพแห่งชาติ (Baldrige Criteria for Performance Excellence)
มาเป็นเครื่องมือในการบริหารโรงพยาบาล
 PVHS ส่งรายงานครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 โดยจัดตั้งทีมเขียน
รายงาน 7 ทีม มีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละหมวด ทางานปีละครั้ง
โดยไม่ใช่เป็นงานที่ทาจริง (real jobs) ในชีวิตประจาวัน
 PVHS คาดหวังว่าจะได้รับรางวัลในไม่ช้า เพราะรับรางวัลมา
หลายรายการแล้ว แต่ถึงกับช๊อค เมื่อเห็นช่วงคะแนนที่ได้อยู่ใน
Band 2 (สูงสุดคือ Band 6)
 ในปี ค.ศ. 2004 เป็นจุดเปลี่ยนผัน เมื่อ PVHS ระลึกได้ว่า จะต้องทา
ให้เกณฑ์รางวัล อยู่ในการทางานที่เป็นปกติ (how it does business)
 ประการแรก PVHS จัดตั้งหน่วยพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement
Department) เพื่อสร้างระบบและบูรณาการ งานส่วนต่าง ๆ เข้า
ด้วยกัน
 และจัดตั้ง 7 ทีมงานสู่ความเป็นเลิศ (seven performance excellence
teams) ที่ผ่านการฝึกอบรมเกณฑ์มาแล้ว เพื่อหาช่องว่างที่มีอยู่ใน
องค์กร โดยมีผู้นาระดับสูงเป็นหัวหน้าทีม หรือสมาชิกในทีม และมี
สมาชิกที่มาจากหน่วยต่าง ๆ เป็นทีมสหสาขา รวมถึงลูกค้าด้วย
 ทุกปี PVHS มีการประเมินความก้าวหน้าจากรายงานป้อนกลับ
 ผู้นาระดับสูงมีการทบทวนรายงาน แล้วมอบหมายให้ 7 ทีมสู่
ความเป็นเลิศ (seven performance excellence teams) พัฒนา
แผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อทาการปรับปรุงผลงานในปีถัดไป
 หน่วยพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Department) จะ
ทางานร่วมกับทีมมุ่งสู่ความเป็นเลิศแต่ละทีม เพื่อจัดทาแผนงาน
ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ขององค์กร
 ทีมผู้บริหาร มีการพัฒนาระบบการนาองค์กรคือใช้ Global Path to
Success system ในการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม ทั่วทั้ง
องค์กร รวมถึงมีกระบวนการปรับปรุงตัววัดที่ยังทาไม่ได้ตามค่า
เป้าหมาย ที่มีอยู่ใน system wide balanced scorecard
 ทีมยุทธศาตร์ มีการปรับปรุงการดาเนินงานในการวางแผนกลยุทธ์ที่
สอดคล้องกับการทบทวนกลยุทธ์ประจาปีของผู้นา และแผนการจัดทา
งบประมาณประจาปี นอกจากนี้ ทีมยุทธศาสตร์ยังมีการจัดทา แผ่น
เป้าประสงค์ระดับบุคคล (personal goal cards) เพื่อให้การปฏิบัติงาน
ของบุคคล มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ขององค์กร
และยังมีแผนในอนาคต ที่จะให้แพทย์เข้ามามีส่วนร่วมในการ
วางแผนกลยุทธ์ต่อไป
 PVHS มีการนาเสียงของลูกค้า มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง
การบริการ
 ทีมจัดการความรู้ ปรับปรุงการวัดผลงาน จัดทามาตรฐานการ
วัดผลงาน จัดทา electronic balanced scorecard และจัดทา
ฐานข้อมูลผลลัพธ์ทางคลินิก
 ทีมบริหารบุคคล จัดทามาตรฐานพฤติกรรมบริการ การประเมิน
อาสาสมัคร รวมถึงทีมแพทย์ด้วย
 ทีมพัฒนากระบวนการ ปรับปรุงและวิเคราะห์การบริการ และ
การลงทุนในโครงการที่สาคัญ
 ผลลัพธ์โดยรวม มีการพัฒนาที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
 ในปี ค.ศ. 2008 PVHS ได้รับรางวัล Baldrige Award
 แต่ PVHS คิดว่า การเดินทางยังไม่สิ้นสุด เพราะในรายงาน
ป้อนกลับ ยังมีโอกาสพัฒนาอยู่อีก 32 ข้อ และได้เริ่มพัฒนาตาม
โอกาสที่พบ ก่อนได้รับรายงานป้อนกลับอย่างเป็นทางการอีกด้วย
 อย่านาเกณฑ์รางวัลไปใช้เป็นงานหรือโครงการพิเศษที่อยู่
นอกเหนือจากงานประจา
 อย่าเน้นที่ตัวรางวัลจนเกินไป
 อย่ายอมแพ้“
 อย่าเร่งรีบต่อการทดสอบ
 จงทาให้ผู้นาระดับสูงมีส่วนร่วม
 จงให้เวลากับกิจกรรมที่พัฒนาผลิตภาพ “
 จงเน้นที่การพัฒนา
A Baldrige Cinderella Story
 ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1979 ปัจจุบัน MESA มีสานักงานใหญ่อยู่ที่
เมือง Tulsa มลรัฐ Oklahoma และมี 5 สาขาใน Tallahassee,
Florida; Houston, Texas; Huntington Beach, California; Fort
Worth, Texas; และ Wapakoneta, Ohio
 MESA เป็นบริษัทวิศวกรรมในการติดตั้งระบบ cathodic
protection systems (กระบวนการป้องกันไม่ให้โครงสร้างที่เป็น
โลหะ ท่อและถังที่เป็น hydrocarbon ที่ฝังอยู่ใต้ดิน เกิดการสึก
กร่อน)
 MESA เป็นบริษัทที่มีคติคือ สินค้าคุณภาพในราคาที่ยุติธรรม
(quality product at a fair price)
 เมื่อบริษัทเติบโตขึ้น ความผิดพลาดทาให้เกิดความสูญเสียเป็น
จานวนมาก
 ดังนั้น หลังจากผ่าน ISO 9002 แล้ว บริษัทมีความคิดนากรอบ
รางวัลคุณภาพ (Baldrige Award) มาใช้ในปี ค.ศ. 2002
 เมื่อได้รับรายงานป้อนกลับ ที่มีโอกาสพัฒนา (OFIs =
opportunities for improvements) ผู้บริหารรู้สึกไม่พอใจในตอน
แรก แต่เมื่อค่อย ๆ อ่านอีกครั้ง ก็คิดว่าความคิดเห็นนี้ น่าจะเป็น
ประโยชน์ต่อองค์กร
 ในปี ค.ศ. 2003 ทีมบริหารทั้งหมดมีส่วนร่วมในกระบวนการ
ด้วย และได้เขียนรายงานเพื่อขอรางวัลอีกครั้ง คราวนี้ บริษัท
ได้รับการเยี่ยมสถานที่ประกอบการ (site visit) แต่ยังไม่ได้รับ
รางวัล
 ในปี ค.ศ. 2004 MESA ได้ปรับปรุงตามโอกาสพัฒนาที่ได้รับ จึง
เขียนรายงานเข้ารับรางวัลอีกครั้ง และได้รับการเยี่ยมสถาน
ประกอบการ แต่ยังไม่ได้รับรางวัล มีการเกณฑ์คนเข้าอบรม
เกณฑ์รางวัล กดดันให้มีความรับผิดชอบ แต่กลับเกิดผลเสีย
 ดังนั้น ในปี ค.ศ. 2005 หลังปรับปรุงโอกาสพัฒนาอีกรอบ จึงส่ง
รายงานใหม่และได้รับการเยี่ยมสถานประกอบการอีกครั้ง แต่
ยังคงไม่ได้รับรางวัล มีมุมมองในแง่ดีคือ บุคลากรทุกคน
ตระหนักในคุณค่าของกระบวนการ (everyone recognized the
value of the process) และการพัฒนาส่งผลดีต่อผลประกอบการ
แต่ยังไปไม่ถึงดวงดาว
 ในปี ค.ศ. 2006 ผู้นาระดับสูงมุ่งมั่น หลังปรับปรุงโอกาสพัฒนา
แล้ว MESA ก็เขียนรายงานเข้ารับรางวัล คราวนี้ ได้รับการเยี่ยม
สถานที่ประกอบการ และได้รับรางวัล Baldrige Award
 ในปีเดียวกันนี้ MESA ยังได้รับรางวัล Oklahoma Quality Award
อีกด้วย
 ถึงแม้ได้รับรางวัล Baldrige Award ก็ไม่ได้หมายความว่าการ
เดินทางจะสิ้นสุด เพราะบริษัทยังได้อีก 50 OFIs เพื่อการพัฒนา
ต่อไป
 อย่าตั้งความคาดหวังว่าจะได้รับรางวัลโดยเร็ว
 อย่าเน้นแต่รางวัล “
 จงเป็นตัวของตัวเอง เพราะไม่มีสูตรสาเร็จ “
 จงมีความอดทน ทาให้ดีที่สุด
A Baldrige Transformation
 Iredell-Statesville Schools (I-SS) ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1992 จาก
การรวมของโรงเรียนท้องถิ่นและโรงเรียนในเมือง
 ปีการศึกษา 2000-2001 กรรมการบริหารโรงเรียน สืบสวนผล
ประกอบการด้านการเงินที่มีปัญหา และใน Web page ของ
โรงเรียนก็มีข้อร้องเรียนกว่า 70 ข้อความ
 คณะกรรมการการศึกษาจึงไล่ผู้จัดการโรงเรียน (superintendent)
ออก และเปิดรับสมัครใหม่
 Terry Holliday ได้ถูกคัดเลือกในปี ค.ศ. 2002
 การที่เขาได้รับเลือก เพราะเขามีแผนงาน ที่มีพื้นฐานจากเกณฑ์
ของ Baldrige และมีเขาผู้เดียวที่เสนอแผนงาน
 แผนที่เขาเสนอคือ เปลี่ยนจากระบบการสอนและมีผู้ใหญ่เป็น
ศูนย์กลาง (teaching- and adult-centered system) เป็นระบบที่มี
การเรียนรู้เป็นพื้นฐาน (learning-based system)
 วิสัยทัศน์ที่เขาเสนอนั้นเรียบง่าย คือ เป็นหนึ่งในสิบ (top-ten)
ของโรงเรียนที่ยอดเยี่ยมใน North Carolina โดยวัดผลลัพธ์จาก
การเรียนรู้ของนักเรียน
 จากเดิมที่ครูและผู้ปกครองมักโยนความผิดให้กับอีกฝ่ ายเมื่อเกิด
ความล้มเหลว (ผู้จัดการมักรับเต็ม ๆ)
 วัฒนธรรมก็เน้นที่ผู้ใหญ่มากกว่าการเรียนรู้ การตัดสินใจก็อาศัย
ความเดิม ๆ (that’s the way we have always done it around
here) มากกว่าการใช้ข้อมูล
 เมื่อเขาพูดถึงวงจรพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (PDSA = plan,
do, study, act ) ผู้คนก็ไม่ไว้วางใจ
 เมื่อเขารับหน้าที่เป็นผู้จัดการโรงเรียน เขามีความคิดว่า การให้
ผู้คนศึกษาเกณฑ์รางวัล ไม่ได้หมายความว่าเขาเหล่านั้นต้อง
เข้าใจหรือให้ความร่วมมือในการเปลี่ยนแปลง
 เขาจึงเริ่มจากเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ ที่ประสบความสาเร็จ ทาให้
ผู้คนเริ่มมาเข้าพวกด้วย ”
 เขาใช้ข้อมูลจริงชี้แจงให้บรรดาครูได้รับทราบว่า มีเด็กไม่มา
โรงเรียนถึงวันละ 2,000 คน และมีรายชื่อให้ดู ทาให้เกิดความ
เร่งด่วนเพื่อทาการแก้ไข
 ในที่ประชุม เขามักจะถามปัญหาเดิม ๆ 3 ข้อ คือ:
 1. อะไรคือสิ่งปิดกั้นไม่ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ (What is getting in
the way of student learning?)
 2. อะไรคือสิ่งที่คุณต้องการ เพื่อช่วยให้เด็กประสบผลสาเร็จ
(What do you need to help all children be successful?)
 3. สิ่งที่คุณคาดหวังจากผู้จัดการโรงเรียนคืออะไร (What do you
expect from the superintendent?)
 เขาสร้างทีมนาของท้องถิ่น โดยไม่เอ่ยคาว่า Baldrige เพียงบอก
ว่า เขาอยากให้มี เพื่อช่วยครูแก้ปัญหาให้กับเด็กนักเรียน
 ภายใน 3 ปี I-SS ได้กลายเป็นโรงเรียนใน 3 ลาดับแรกของมล
รัฐ และธารงรักษาไว้ได้ต่อมาอีก 4 ปี
 การเรียนรู้ที่สาคัญของเขาและผู้นาระดับสูงคือ การรักษา
สัมพันธภาพที่ดี ด้วยการเดินสายรับฟัง และการติดต่อโดยตรง
กับลูกค้าสาคัญ ในที่นี้ คือนักเรียน (the students) เป็นก้าวแรกใน
การรับรู้ความต้องการที่แท้จริง
 ในปี ค.ศ. 2008 เมื่อ I-SS ได้รับรางวัล Baldrige Award
โรงเรียนได้บรรลุวิสัยทัศน์คือ the top-ten school systems in
North Carolina
 อย่าใช้คา Baldrige (อย่างน้อยก็ในช่วงต้น)
 อย่ายอมแพ้
 จงเน้นที่สัมพันธภาพและสร้างความไว้วางใจ ระหว่างครูและผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ขอให้ฟังแล้วเรียนรู้
 จงสร้างความใฝ่ ฝันในการเรียนรู้ จุดประกายความใฝ่ ฝันให้กับ
ผู้ใหญ่ด้วย เป็นผู้นาต้องสู้และสู้ต่อไป
Response to a Wake-Up Call
 Texas Nameplate Company, Inc., เป็นบริษัทเอกชนที่มีผลิตภัณฑ์
คือ ทาป้ายชื่อขนาดเล็ก มีรายการสั่งซื้ อจากบริษัทเล็ก ๆ ทั่ว
ประเทศและจากต่างประเทศ
 ป้ายชื่อ (identification tags and labels) มีส่วนสาคัญ ที่ใช้ในการ
รักษาความปลอดภัย
 Texas Nameplate เคยได้รับรางวัล Baldrige Award มาแล้ว 2 ครั้ง
คือในปี ค.ศ. 1998 และ 2004
 ผู้บริหารสูงสุดคือ Dale Crownover กล่าวว่า บริษัทต้องมีความ
พร้อมต่อวิกฤตที่เขาเรียกว่า wake-up call”
 บทเรียนที่ 1 ให้นาเกณฑ์ Baldrige Criteria และรายงานในการ
ขอรับรางวัล ใส่ในระบบ intranet ของบริษัท เพื่อใช้ติดตาม
ความก้าวหน้า
 บทเรียนที่ 2 มโนภาพให้ออกว่า จุดหมายที่ต้องการไปให้ถึงเป็น
เช่นไร และถามด้วยว่าทาไมถึงอยากไป
 บทเรียนที่ 3 คาดหมายว่ายังคงมีผู้ไม่มั่นใจและมีผู้ต้านทาน อย่า
เก็บตัว จงทาตนเป็นผู้ดาเนินการเปลี่ยนแปลง (change agent)
ขององค์กร”
 บทเรียนที่ 4 หาผู้ฝึกสอนที่ฉลาด และฟังว่าเขาพูดอะไร
 บทเรียนที่ 5 รวบรวมการเรียนรู้ที่เกิดใหม่ ว่าอะไรเป็นข้อดี
อะไรเป็นข้อด้อย เพื่อใช้ในการเปลี่ยนเทคโนโลยีที่คุณมีอยู่
 บทเรียนที่ 6 ให้มีความมุ่งมั่นในสิ่งที่คุณต้องการให้เปลี่ยนแปลง
 บทเรียนที่ 7 รู้ว่าความสาเร็จ (success) คืออะไร อะไรเป็น
ประจักษ์พยาน
 บทเรียนที่ 8 ทางานโดยใช้ข้อมูลจริง แล้วให้โยงกับแผนกลยุทธ์
ที่แสดงไว้
 บทเรียนที่ 9 เมื่อต้องตัดสินใจ นอกจากข้อเท็จจริง กลยุทธ์ที่มี
พื้นฐานความจริง และเหตุผลแล้ว ให้ใจเย็น ๆ ใช้ปัญญา ไม่ต้อง
กลัวการมองข้ามสิ่งใด ให้หาตัวช่วยคือ ขอความคิดเห็นจากผู้ที่
เราไว้วางใจ
 บทเรียนที่ 10 ไว้ใจเพื่อนร่วมงาน เช่นเดียวกับเราไว้ใจตนเอง
 บทเรียนที่ 11 การส่งรายงานเข้ารับรางวัลสม่าเสมอ เป็นการทา
ให้มั่นใจว่า ไม่ตกขบวน ไม่ว่าจะได้รับรางวัลหรือไม่ก็ตาม
 บทเรียนที่ 12 ให้บุคลากรได้มีโอกาสอ่านรายงานป้อนกลับด้วย
ตนเอง
 ในวงรอบการรับรางวัลปี ค.ศ. 2010 ของ Baldrige Award
 Crownover กล่าวว่า ถึงแม้บริษัทจะไม่ได้รับรางวัล แต่ก็ได้รับการ
เยี่ยมสถานประกอบการ และได้รับรายงานป้อนกลับ ที่เขา
สามารถจะนาไปใช้พัฒนาองค์กรสืบไป
 อย่ายอมแพ้เมื่อเจอแรงต้านในการพัฒนาตามแนวทาง Baldrige
 อย่าคาดเดาว่าองค์กรจะสาเร็จเหมือนอย่างที่เคยทามาแล้ว
 อย่าให้ความไม่เชื่อใจของบุคลากร ทาให้การตัดสินใจเปลี่ยนไป
 จงตอบทุกคาถามในโครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
 จงใช้มโนภาพว่าคุณต้องการไปถึงที่ใด
 จงตัดสินใจส่งรายงานเข้ารับรางวัลสม่าเสมอ
 จงศึกษาข้อดีข้อด้อยของการเปลี่ยนแปลง
 จงแสดงความมุ่งมั่นต่อการเปลี่ยนแปลง
 จงเข้ารับการฝึกจาก Baldrige practitioners
 จงเชื่อมโยงผลลัพธ์เข้ากับแผนกลยุทธ์
 จงวางใจบุคลากรเช่นเดียวกับวางใจตนเอง ในการเขียนรายงาน application
 จงเตรียมความพร้อมกับการก้าวสู่การพัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง แม้คุณจะ
ได้รับรางวัล
Napoleon Bonaparte

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Award winners' journeys ทางไปสู่เกียรติศักดิ์

2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 20162016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016maruay songtanin
 
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศHigh performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศmaruay songtanin
 
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20142014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014maruay songtanin
 
Baldrige awareness series 6 focus on the future การมุ่งเน้นอนาคต
Baldrige awareness series 6   focus on the future การมุ่งเน้นอนาคตBaldrige awareness series 6   focus on the future การมุ่งเน้นอนาคต
Baldrige awareness series 6 focus on the future การมุ่งเน้นอนาคตmaruay songtanin
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.DrDanai Thienphut
 
Baldrige awareness series 11 core values ทบทวนค่านิยม
Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม
Baldrige awareness series 11 core values ทบทวนค่านิยม maruay songtanin
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 
Phuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษาPhuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษาDrDanai Thienphut
 
Phuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษาPhuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษาDrDanai Thienphut
 
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรWorkforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรmaruay songtanin
 
Scoring guideline 2011_v4_1_100910_ok
Scoring guideline 2011_v4_1_100910_okScoring guideline 2011_v4_1_100910_ok
Scoring guideline 2011_v4_1_100910_okJumpon Utta
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)pattarawadee
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfmaruay songtanin
 
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1maruay songtanin
 
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศsamtej
 

Semelhante a Award winners' journeys ทางไปสู่เกียรติศักดิ์ (20)

2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 20162016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
 
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศHigh performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ
 
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20142014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
 
Revolutionary change
Revolutionary changeRevolutionary change
Revolutionary change
 
Baldrige awareness series 6 focus on the future การมุ่งเน้นอนาคต
Baldrige awareness series 6   focus on the future การมุ่งเน้นอนาคตBaldrige awareness series 6   focus on the future การมุ่งเน้นอนาคต
Baldrige awareness series 6 focus on the future การมุ่งเน้นอนาคต
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
 
Baldrige awareness series 11 core values ทบทวนค่านิยม
Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม
Baldrige awareness series 11 core values ทบทวนค่านิยม
 
#2 edward jones
#2 edward jones#2 edward jones
#2 edward jones
 
Decoding leadership
Decoding leadershipDecoding leadership
Decoding leadership
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
Phuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษาPhuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษา
 
Phuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษาPhuket งานกรณีศึกษา
Phuket งานกรณีศึกษา
 
R2R_KM4.0Thailand4
R2R_KM4.0Thailand4R2R_KM4.0Thailand4
R2R_KM4.0Thailand4
 
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรWorkforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
 
Scoring guideline 2011_v4_1_100910_ok
Scoring guideline 2011_v4_1_100910_okScoring guideline 2011_v4_1_100910_ok
Scoring guideline 2011_v4_1_100910_ok
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
 
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
 
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
ขั้นตอนการพัฒนาองค์กร สู่ความเป๋นเลิศ
 
Research-PP
Research-PPResearch-PP
Research-PP
 

Mais de maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

Mais de maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Award winners' journeys ทางไปสู่เกียรติศักดิ์

  • 2.  ดัดแปลงจาก Baldrige 20/20  การได้รับรางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award ของแต่ละ องค์กร มีแนวทางที่แตกต่างกัน แต่มี ผลลัพธ์ที่เหมือนกันคือ เป็นที่ยอมรับ ว่า เป็นองค์กรที่เป็นเลิศ เป็นองค์กร ระดับโลก และเป็นตัวอย่างที่ดีใน ระดับชาติ
  • 3. ผู้นาแต่ละองค์กร ได้ถ่ายทอดบทเรียนไว้ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ :  ยอมรับรายงานป้อนกลับ เพื่อทาการปรับปรุงโอกาสพัฒนา และ นาจุดแข็งมาต่อยอดในการสร้างนวัตกรรม  ผู้นาต้องมีความผูกพันและมีความมุ่งมั่น  นาเสียงจากลูกค้ามาปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการ  เน้นผลประกอบการที่ดีขึ้น มากกว่าตัวรางวัล  ถึงแม้ยังไม่บรรลุเป้าประสงค์ แต่ก็รู้ตัวว่ามีการพัฒนาขึ้นมาก  เน้นการสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจ  รู้ว่าเป้าหมายหน้าตาเป็นอย่างไร เราเป็นอย่างนั้นแล้วหรือยัง ถ้า ยังไม่เป็น จะต้องทาอะไรเพิ่มเติม
  • 4.  ตัวอย่างที่ผู้บริหารนารูปแบบของ Baldrige framework มาใช้เป็น กลยุทธ์ เพื่อทาให้องค์กรบรรลุความสาเร็จ และมีความยั่งยืน (achieve success and sustainability) มีดังต่อไปนี้ คือ  1. Cargill Corn Milling (CCM)  2. Poudre Valley Health System (PVHS)  3. MESA Products, Inc.,  4. Iredell-Statesville Schools (I-SS)  5. Texas Nameplate Company, Inc.,
  • 5. From Kernel to Crystal
  • 6. เกณฑ์รางวัล ทาให้ CCM พบปัจจัยแห่งความสาเร็จ คือ  (1) ผู้นามีส่วนร่วมและให้ความช่วยเหลือ  (2) ความพยายามอย่างไม่ลดละ  (3) ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทั้งภายในและภายนอก (ในการ เขียนรายงานส่งเข้ารับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ)  (4) การยอมรับรายงานป้อนกลับ
  • 7.  CCM ก่อตั้งเมื่อ 40 กว่าปีมาแล้ว เมื่อบริษัทแม่คือ Cargill, Inc., ซื้ อโรงงานเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในเมือง Cedar Rapids มลรัฐ Iowa  ปัจจุบัน CCM มีโรงงาน 9 แห่ง มีกาลังผลิตมากกว่า 1 ล้าน bushels of corn ต่อวัน  ในสมัยแรก ธุรกิจของ CCM มีการแยกกันบริหารของแต่ละ โรงงาน มีการแข่งขันกันเองในกลุ่ม และแข่งขันกับคู่แข่งด้วย
  • 8.  หลายปีต่อมา เนื่องจากต่างคนต่างทา จึงก่อเกิดปัญหาผลผลิตล้น ตลาด ทาให้ราคาสินค้าตกลงอย่างมาก  ในขณะที่จุดแข็งของ CCM อยู่ที่ ทักษะ ความรู้ และแนวคิด ของ บุคลากร ซึ่งถ้านามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงงาน ก็จะเกิด เป็นประโยชน์โดยรวม จึงมีการรวมศูนย์ให้ทุกโรงงานถือว่าเป็น หน่วยลงทุนเดียว (single enterprise)  มีการนาแนวทางของเกณฑ์รางวัล Baldrige มาใช้เพื่อให้เกิดเป็น องค์รวม มีระบบ เป็นเหตุเป็นผล และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างโรงงาน
  • 9.  จุดเปลี่ยนสาคัญคือ การส่งเข้ารับรางวัลต้องเป็นขององค์กร โดยรวม ไม่ใช่ของแต่ละโรงงาน  CCM ส่งรายงานเข้ารับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ และรู้สึกช๊อค เมื่อได้คะแนนที่ต่ามาก  ทีมงานคิดว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม กระบวนการตรวจมีปัญหา แน่ ๆ จึงได้นาเรื่องนี้ ปรึกษากับประธานบริษัทคือ Greg Page โดยตกลงกันว่าจะใช้เวลา 1 วัน เพื่อวิเคราะห์รายงานป้อนกลับ  ผลปรากฏว่า ประธานบริษัทกล่าวว่า ถ้าพวกคุณคิดว่าทาได้ดีกว่า คะแนนที่ได้ ก็ขอให้พิสูจน์มา (If you truly think you are better than this score indicates, then get to work and prove it!)
  • 10.  ในปี ค.ศ. 2005 ผู้นาของ CCM ต้องการรายงานป้อนกลับเพิ่ม จึงส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัลอีกครั้ง  รายงานป้อนกลับที่ได้ มีข้อเสนอแนะที่ดีมากมาย ที่ผู้บริหารใช้ เป็นแนวทางของระบบการนาองค์กร (Corn Milling Leadership System)  ในปี ค.ศ. 2008 CCM ได้รับรางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award
  • 11.  อย่าคาดหวังสูงเกินไป ให้การพัฒนาคุณภาพเป็นเรื่องของปกติ ของงานประจาวัน  อย่าปฏิเสธรายงานป้อนกลับจากภายนอก ก่อนพิจารณาให้ รอบคอบ  จงให้การตัดสินใจบนความจริง เป็นวัฒนธรรมขององค์กร  จงยอมรับว่า มุมมองจากภายนอก ช่วยให้เราเห็นจุดบอดได้  จงระลึกไว้ว่าปัจจัยแห่งความสาเร็จคือ ผู้นามีส่วนร่วมและ สนับสนุน มีความมุ่งมั่น เกื้ อหนุนด้านทรัพยากรทุกด้าน และยินดี รับฟังรายงานป้อนกลับ
  • 12. A Return from the Brink
  • 13.  Poudre Valley Health System (PVHS) เริ่มเข้าสู่กระบวนการ Baldrige journey ในช่วงกลางทศวรรษ 1990s โดยมีสถานะเป็น โรงพยาบาลชุมชนในเมือง Fort Collins มลรัฐ Colorado  ก่อนหน้านี้ โรงพยาบาลมีอัตราการหมุนเวียนบุคลากร 25% เปลี่ยนผู้อานวยการโรงพยาบาล 5 คน ในระยะเวลา 4 ปี  ในปี ค.ศ. 1997 คณะกรรมการบริหารจึงมีมติให้ใช้กรอบรางวัล คุณภาพแห่งชาติ (Baldrige Criteria for Performance Excellence) มาเป็นเครื่องมือในการบริหารโรงพยาบาล
  • 14.  PVHS ส่งรายงานครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 โดยจัดตั้งทีมเขียน รายงาน 7 ทีม มีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละหมวด ทางานปีละครั้ง โดยไม่ใช่เป็นงานที่ทาจริง (real jobs) ในชีวิตประจาวัน  PVHS คาดหวังว่าจะได้รับรางวัลในไม่ช้า เพราะรับรางวัลมา หลายรายการแล้ว แต่ถึงกับช๊อค เมื่อเห็นช่วงคะแนนที่ได้อยู่ใน Band 2 (สูงสุดคือ Band 6)
  • 15.  ในปี ค.ศ. 2004 เป็นจุดเปลี่ยนผัน เมื่อ PVHS ระลึกได้ว่า จะต้องทา ให้เกณฑ์รางวัล อยู่ในการทางานที่เป็นปกติ (how it does business)  ประการแรก PVHS จัดตั้งหน่วยพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Department) เพื่อสร้างระบบและบูรณาการ งานส่วนต่าง ๆ เข้า ด้วยกัน  และจัดตั้ง 7 ทีมงานสู่ความเป็นเลิศ (seven performance excellence teams) ที่ผ่านการฝึกอบรมเกณฑ์มาแล้ว เพื่อหาช่องว่างที่มีอยู่ใน องค์กร โดยมีผู้นาระดับสูงเป็นหัวหน้าทีม หรือสมาชิกในทีม และมี สมาชิกที่มาจากหน่วยต่าง ๆ เป็นทีมสหสาขา รวมถึงลูกค้าด้วย
  • 16.  ทุกปี PVHS มีการประเมินความก้าวหน้าจากรายงานป้อนกลับ  ผู้นาระดับสูงมีการทบทวนรายงาน แล้วมอบหมายให้ 7 ทีมสู่ ความเป็นเลิศ (seven performance excellence teams) พัฒนา แผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อทาการปรับปรุงผลงานในปีถัดไป  หน่วยพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Department) จะ ทางานร่วมกับทีมมุ่งสู่ความเป็นเลิศแต่ละทีม เพื่อจัดทาแผนงาน ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ขององค์กร
  • 17.  ทีมผู้บริหาร มีการพัฒนาระบบการนาองค์กรคือใช้ Global Path to Success system ในการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม ทั่วทั้ง องค์กร รวมถึงมีกระบวนการปรับปรุงตัววัดที่ยังทาไม่ได้ตามค่า เป้าหมาย ที่มีอยู่ใน system wide balanced scorecard  ทีมยุทธศาตร์ มีการปรับปรุงการดาเนินงานในการวางแผนกลยุทธ์ที่ สอดคล้องกับการทบทวนกลยุทธ์ประจาปีของผู้นา และแผนการจัดทา งบประมาณประจาปี นอกจากนี้ ทีมยุทธศาสตร์ยังมีการจัดทา แผ่น เป้าประสงค์ระดับบุคคล (personal goal cards) เพื่อให้การปฏิบัติงาน ของบุคคล มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ขององค์กร และยังมีแผนในอนาคต ที่จะให้แพทย์เข้ามามีส่วนร่วมในการ วางแผนกลยุทธ์ต่อไป
  • 18.  PVHS มีการนาเสียงของลูกค้า มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง การบริการ  ทีมจัดการความรู้ ปรับปรุงการวัดผลงาน จัดทามาตรฐานการ วัดผลงาน จัดทา electronic balanced scorecard และจัดทา ฐานข้อมูลผลลัพธ์ทางคลินิก  ทีมบริหารบุคคล จัดทามาตรฐานพฤติกรรมบริการ การประเมิน อาสาสมัคร รวมถึงทีมแพทย์ด้วย  ทีมพัฒนากระบวนการ ปรับปรุงและวิเคราะห์การบริการ และ การลงทุนในโครงการที่สาคัญ  ผลลัพธ์โดยรวม มีการพัฒนาที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  • 19.  ในปี ค.ศ. 2008 PVHS ได้รับรางวัล Baldrige Award  แต่ PVHS คิดว่า การเดินทางยังไม่สิ้นสุด เพราะในรายงาน ป้อนกลับ ยังมีโอกาสพัฒนาอยู่อีก 32 ข้อ และได้เริ่มพัฒนาตาม โอกาสที่พบ ก่อนได้รับรายงานป้อนกลับอย่างเป็นทางการอีกด้วย
  • 20.  อย่านาเกณฑ์รางวัลไปใช้เป็นงานหรือโครงการพิเศษที่อยู่ นอกเหนือจากงานประจา  อย่าเน้นที่ตัวรางวัลจนเกินไป  อย่ายอมแพ้“  อย่าเร่งรีบต่อการทดสอบ  จงทาให้ผู้นาระดับสูงมีส่วนร่วม  จงให้เวลากับกิจกรรมที่พัฒนาผลิตภาพ “  จงเน้นที่การพัฒนา
  • 22.  ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1979 ปัจจุบัน MESA มีสานักงานใหญ่อยู่ที่ เมือง Tulsa มลรัฐ Oklahoma และมี 5 สาขาใน Tallahassee, Florida; Houston, Texas; Huntington Beach, California; Fort Worth, Texas; และ Wapakoneta, Ohio  MESA เป็นบริษัทวิศวกรรมในการติดตั้งระบบ cathodic protection systems (กระบวนการป้องกันไม่ให้โครงสร้างที่เป็น โลหะ ท่อและถังที่เป็น hydrocarbon ที่ฝังอยู่ใต้ดิน เกิดการสึก กร่อน)
  • 23.  MESA เป็นบริษัทที่มีคติคือ สินค้าคุณภาพในราคาที่ยุติธรรม (quality product at a fair price)  เมื่อบริษัทเติบโตขึ้น ความผิดพลาดทาให้เกิดความสูญเสียเป็น จานวนมาก  ดังนั้น หลังจากผ่าน ISO 9002 แล้ว บริษัทมีความคิดนากรอบ รางวัลคุณภาพ (Baldrige Award) มาใช้ในปี ค.ศ. 2002
  • 24.  เมื่อได้รับรายงานป้อนกลับ ที่มีโอกาสพัฒนา (OFIs = opportunities for improvements) ผู้บริหารรู้สึกไม่พอใจในตอน แรก แต่เมื่อค่อย ๆ อ่านอีกครั้ง ก็คิดว่าความคิดเห็นนี้ น่าจะเป็น ประโยชน์ต่อองค์กร  ในปี ค.ศ. 2003 ทีมบริหารทั้งหมดมีส่วนร่วมในกระบวนการ ด้วย และได้เขียนรายงานเพื่อขอรางวัลอีกครั้ง คราวนี้ บริษัท ได้รับการเยี่ยมสถานที่ประกอบการ (site visit) แต่ยังไม่ได้รับ รางวัล
  • 25.  ในปี ค.ศ. 2004 MESA ได้ปรับปรุงตามโอกาสพัฒนาที่ได้รับ จึง เขียนรายงานเข้ารับรางวัลอีกครั้ง และได้รับการเยี่ยมสถาน ประกอบการ แต่ยังไม่ได้รับรางวัล มีการเกณฑ์คนเข้าอบรม เกณฑ์รางวัล กดดันให้มีความรับผิดชอบ แต่กลับเกิดผลเสีย  ดังนั้น ในปี ค.ศ. 2005 หลังปรับปรุงโอกาสพัฒนาอีกรอบ จึงส่ง รายงานใหม่และได้รับการเยี่ยมสถานประกอบการอีกครั้ง แต่ ยังคงไม่ได้รับรางวัล มีมุมมองในแง่ดีคือ บุคลากรทุกคน ตระหนักในคุณค่าของกระบวนการ (everyone recognized the value of the process) และการพัฒนาส่งผลดีต่อผลประกอบการ แต่ยังไปไม่ถึงดวงดาว
  • 26.  ในปี ค.ศ. 2006 ผู้นาระดับสูงมุ่งมั่น หลังปรับปรุงโอกาสพัฒนา แล้ว MESA ก็เขียนรายงานเข้ารับรางวัล คราวนี้ ได้รับการเยี่ยม สถานที่ประกอบการ และได้รับรางวัล Baldrige Award  ในปีเดียวกันนี้ MESA ยังได้รับรางวัล Oklahoma Quality Award อีกด้วย  ถึงแม้ได้รับรางวัล Baldrige Award ก็ไม่ได้หมายความว่าการ เดินทางจะสิ้นสุด เพราะบริษัทยังได้อีก 50 OFIs เพื่อการพัฒนา ต่อไป
  • 27.  อย่าตั้งความคาดหวังว่าจะได้รับรางวัลโดยเร็ว  อย่าเน้นแต่รางวัล “  จงเป็นตัวของตัวเอง เพราะไม่มีสูตรสาเร็จ “  จงมีความอดทน ทาให้ดีที่สุด
  • 29.  Iredell-Statesville Schools (I-SS) ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1992 จาก การรวมของโรงเรียนท้องถิ่นและโรงเรียนในเมือง  ปีการศึกษา 2000-2001 กรรมการบริหารโรงเรียน สืบสวนผล ประกอบการด้านการเงินที่มีปัญหา และใน Web page ของ โรงเรียนก็มีข้อร้องเรียนกว่า 70 ข้อความ  คณะกรรมการการศึกษาจึงไล่ผู้จัดการโรงเรียน (superintendent) ออก และเปิดรับสมัครใหม่
  • 30.  Terry Holliday ได้ถูกคัดเลือกในปี ค.ศ. 2002  การที่เขาได้รับเลือก เพราะเขามีแผนงาน ที่มีพื้นฐานจากเกณฑ์ ของ Baldrige และมีเขาผู้เดียวที่เสนอแผนงาน  แผนที่เขาเสนอคือ เปลี่ยนจากระบบการสอนและมีผู้ใหญ่เป็น ศูนย์กลาง (teaching- and adult-centered system) เป็นระบบที่มี การเรียนรู้เป็นพื้นฐาน (learning-based system)  วิสัยทัศน์ที่เขาเสนอนั้นเรียบง่าย คือ เป็นหนึ่งในสิบ (top-ten) ของโรงเรียนที่ยอดเยี่ยมใน North Carolina โดยวัดผลลัพธ์จาก การเรียนรู้ของนักเรียน
  • 31.  จากเดิมที่ครูและผู้ปกครองมักโยนความผิดให้กับอีกฝ่ ายเมื่อเกิด ความล้มเหลว (ผู้จัดการมักรับเต็ม ๆ)  วัฒนธรรมก็เน้นที่ผู้ใหญ่มากกว่าการเรียนรู้ การตัดสินใจก็อาศัย ความเดิม ๆ (that’s the way we have always done it around here) มากกว่าการใช้ข้อมูล  เมื่อเขาพูดถึงวงจรพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (PDSA = plan, do, study, act ) ผู้คนก็ไม่ไว้วางใจ
  • 32.  เมื่อเขารับหน้าที่เป็นผู้จัดการโรงเรียน เขามีความคิดว่า การให้ ผู้คนศึกษาเกณฑ์รางวัล ไม่ได้หมายความว่าเขาเหล่านั้นต้อง เข้าใจหรือให้ความร่วมมือในการเปลี่ยนแปลง  เขาจึงเริ่มจากเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ ที่ประสบความสาเร็จ ทาให้ ผู้คนเริ่มมาเข้าพวกด้วย ”  เขาใช้ข้อมูลจริงชี้แจงให้บรรดาครูได้รับทราบว่า มีเด็กไม่มา โรงเรียนถึงวันละ 2,000 คน และมีรายชื่อให้ดู ทาให้เกิดความ เร่งด่วนเพื่อทาการแก้ไข
  • 33.  ในที่ประชุม เขามักจะถามปัญหาเดิม ๆ 3 ข้อ คือ:  1. อะไรคือสิ่งปิดกั้นไม่ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ (What is getting in the way of student learning?)  2. อะไรคือสิ่งที่คุณต้องการ เพื่อช่วยให้เด็กประสบผลสาเร็จ (What do you need to help all children be successful?)  3. สิ่งที่คุณคาดหวังจากผู้จัดการโรงเรียนคืออะไร (What do you expect from the superintendent?)
  • 34.  เขาสร้างทีมนาของท้องถิ่น โดยไม่เอ่ยคาว่า Baldrige เพียงบอก ว่า เขาอยากให้มี เพื่อช่วยครูแก้ปัญหาให้กับเด็กนักเรียน  ภายใน 3 ปี I-SS ได้กลายเป็นโรงเรียนใน 3 ลาดับแรกของมล รัฐ และธารงรักษาไว้ได้ต่อมาอีก 4 ปี  การเรียนรู้ที่สาคัญของเขาและผู้นาระดับสูงคือ การรักษา สัมพันธภาพที่ดี ด้วยการเดินสายรับฟัง และการติดต่อโดยตรง กับลูกค้าสาคัญ ในที่นี้ คือนักเรียน (the students) เป็นก้าวแรกใน การรับรู้ความต้องการที่แท้จริง  ในปี ค.ศ. 2008 เมื่อ I-SS ได้รับรางวัล Baldrige Award โรงเรียนได้บรรลุวิสัยทัศน์คือ the top-ten school systems in North Carolina
  • 35.  อย่าใช้คา Baldrige (อย่างน้อยก็ในช่วงต้น)  อย่ายอมแพ้  จงเน้นที่สัมพันธภาพและสร้างความไว้วางใจ ระหว่างครูและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ขอให้ฟังแล้วเรียนรู้  จงสร้างความใฝ่ ฝันในการเรียนรู้ จุดประกายความใฝ่ ฝันให้กับ ผู้ใหญ่ด้วย เป็นผู้นาต้องสู้และสู้ต่อไป
  • 36. Response to a Wake-Up Call
  • 37.  Texas Nameplate Company, Inc., เป็นบริษัทเอกชนที่มีผลิตภัณฑ์ คือ ทาป้ายชื่อขนาดเล็ก มีรายการสั่งซื้ อจากบริษัทเล็ก ๆ ทั่ว ประเทศและจากต่างประเทศ  ป้ายชื่อ (identification tags and labels) มีส่วนสาคัญ ที่ใช้ในการ รักษาความปลอดภัย  Texas Nameplate เคยได้รับรางวัล Baldrige Award มาแล้ว 2 ครั้ง คือในปี ค.ศ. 1998 และ 2004  ผู้บริหารสูงสุดคือ Dale Crownover กล่าวว่า บริษัทต้องมีความ พร้อมต่อวิกฤตที่เขาเรียกว่า wake-up call”
  • 38.  บทเรียนที่ 1 ให้นาเกณฑ์ Baldrige Criteria และรายงานในการ ขอรับรางวัล ใส่ในระบบ intranet ของบริษัท เพื่อใช้ติดตาม ความก้าวหน้า  บทเรียนที่ 2 มโนภาพให้ออกว่า จุดหมายที่ต้องการไปให้ถึงเป็น เช่นไร และถามด้วยว่าทาไมถึงอยากไป  บทเรียนที่ 3 คาดหมายว่ายังคงมีผู้ไม่มั่นใจและมีผู้ต้านทาน อย่า เก็บตัว จงทาตนเป็นผู้ดาเนินการเปลี่ยนแปลง (change agent) ขององค์กร”
  • 39.  บทเรียนที่ 4 หาผู้ฝึกสอนที่ฉลาด และฟังว่าเขาพูดอะไร  บทเรียนที่ 5 รวบรวมการเรียนรู้ที่เกิดใหม่ ว่าอะไรเป็นข้อดี อะไรเป็นข้อด้อย เพื่อใช้ในการเปลี่ยนเทคโนโลยีที่คุณมีอยู่  บทเรียนที่ 6 ให้มีความมุ่งมั่นในสิ่งที่คุณต้องการให้เปลี่ยนแปลง
  • 40.  บทเรียนที่ 7 รู้ว่าความสาเร็จ (success) คืออะไร อะไรเป็น ประจักษ์พยาน  บทเรียนที่ 8 ทางานโดยใช้ข้อมูลจริง แล้วให้โยงกับแผนกลยุทธ์ ที่แสดงไว้  บทเรียนที่ 9 เมื่อต้องตัดสินใจ นอกจากข้อเท็จจริง กลยุทธ์ที่มี พื้นฐานความจริง และเหตุผลแล้ว ให้ใจเย็น ๆ ใช้ปัญญา ไม่ต้อง กลัวการมองข้ามสิ่งใด ให้หาตัวช่วยคือ ขอความคิดเห็นจากผู้ที่ เราไว้วางใจ  บทเรียนที่ 10 ไว้ใจเพื่อนร่วมงาน เช่นเดียวกับเราไว้ใจตนเอง
  • 41.  บทเรียนที่ 11 การส่งรายงานเข้ารับรางวัลสม่าเสมอ เป็นการทา ให้มั่นใจว่า ไม่ตกขบวน ไม่ว่าจะได้รับรางวัลหรือไม่ก็ตาม  บทเรียนที่ 12 ให้บุคลากรได้มีโอกาสอ่านรายงานป้อนกลับด้วย ตนเอง
  • 42.  ในวงรอบการรับรางวัลปี ค.ศ. 2010 ของ Baldrige Award  Crownover กล่าวว่า ถึงแม้บริษัทจะไม่ได้รับรางวัล แต่ก็ได้รับการ เยี่ยมสถานประกอบการ และได้รับรายงานป้อนกลับ ที่เขา สามารถจะนาไปใช้พัฒนาองค์กรสืบไป
  • 43.  อย่ายอมแพ้เมื่อเจอแรงต้านในการพัฒนาตามแนวทาง Baldrige  อย่าคาดเดาว่าองค์กรจะสาเร็จเหมือนอย่างที่เคยทามาแล้ว  อย่าให้ความไม่เชื่อใจของบุคลากร ทาให้การตัดสินใจเปลี่ยนไป  จงตอบทุกคาถามในโครงร่างองค์กร (Organizational Profile)  จงใช้มโนภาพว่าคุณต้องการไปถึงที่ใด  จงตัดสินใจส่งรายงานเข้ารับรางวัลสม่าเสมอ  จงศึกษาข้อดีข้อด้อยของการเปลี่ยนแปลง  จงแสดงความมุ่งมั่นต่อการเปลี่ยนแปลง  จงเข้ารับการฝึกจาก Baldrige practitioners  จงเชื่อมโยงผลลัพธ์เข้ากับแผนกลยุทธ์  จงวางใจบุคลากรเช่นเดียวกับวางใจตนเอง ในการเขียนรายงาน application  จงเตรียมความพร้อมกับการก้าวสู่การพัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง แม้คุณจะ ได้รับรางวัล