SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 95
Baixar para ler offline
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
โรงเรียน มะนะศึกษา
เลขที่ ๒๖๒ ตาบล. บ้านชวน อาเภอ บาเหน็จณรงค์
จังหวัดชัยภูมิ
ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต. ๓
รหัสสถานศึกษา. ๓๖๑๐๐๐๑๒
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
2
รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ของโรงเรียน
มะนะศึกษาเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อสรุปผลการดาเนินงานในการจัดการศึกษาตามแผนงาน/ โครงการ
และมา ตรฐานทั้ง ๕ ด้าน คือมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐ านด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และ
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม พร้อมด้วย การดาเนินงานตามข้อเสนอแนะจากการปร ะเมิน
คุณภาพภายนอกรอบสอง
ขอขอบคุณบุคลากร ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในกา รคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วม
ประเมินผล ตลอดจนการสนับสนุนด้านงบประมาณในการบริหารจัดการจนสัมฤทธิ์ผลในการ
ดาเนินงานเป็นที่พึงพอใจของผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้ จะใช้เป็นแนวทางประกอบการประเมินคุณภาพภายนอกใน
ครั้งนี้ อีกทั้งเป็นแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(นายบาเหน็จ ป้องปัด)
๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖
สารบัญสารบัญ
หน้าหน้า
คานาคานา
บทบทที่ที่ ๑๑ ข้อมูลพื้นฐาน
บทบทที่ที่ ๒๒ แผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา
บทบทที่ที่ ๓๓ ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
- ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษา
- ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย
3
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
สรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษา
ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับชาติ
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับท้องถิ่น
บทที่บทที่ ๔๔ สรุปผลการพัฒนาและการนาไปใช้
สรุปผลการดาเนินการในภาพรวม
จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา
แนวทางการพัฒนาในอนาคต
ความต้องการและความช่วยเหลือ
ภาคผนวกภาคผนวก
- รายชื่อ/คาสั่งคณะกรรมการประเมิน
บทที่ ๑
ข้อมูลพื้นฐาน
๑. ข้อมูลทั่วไป
๑.๑ ชื่อโรงเรียน มะนะศึกษา ที่ตั้ง ๒๖๒ หมู่ที่ ๑๕ ถนนบาเหน็จ-ซับใหญ่ ตาบลบ้านชวน อาเภอ
บาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ สังกัด สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทร ๐–๔๔๘๔–๒๑๑๘
โทรสาร ๐–๔๔๑๒–๗๑๑๙ e-mail : mana_suksa@yahoo.com website : http://www.mana.ac.th
๑.๒ ได้รับอนุญาตจัดตั้ง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๓
๑.๓ เปิดสอนระดับชั้น อนุบาลปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
๑.๔ เนื้อที่ ๑ ไร่ - ตารางวา
๑.๕ เขตพื้นที่บริการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต ๓
๑.๖ ประวัติโรงเรียนโดยย่อ
โรงเรียนมะนะศึกษา จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เพื่อให้บริการด้านการศึกษาแก่เด็กก่อนวัยเรียน
ให้มีความพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป โดยมี นายมะ หิรัญวงษ์ เป็นผู้รับใบอนุญาต
ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 มีนักเรียนจานวน ๘๐ คน ครูจานวน ๑ คน โดยมี
นางสาวทองปาน พิพิธกุล เป็นครูใหญ่
ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ มีการเปลี่ยนครูใหญ่ จากนางสาวทองปาน พิพิธกุล เป็นนายมะ หิรัญวงษ์
4
ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ มีการจัดสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม โดยมี 4 ห้องเรียน สามารถรองรับนักเรียนได้จานวน
๑๕๐ คน
ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ สร้างอาคารเรียน และอาคารอเนกประสงค์ เพื่อทาการเปิดสอนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓
ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โรงเรียนเปิดทาการสอนในระดับชั้นปฐมวัย – ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีนักเรียน
ทั้งสิ้น จานวน ๒๓๓ คน ครู ๑๑ คน มีนายวีระ อิ่มวิเศษ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน
ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงเรียนเปิดทาการสอนระดับช้นปฐมวัย – ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีจานวน
นักเรียนทั้งสิ้น ๓๖๖ คน ครู ๑๔ คน มีนายบาเหน็จ ป้องปัด เป็นผู้อานวยการโรงเรียน
5
6
โครงสร้างการบริหาร (แผนภูมิ)
โครงสร้างการบริหาร (แผนภูมิ)
๑.๗ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
ปรัชญา
โรงเรียนมะนะศึกษา .แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น ๔ ด้าน
ได้แก่ด้าน บริหารวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารงานบุคคล และบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการ
บริหาร/เทคนิคการบริหารแบบการพัฒนาตามกระบวนการ PDCAและSBM
ผู้รับใบอนุญาต/ผู้จัดการ
ผู้อานวยการโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษา
งานบริหารงานวิชาการ งานบริหารงานงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งานบริหารงานทั่วไป
- การพัฒนาหลักสูตร
- การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
- การวัดประเมินผล และเทียบโอน
- การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
- การพัฒนาสื่อ
- การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
- การนิเทศการศึกษา
- งานแนะแนว
- ส่งเสริมความรู้ด้านวิชา การแก่ชุมชน
- งานกองทุนเพื่อการศึกษา
- การประกันคุณภาพ
- งานนโยบายและแผน
- การบริหารการเงินและการบัญชี
- งานพัสดุและสินทรัพย์
- ตรวจสอบติดตามประเมินผลการ
ใช้เงิน
- การควบคุมภายใน
- งานวางแผนอัตรากาลังและการ
กาหนดตาแหน่ง
- งานบรรจุและงานแต่งตั้ง
- งานพัฒนาบุคลากร
- งานสวัสดิการ
- งานสารบรรณ
- งานประชาสัมพันธ์
- งานกิจการนักเรียน
- งานอนามัยโรงเรียนและโภชนาการ
- งานอาคารสถานที่
- งานเวรยามรักษาความปลอดภัย
- งามสัมพันธ์ชุมชน
- งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- งานสหกรณ์
7
“สร้างผู้นา คุณธรรมเด่น เน้นวิชาการ สืบสานความเป็นไทย”
วิสัยทัศน์
ภายในปี ๒๕๕๗ โรงเรียนมะนะศึกษาจะมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความรู้คู่คุณธรรม
รักการอ่าน เขียน คิด มีจิตใฝ่รู้ เน้นครูสู่ผู้เรียนเป็นสาคัญ มีจิตบริการ บริหารร่วมสร้างสรรค์ มุ่งมั่นสู่มาตรฐาน สืบ
สานความเป็นไทย ใส่ใจให้บริการ
พันธกิจ (Misson)
๑. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มีคุณธรรมนา
ความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์
๒. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิดอย่างเนระบบ คิดสร้างสรรค์
ตัดสินใจแก้ปัญหาได้
๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
๔. ส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาให้มีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๕. ส่งเสริมและพัฒนาให้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลาหลายและใช้แหล่งการ
เรียนรู้อย่างคุ้มค่า
๖. ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๗. ส่งเสริมการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
๘. จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป้าหมาย
โรงเรียนมะนะศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุศักยภาพสูงสุดของแต่ละบุคคล เป็นคนดี มีปัญญา
มีความสุขและมีความเป็นไทย โดยได้กาหนดเป้าหมยการพัฒนาผู้เรียน ดังต่อไปนี้
๑. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์
๒. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้
๓. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
๔. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ
๕. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง หลากหลายใช้แหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญา
ท้องถิ่นอย่างคุ้มค่า
๖. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๗. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
๘. สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีอัตลักษณ์โดดเด่น
๑.๘ เอกลักษณ์/อัตลักษณ์
เอกลักษณ์
นาฏศิลป์ไทย
อัตลักษณ์
งามอย่างไทย (กายอ่อนน้อม วาจาอ่อนหวาน)
๑.๙ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เป้าหมาย/เป้าประสงค์ กลยุทธ์ระดับองค์กร
1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
สถานศึกษามีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึง
1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
8
ประสงค์
2. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก
เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด
อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาได้
4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียน
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
6. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
อย่างหลากหลาย
7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า
8. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
3. เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 4. ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
10.สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตาม
แนวทางปฏิรูปการศึกษา
5.พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
เป้าหมาย/เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
สถานศึกษามีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึง
ประสงค์
1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีระดับผลการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน
ทุกรายวิชา
2.ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะกระบวนการในระดับดีขึ้นไป
3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พีง
ประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
4. ร้อยละของผู้เรียนสามารถระบุอาชีพสุจริตในท้องถิ่นได้
2.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
5. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ Internet สืบค้นข้อมูลได้
6.ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสืบค้นข้อมูลความรู้จากห้องสมุดและ
แหล่งเรียนรู้อื่น
7.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณภาพด้านรักการทางานในระดับดีขึ้นไป
9
เป้าหมาย/เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด
อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้
8.ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถด้านการ
คิดตามที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551
9. ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียนในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่าขึ้นไป
10. ร้อยละของผู้เรียนที่ร่วมปฏิบัติงานกับผู้อื่น
4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการ
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
11. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ได้รับการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาที่สามารถตรวจสอบได้
12. สถานศึกษามีงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน
โดยตรงอย่างน้อย 10 รายการ
5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 13. ร้อยละของครูที่มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
14. ร้อยละของครูที่มีเครื่องมือวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
15. ร้อยละของครูที่มีรายงานการวิจัยในชั้นเรียนคนละ 2 เรื่อง /
ภาคเรียนหรือปีการศึกษา
6.สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอย่างหลากหลาย
16.สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อมุ่งยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
17.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป
18.สถานศึกษามีข้อมูล หลักฐาน การร่วมกิจกรรมระหว่างโรงเรียน
กับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง
7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า
19. สถานศึกษามีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดการเรียนรู้
อย่างน้อย 2 ครั้ง/ภาคเรียน
20. สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง/
ระดับการศึกษา
8.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
21. สถานศึกษาจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา อย่างน้อย
ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
22.สถานศึกษามีการนาแสดงแผนภูมิโครงสร้างของสถานศึกษา
อย่างชัดเจน
23. สถานศึกษามีคู่มือ การปฏิบัติงานของสถานศึกษาครบทุกกลุ่ม
ทุกงาน
24.สถานศึกษามีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี
9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 25. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม
26. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีความร่าเริง แจ่มใส มีวินัย ตรง
ต่อเวลา
27. จานวน/ร้อยละของครูที่มีความโอบอ้อมอารี
28.ผู้บริหารมีความเป็นประชาธิปไตย
29. กรรมการสถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาเป็นผู้มีวินัย
และให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
10. สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
30.ร้อยละของผู้เรียนที่มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยระดับดีขึ้นไป
ตามที่สถานศึกษากาหนด
10
๒. ข้อมูลผู้บริหาร
๒.๑ ผู้รับใบอนุญาต นายมนต์ชัย หิรัญวงษ์ โทรศัพท์ ๐-๔๔๘๔-๒๑๑๘ วุฒิการศึกษาสูงสุด
นิติศาสตรบัณฑิต สาขานิติศาสตร์ ดารงตาแหน่งตั้งแต่ ปีพ.ศ.๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๔ ปี ๑ เดือน
๒.๒ ผู้อานวยการโรงเรียน นายบาเหน็จ ป้องปัด โทรศัพท์ ๐๘๑-๙๖๖๕๗๑๒ e-mail :
bamnet1@hotmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด การศึกษามหาบัณฑิตสาขา การบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่ง
ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๕๕ จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๑ ปี ๒ เดือน
๒.๓ รองผู้อานวยการโรงเรียน ๒ คน
๑) ชื่อ-สกุลนางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ วุฒิการศึกษาสูงสุด คุรุศาสตร์บัณฑิต สาขา
ประถมศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๖-๒๔๙๕๓๗๔ รับผิดชอบกลุ่ม การบริหารงานวิชาการ
๒) ชื่อ-สกุล นางสุรีย์รัตน์ กิ่งจันทร์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาสหวิทยาการฯ
โทรศัพท์ ๐๘๗-๙๖๒๖๘๑๙ รับผิดชอบกลุ่ม การบริหารงานงบประมาณ
๒.๕ ลักษณะผู้รับใบอนุญาต
❍ บุคคลธรรมดา
❍ นิติบุคคล
❍ ห้างหุ้นส่วนจากัด/บริษัท ❍ มูลนิธิในพุทธศาสนา/ การกุศลของวัด
❍ มูลนิธิในคริสต์ศาสนา ❍ มูลนิธิในศาสนาอิสลาม
๓. ข้อมูลนักเรียน (ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ของปีการศึกษาที่รายงาน)
๓.๑ ที่ตั้ง ❍ กทม. ❍ ภูมิภาค
๓.๒ ลักษณะโรงเรียน
❍ สามัญทั่วไป ❍ สามัญศึกษาและ EP ❍ EP ❍ อิสลามศึกษา
❍ การกุศล ❍ การสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญของมูลนิธิ/มัสยิด
11
๓.๓ ระดับที่เปิดสอน
❍ ปฐมวัย ❍ปฐมวัย – ประถมศึกษา ❍ ปฐมวัย – ม.ต้น
❍ ปฐมวัย – ม.ปลาย ❍ ประถมศึกษา ❍ ประถมศึกษา – ม.ต้น
❍ ประถมศึกษา – ม.ปลาย
๓.๔ จานวนห้องเรียนจาแนกตามหลักสูตร/โครงการ
ระดับชั้น
จานวนห้องเรียน
ไทย EP อิสลาม รวม
เตรียมอนุบาล - - - -
อนุบาล ๕ - - ๕
ประถมศึกษา (ป.๑-๖) ๗ - - ๗
รวม ๑๒ - - ๑๒
๓.๕ จานวนผู้เรียนจาแนกตามหลักสูตร/โครงการและเพศ
หลักสูตรโครงการ/ระดับชั้น
จานวนผู้เรียน
ไทย EP อิสลาม รวม
ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง รวม
เตรียมอนุบาล - - - - - - - - -
อนุบาล ๗๔ ๖๙ - - - - - - -
ประถมศึกษา (ป.๑-๖) ๑๑๔ ๑๐๖ - - - - - - -
รวม ๑๘๘ ๑๗๕ - - - - - - -
๓.๖ จานวนผู้เรียนที่มีลักษณะพิเศษ
รายการ
จานวน (คน)
เตรียมอนุบาล
และอนุบาล
ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม คิดเป็น
ร้อยละ
๑. ผู้เรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม.
๒. ผู้เรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
๓. ผู้เรียนปัญญาเลิศ
๓.๑ คณิตศาสตร์
๓.๒ วิทยาศาสตร์
๓.๓ ภาษาอังกฤษ
๓.๔ ศิลปะ
๓.๕ นาฏศิลป์/ดนตรี
๓.๖ พลศึกษา
๓.๗ อื่น ๆ (ระบุ)
๔. ผู้เรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
๔.๑ ยากจน
๔.๒ ด้อยโอกาส
12
รายการ
จานวน (คน)
เตรียมอนุบาล
และอนุบาล
ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม คิดเป็น
ร้อยละ
๔.๓ อื่น ๆ (ระบุ)..................................
๕. ผู้เรียนซ้าชั้น
๖. ผู้เรียนที่ขาดเรียนมากกว่าร้อยละ ๕ของเวลา
เรียน (วัน) ตลอดปีการศึกษา
๗. ผู้เรียนลาออกกลางคัน
๘. ผู้เรียนที่ทาชื่อเสียงให้กับโรงเรียน
๙. ผู้เรียนที่อยู่ในภาวะเสี่ยง
๙.๑ เอดส์
๙.๒ ยาเสพติด
๙.๓ ความรุนแรง
๙.๔ พฤติกรรมก้าวร้าวตามคาวินิจฉัยของแพทย์
๓.๗ จานวนนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษาหรือสานักงานก องทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)………………คน คิดเป็นร้อยละ………….
๓.๘ จานวนนักเรียนที่มีน้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย……คน คิดเป็นร้อยละ……
๓.๙ จานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณคดีและนันทนาการ ………………คน
คิดเป็นร้อยละ …………..
๓..๑๐ จานวนนักเรียนที่มีคุณลักษณะเป็นลูกที่ดีของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง………………...คน คิดเป็นร้อยละ…………..…
๓.๑๑ จานวนนักเรียนที่มีคุณลักษณะเป็นนักเรียนที่ดีของโรงเรียน………………….คน คิดเป็นร้อยละ………..…
๓.๑๒ จานวนนักเรียนที่ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมทั้งในและนอกประเทศ………..……คน
คิดเป็นร้อยละ ………….
๓.๑๓ จานวนนักเรียนที่มีบันทึกการเรียนรู้จากการอ่านและการสืบค้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ
……………….. คน คิดเป็นร้อยละ …………..
๓.๑๔ จานวนนักเรียนที่ผ่านการประเมินความสามารถด้านการคิดตามที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา
……………………..คน คิดเป็นร้อยละ …………..
๓.๑๕ จานวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคมตามที่กาหนดใน
หลักสูตรสถานศึกษา ๓๖๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
๓.๑๖. จานวนนักเรียนที่จบหลักสูตร
อ.๓ จานวน ๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ๑๐๐
ป.๖ จานวน ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ๑๐๐
๓.๑๗ อัตราส่วนครู : นักเรียน = ๑ : ๒๔
๔. ข้อมูลบุคลากร
๔.๑ จานวนบุคลากร จาแนกตามหน้าที่ เพศ ระดับการศึกษา อายุ และประสบการณ์
ประเภทบุคลากร
เพศ (คน) ระดับการศึกษา (คน) อายุเฉลี่ย
(ปี)
ประสบการณ์
ในตาแหน่ง (เฉลี่ย)(ปี)
ชาย หญิง ต่ากว่าป.ตรี ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี
ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ และผู้อานวยการ
ผู้รับใบอนุญาตและผู้จัดการ ๑ - - ๑ - ๔๘ ๔
ผู้รับใบอนุญาตและผู้อานวยการ
ผู้จัดการและผู้อานวยการ
ผู้รับใบอนุญาต
13
ผู้จัดการ
ผู้อานวยการ ๑ - - - ๑ ๖๒ ๓๒
รองผู้อานวยการ - ๒ - ๒ - ๔๓ ๑๐
ครู (บรรจุ) ๕ ๙ ๑ ๙
ครูพิเศษ/ครูผู้ช่วย (ไม่บรรจุ)
ครูต่างประเทศ - - - - - - -
พี่เลี้ยง - ๑ ๑ - - ๓๐ ๔
บุคลากรทางการศึกษา - - - - - - -
นักการภารโรง - ๓ - - - ๕๐ ๒๐
คนขับรถ - - - - - - -
ยามรักษาความปลอดภัย ๒ - ๒ - - ๔๐ ๓
จานวนครูที่สอนวิชาตรงเอก ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๒
จานวนครูที่สอนตรงความถนัด ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๕๗
สาขาที่ขาดแคลนครู ❍ ภาษาไทย ๑ คน❍ คณิตศาสตร์ - คน ❍ วิทยาศาสตร์ ๑ คน
❍สังคมศึกษา ๑ คน ❍ สุขศึกษา - คน ❍ ศิลปศึกษา - คน
❍ การอาชีพฯ - คน ❍ ภาษาต่างประเทศ ๑ คน ❍ คอมพิวเตอร์ ๑ คน
๕. ข้อมูลอาคารสถานที่
อาคารเรียนจานวน ๓ หลัง อาคารประกอบจานวน - หลัง
ส้วม ๒๐ หลัง สระว่ายน้า - สระ
สนามเด็กเล่น ๑ สนาม สนามฟุตบอล - สนาม
สนามบาสเก็ตบอล - สนาม สนามเทนนิส - สนาม
๖. ข้อมูลงบประมาณ
งบประมาณ (รับ-จ่าย)
รายรับ บาท รายจ่าย บาท
เงินงบประมาณ(เงินอุดหนุนรายหัว) ๒๗๐๙๕๓๒.๑๒ งบดาเนินการ/เงินเดือน-ค่าจ้าง ๑,๘๒๑,๗๔๖.๐๐
เงินนอกงบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐.๐๐ งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๑๙๑,๒๔๔.๐๐
รวมรายรับ ๒,๙๐๙,๕๓๒.๑๒ รวมรายจ่าย ๒,๐๑๒,๙๙๐
งบดาเนินการ/เงินเดือน เงินค่าจ้าง คิดเป็นร้อยละ ๖๒ ของรายรับ
งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๖.๕๗ ของรายรับ
๗. ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
๗.๑ อาชีพหลักของชุมชน คือ
❍ รับราชการ ❍ ค้าขาย ❍ เกษตรกร
❍ รับจ้าง ❍ ไม่มีอาชีพ ❍ อื่น ๆ (ระบุ)………………..
๗.๒ ศาสนาที่ชุมชนนับถือ คือ
❍พุทธ ❍คริสต์ ❍อิสลาม
❍ฮินดู ❍ซิกข์ ❍อื่น ๆ………………………..
๗.๓ อาชีพหลักของผู้ปกครองส่วนใหญ่ คือ
❍ รับราชการ ❍ ค้าขาย ❍ เกษตรกร
❍ รับจ้าง ❍ ไม่มีอาชีพ ❍ อื่น ๆ (ระบุ)………………..
๗.๔ ศาสนาที่ผู้ปกครองส่วนใหญ่นับถือ คือ
14
❍พุทธ ❍คริสต์ ❍อิสลาม
❍ฮินดู ❍ซิกข์ ❍อื่น ๆ………………………..
๗.๕ รายได้เฉลี่ยของผู้ปกครองต่อครอบครัว ……………………………บาทต่อปี
๗.๖ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ........
๘. โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน
๘.๑ โอกาส /จุดแข็ง (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้)
o ตั้งอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและเป็นประโยชน์ เช่น แหล่งโบราณสถาน/โบราณวัตถุ สถานที่ท่องเที่ยว
o ตั้งอยู่ในเมือง อยู่ใกล้สถานที่ราชการ/โรงพยาบาล/หน่วยงานอื่น ๆ
o ตั้งอยู่ในเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่น/ใกล้ตลาด/แหล่งชุมชน/ใกล้ห้างสรรพสินค้า
o ปลอดภัยต่อยาเสพติด/แหล่งเริงรมย์/แหล่งการพนัน มอมเมาเยาวชน
o สภาพแวดล้อมของโรงเรียนเหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้
o สภาพแวดล้อมดี/ปลอดโปร่ง/ไม่แออัด/บรรยากาศร่มรื่น
o ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน ผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น
o ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียน/มีสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
o มีวิทยากรในท้องถิ่น/ผู้นาในท้องถิ่นที่มีความรู้
o ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อบริการชุมชนด้านสุขภาพ/กีฬา/สวัสดิภาพ
o การคมนาคมสะดวก มีรถรับจ้าง/รถประจาทางผ่าน
o มีรถรับส่งระหว่างโรงเรียนกับบ้าน
o บุคลากรมีความรู้ความสามารถ/เอาใจใส่ ดูแลเด็กเป็นอย่างดี
o ส่งเสริมคุณภาพบุคลากรให้มีจรรยาบรรณครู
o สนับสนุนด้านการพัฒนาบุคลากร
o ผู้ปกครองมีศรัทธา/ทัศนคติ/ความเชื่อมั่น ที่ดีต่อโรงเรียน
o ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
o สภาพชุมชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ผู้ปกครองเอาใจใส่
o เน้นจุดเด่นด้านภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส
o มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ
๘.๒ ข้อจากัด/จุดอ่อน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ และเพิ่มเติมได้)
o ตั้งอยู่ในชุมชนที่มีโรงเรียนเอกชน/โรงเรียนเทศบาล/โรงเรียนรัฐบาล หลายโรง
o โรงเรียนอยู่ใกล้แหล่งอบายมุข/แหล่งมอมเมาเยาวชน
o ที่พักอาศัยของผู้เรียนห่างไกลจากโรงเรียน
o อยู่ในพื้นที่ห่างไกลจากความเจริญ/อาเภอ/แหล่งชุมชน
o ทางเข้าโรงเรียนคับแคบทาให้การสัญจรติดขัด
o สถานที่บริเวณโรงเรียนคับแคบ เช่น พื้นที่การออกกาลังกาย พื้นที่ทากิจกรรม สนาม
o ไม่มีห้องประชุมที่รองรับสาหรับคนจานวนมาก
o ผู้เรียนมีทักษะการคิด/ตั้งคาถาม/แสวงหาความรู้ น้อย
o งบประมาณมีไม่เพียงพอ
o จานวนผู้เรียนลดลง
o ไม่สามารถขยายการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้
o โรงเรียนมีขนาดเล็กจึงขาดรายได้นามาพัฒนา
o อาคารไม่ได้รับการปรับปรุง
o ขาดแคลนสื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ที่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าของผู้เรียน
o ขาดแคลนบุคลากร/ครู/วุฒิทางการศึกษา
o ครูมีภาระงานอื่นนอกจากการสอนมาก
o ครูไม่ทันเทคโนโลยี
o มีการเปลี่ยน/โยกย้ายผู้บริหารบ่อย
15
o โรงเรียนไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแลความเรียบร้อย/อานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมให้กับชุมชน
o ขาดการนิเทศติดตามจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
o ขาดการรับข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานราชการ
o การทากิจกรรมของโรงเรียนขึ้นอยู่กับวันหยุดของผู้ปกครอง
o ขาดความร่วมมือจากชุมชนและผู้ปกครอง
o ผู้ปกครองไม่เข้าใจหลักสูตรและการจัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อม
o ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีฐานะยากจน /รายได้น้อยการบริหารจัดการไม่คล่องตัว
o ผู้ปกครองเลือกโรงเรียนที่เปิดสอนหลักสูตร EP.
o ไม่มีรถรับ-ส่งผู้เรียน
o ครอบครัวแตกแยกมีผลกระทบด้านสุขนิสัย คุณธรรม จริยธรรม
o ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ากว่าระดับปริญญาตรี
๙. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓
โรงเรียนมะนะศึกษา จัดสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยได้ร่วมกัน
จัดสัดส่วนของเวลาเรียน : สาระการเรียนรู้ ในแต่ละกลุ่มสาระ สาระเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังแสดงใน
ตารางต่อไปนี้
เวลาเรียน
16
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / ระดับประถมศึกษา
กิจกรรม ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. สาระการเรียนรู้พื้นฐานตามหลักสูตร
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียนสาระพื้นฐาน ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
๒. สาระเพิ่มเติม
ภาษาไทย ป.๑ – ป. ๓ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ป. ๔ – ป.๖
รวมเวลาเรียนสาระเพิ่มเติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ลูกเสือ – เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ชุมนุมทางวิชาการ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
อบรมคุณธรรมจริยธรรม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
รวมเวลาเรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาเรียนตลอดปี ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐
๑๐. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑) ห้องสมุดมีขนาด ๔๓.๑๒ ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุด ๒,๖๙๒ เล่ม การสืบค้นหนังสือและ
การยืม-คืน ใช้ระบบ บัตรการยืม การส่งจานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๔๕ คน ต่อ
วันคิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕ ของนักเรียนทั้งหมด
๒) ห้องปฏิบัติการมีทั้งหมด ห้อง ได้แก่
ห้องคอมพิวเตอร์ ๑ ห้อง
ห้องวิทยาศาสตร์ - ห้อง
ห้องปฏิบัติการทางภาษาห้อง - ห้อง
ศิลปะ - ห้อง
ห้องนาฏศิลป์/ ดนตรี ๑ ห้อง
ห้องพยาบาล ๑ ห้อง
ห้องศาสนสัมพันธ์ ๑ ห้อง
ห้องแนะแนว – ห้อง
ห้องพละ - ห้อง
ห้องลูกเสือ -ห้อง
ห้องสื่อการเรียนการสอน – ห้อง
17
ห้องสันทนาการ - ห้อง
เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมใช้งาน มีทั้งหมด ๒๒เครื่อง
คอมพิวเตอร์ จานวน (เครื่อง)
1. ใช้ในการเรียนการสอน ๒๒
2. ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้ ๑
3. ใช้ในการบริหาร ๑
จานวนนักเรียนที่สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๓๕ คน ต่อวัน คิด
เป็นร้อยละ ๙.๗๒ ของนักเรียนทั้งหมด
๔) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้)
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
o สวนหย่อม/สวนสุขภาพ
o สวนสมุนไพร
o สวนเกษตร
o สวนวรรณคดี
o เรือนเพาะชา
o สนามเด็กเล่น
o ลานกิจกรรม
o ป้ายนิเทศ/บอร์ด
o มุมหนังสือ
o โรงอาหาร
o สระว่ายน้า
o สหกรณ์ภายในโรงเรียน
๕) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้)
แหล่งเรียนรู้ภายนอก
o โบสถ์/วัด/มัสยิด /โบราณสถาน/โบราณวัตถุ/พิพิธภัณฑ์
o สถานที่ท่องเที่ยวธรรมชาติ/สวนสาธารณะ/สวนสัตว์/อุทยาน
o สถานที่ราชการ/โรงพยาบาล/ไปรษณีย์/สถานีตารวจ/เทศบาล
o สถานศึกษา/มหาวิทยาลัย/โรงเรียน/ราชภัฎ/เทคโนโลยีราชมงคล
o ห้องสมุด/ท้องฟ้าจาลอง/เมืองจาลอง
o ธนาคาร/โรงแรม/ห้างสรรพสินค้า/ตลาด/โรงงาน
o พื้นที่เพาะปลูก/ไร่/สวน
o หัตถกรรมพื้นบ้าน/สินค้าพื้นเมือง
o ค่ายลูกเสือ
18
๖) ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรียน ในปีการศึกษา
ที่รายงาน
๖.๑ ชื่อ-สกุล นายพิต ล้วนนคร ให้ความรู้เรื่อง การทาไม้กวาดทางมะพร้าว สถิติการให้ความรู้
ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี
๖.๒ ชื่อ-สกุล นายสนัด อังคณิต ให้ความรู้เรื่อง การฟ้อนราพื้นบ้าน สถิติการให้ความรู้ใน
โรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี
๖.๓ ชื่อ-สกุล นายพินิจ ชินไธสง ให้ความรู้เรื่อง ดนตรีไทย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้
จานวน ๑ ครั้ง/ปี
๖.๔ ชื่อ-สกุล พระครูพินิจสมณวัตร ให้ความรู้เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม สถิติการให้ความรู้ใน
โรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓-๔ ครั้ง/ปี
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑๓๑ ครั้ง/ปี
ปราชญ์ชาวบ้าน/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ ผู้ทรงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู/ ผู้เรียน
ที่ ประเภทความรู้ จานวนครั้ง
1. การประกอบวิชาชีพ ๙
2. การเกษตร ๒
3. คหกรรม -
4. หัตถกรรม ๕
5. ศิลปะ/ดนตรี ๓๐
6. กีฬา ๑๐
7. วัฒนธรรม/จารีต-ประเพณี ๑๑
8. ศาสนา/คุณธรรม จริยธรรม/คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓๒
9. ความปลอดภัย/อุบัติเหตุ/กฎหมาย/ระเบียบวินัย ๕
19
10. สุขภาพ/การแพทย์/สุขอนามัย ๑๕
11. สิ่งแวดล้อม/ทรัพยากร -
12. การจัดการเรียนการสอน/หลักสูตร/การประเมิน ๑๒
๑๑. ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา
๑๑.๑ ผลงานดีเด่น
ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล
สถานศึกษา มีพัฒนาการของผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(ONET) รับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
ผู้บริหาร(ระบุชื่อ)
๑. นายบาเหน็จ ป้องปัด
๒. นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
๓. นางสุรีย์รัตน์ กิ่งจันทร์
๑.“ผู้บริหารโรงเรียนที่ดาเนิน
โครงการยอดเยี่ยม”โครงการกากับ
ดูแล และนิเทศการเรียนการสอนเพื่อ
เสริมสร้างคนดีบาเหน็จณรงค์
รางวัลครูชอล์คทองคา
๒. บุคลากรต้นแบบการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้
รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓
รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓
คุรุสภาอาเภอบาเหน็จณรงค์
สานักงานคณะกรรมการการ
ประถมศึกษาแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
ครู(ระบุชื่อ)
๑.นายพีระศักดิ์ กิสูงเนิน
๒.นางสาวภัทราวณี โรมบรรณ
รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓
รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
นักเรียน(ระบุชื่อ)
๑. เด็กหญิงนิยดา ฝึกดอนวัง
๒.เด็กหญิงปาณิศา บารุงสงฆ์
๓.เด็กหญิงเปี่ยมสุข ลือฤทธิกุล
๔.เด็กหญิงบัณฑิตา สิงห์นอก
๕.เด็กหญิงฐิติรัตน์ ศรีสุวรรณ์
๖.เด็กชายเมธา ชาระวัน
๗.เด็กหญิงศิรประภา บอกขุนทด
๘.เด็กชายอเนกพงศ์ ธิสงค์
๙.เด็กหญิงชนิสรา เคลือบขุนทด
๑๐.เด็กชายศิริชัย ประทุมวงศ์
- ร้องเพลงไทยลูกทุ่ง รางวัลเหรียญ
ทอง ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปี ๒๕๕๕
- ร้องเพลงไทยสากล รางวัลเหรียญ
ทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน
- กิจกรรมปั้นดินน้ามัน (ปฐมวัย)
รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ
สถานศึกษาเอกชน
- กิจกรรมมารยาทไทย รางวัลเหรียญ
ทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน
- การใช้โปรแกรมนาเสนอ
(presentation) รางวัลเหรียญทอง
ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
20
๑๑.เด็กหญิงพรปวีร์ เวียนขุนทด
๑๒.เด็กชายณครินทร์ ปราบนอก
๑๓.เด็กชายณัทธนันท์ สิงห์นอก
๑๔.เด็กหญิงกิตติมา มิตรขุนทด
๑๕.เด็กหญิงณฐิตา อาบสุวรรณ์
๑๖.เด็กหญิงณัฐณิชา คานึงผล
๑๗.เด็กหญิงพิยดา สุขจิต
๑๘.เด็กหญิงชัชชญา กริบกระโทก
๑๙.เด็กชายณัฐพงศ์ ปิ่นนาค
๒๐.เด็กชายณัฐวุฒิ กอบธัญกิจ
๒๑.เด็กชายสมนึก โตชมภู
๒๒.เด็กชายนัทธพงษ์ อยู่จัตุรัส
๒๓.เด็กหญิงอชิรญา ศรีหาบัว
๒๔.เด็กหญิงจุฑาทิพย์ เทียวประสงค์
๒๕.เด็กหญิงณัฐชยา ดารงค์ภูมิ
๒๖.เด็กหญิงสุธิชา งามสูงเนิน
๒๗.เด็กชายสิรภัทร วิลาทัน
๒๘.เด็กชายดนุเดช พาลี
๒๙.เด็กหญิงสุชาดา เพิ่มจัตุรัส
๓๐.เด็กหญิงอาริษา ใจรักษา
๓๑.เด็กหญิงบุศย์น้าเพชร สาราญรมย์
๓๒.เด็กหญิงอัจฉราวรรณ แตงทิพย์
๓๓.เด็กชายเกียรติศักดิ์ ประสพเงิน
๓๔.เด็กหญิงธัญญเรศ ขัดเคลือ
๓๕.เด็กหญิงปานรวินทร์ ฉิมวาส
- ประติมากรรมลอยตัว รางวัล
เหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษา
เอกชน
- ร้องเพลงพระราชนิพนธ์ รางวัล
เหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษา
เอกชน
- กิจกรรมราวงมาตรฐาน รางวัล
เหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษา
เอกชน
- คัดลายมือ รางวัลเหรียญทอง
ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน
- อ่านออกเสียงและจับใจความ
รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ
สถานศึกษาเอกชน
- ประติมากรรมลอยตัว รางวัล
เหรียญเงิน ระดับชาติ สถานศึกษา
เอกชน
- ร้องเพลงสากล รางวัลเหรียญเงิน
ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน
- ตอบปัญหาสุขภาพ รางวัลเหรียญ
เงินระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน
- จัดสวนถาดชื้น รางวัลเหรียญ
ทองแดงระดับชาติ สถานศึกษา
เอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
(รางวัลให้ใส่ดังนี้ระดับเขตพื้นที่ใส่ลาดับที่ ๑ สูงกว่าระดับเขตใส่ระดับ ๑, ๒และ ๓ หากเป็นรายการเดียวกัน
ให้ใส่รางวัลสูงสุดเท่านั้น)
21
๑๑.๒ งาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ประสบผลสาเร็จ
ที่ ชื่อ
งาน/โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์/
เป้าหมาย
วิธีดาเนินการ
(ย่อๆ)
ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ
(จานวน/ร้อยละ)
๑. ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา
๑. เพื่อพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาให้เหมาะสม
กับผู้เรียนและท้องถิ่น
๒. เพื่อส่งเสริมให้ครูจัดทา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
ตอบสนองความถนัดและ
ความสนใจของผู้เรียนและ
สามารถพัฒนานวัตกรรม
การจัดการเรียนรู้
๑.จัดทาโครงการ
๒. ประชุมชี้แจงโครงการ
๓. อนุมัตฺโครงการ
๔. ดาเนินงานตามโครงการ
-แต่งตั้งคณะทางาน
-วิเคราะห์เอกสารหลักสูตร
-พัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
หลักสูตร
-จัดทาหลักสูตร
-จัดทาแผนการจัดประสบการณ์
แผนการจัดการเรียนรู้
-จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม
แผน นิเทศ ติดตาม ประเมินผล
สรุปผลการดาเนินงาน
๑. โรงเรียนมีหลักสูตรที่
เหมาะสมกับผู้เรียน
๒. ครูร้อยละ ๘๐ จัดทาแผนการ
จัดการเรียนรู้
๓. ครูร้อยละ ๘๐ มีการพัฒนา
นวัตกรรมและสื่อที่เอื้อต่อการ
เรียนการสอน
๔. โรงเรียนมีการนเทศ ติดตาม
การเรียนการสอนและครูนาผลไป
ปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง
สม่าเสมอ
๒. ปรับวิธีการวัดและ
ประเมินผล
๑. นักเรียนได้รับการ
ส่งเสริม พัฒนาตาม
ศักยภาพ
๒. นักเรียนมีคุณภาพชีวิต
ที่ดี ดารงตนอยู่ในสังคม
อย่างมีความสุข
๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ
๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
๔. ดาเนินงานตามโครงการ
๕. สรุป ประเมินผล รายงาน
๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงขึ้น
๒. พัฒนารูปแบบการวัด
ประเมินผลรูปแบบต่าง ๆให้เอื้อ
ต่อการเรียนรู้
๓. ส่งเสริมการอ่าน การเรียน
การสอนภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ
๑. เพื่อให้เด็กอ่านและ
เขียนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ ได้คล่อง
๒. เพื่อให้เด็กได้พัฒนาเต็ม
ตามศักยภาพ
๑. จัดทาโครงการ
๒. ประชุมชี้แจงโครงการ
๓. อนุมัติโครงการ
๔. ดาเนินงานตามโครงการจัดให้ครู
ต่างชาติมาสอนในโรงเรียน
๕. จัดทาแผนการสอน
๖. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม
แผน ฯ นิเทศติดตาม สรุปผล
๑. เด็กร้อยละ ๘๐ได้รับการ
พัฒนาการเขียนการอ่าน
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ในช่วง
ปิดภาคเรียนฤดูร้อน
๒. นักเรียนร้อยละ ๙๐ อ่าน
คล่อง เขียนคล่อง
๔. สัมมนาการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา
๑. โรงเรียนสามารถ
ดาเนินงานตามมาตรฐาน
การศึกษา
๒. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วน
ร่วมในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
๓. โรงเรียนมีความพร้อม
ในการรับการปรเมิน
ภายนอกจาก สมศ.
๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ
๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
๕. ดาเนินงานตามโครงการ
๖. สรุป ประเมินผล รายงาน
๑. โรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่องเป็นแบบอย่างได้
๕. มหกรรมแข่งขัน
ศิลปหัตถกรรม ดนตรี กีฬา
วิชาการ
๑. นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงโดยการ
เรียนรู้จากการแข่งขัน
๒. ครูมีโอกาสในการ
๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ
๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่
๑. นักเรียนเป็นตัวแทนเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ
เขต ๓ ไปแข่งขันมหกรรม
วิชาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
22
พัฒนาศักยภาพ การเรียน
การสอน โดยใช้ผลการ
แข่งขันส่งเสริมผู้เรียนเต็ม
ศักยภาพ
เกี่ยวข้อง
๕. ดาเนินงานตามโครงการ
๖. สรุป ประเมินผล รายงานรางวัลที่
ได้รับ
ที่จังหวัดชัยภูมิ ปี ๒๕๕๕ ได้รับ
รางวัลเหรียญทอง นักร้องลูกทุ่ง
หญิง
๖. ส่งเสริมและพัฒนาการจัด
การศึกษาปฐมวัยให้ผู้เรียนมี
พัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา เหมาะสมกับวัย
๑. เพื่อพัฒนาเด็กกลุ่มอายุ
๔ – ๕ ปี ให้มีความพร้อม
ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม และสติปัญญา
๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ
๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
๕. ศึกษาดูงานอนุบาลต้นแบบ
๖. ดาเนินงานตามโครงการ
๗. สรุป ประเมินผล รายงานผล
๑. ครูพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่ม
สมรรถนะการจัดประสบการณ์ให้
เด็กปฐมวัย
๒. เด็กปฐมวัย ร้อยละ ๑๐๐ มี
การพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญาเหมาะสมกับวัย
๗. พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ (ห้อง
คอมพิวเตอร์)
๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้
ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
๒. เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้คิด
วิเคราะห์ สรุปงาน /
ความรู้ที่ได้จากการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้
๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ
๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
๔. ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
๕. ดาเนินโครงการ
๖. สรุป ประเมินผล รายงาน
๑.โรงเรียนมีแหล่งการเรียนรู้
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ จานวน
๒๒ เครื่อง
๒. นักเรียนร้อยละ ๙๕ ศึกษา
แหล่งการเรียนรู้ สามารถว
เคราะห์ สรุป งานจากการเรียนรู้
ได้
๑๒. ผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีที่ผ่านมา
๑๒.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย * ให้บันทึกระดับคุณภาพ เช่น พอใช้ ดี ....ตามผลประเมิน
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ
ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม
ด้านคุณภาพเด็ก
มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย √
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ √
มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม √
มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา √
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
23
มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
√
มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
√
มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา √
มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาตาม
ที่กาหนดในกฎกระทรวง
√
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๙ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้
√
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาปรัชญา วิสัยทัศน์ และ
จุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย
√
มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อ
ยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น
√
มาตรฐานที่สถานศึกษาเพิ่มเติม
มาตรฐานที่ ๑๕ ด้านมาตรการส่งเสริม
๑๒.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน * ให้บันทึกระดับคุณภาพ เช่น พอใช้ ดี ....ตามผลประเมิน
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ
ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ √
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ √
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
√
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์
ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
√
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร √
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ
ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
√
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด √
24
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ
ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม
ประสิทธิผล
มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
√
มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตาม
บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
√
มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้
และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
√
มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่
ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ
√
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
√
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้
√
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา
และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น
√
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม √
มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
√
๑๓. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกที่ผ่านมา (รอบสองหรือรอบสาม)
๑๓.๑ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง
โรงเรียนมะนะศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ .รอบสอง เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม
๒๕๕๒ ถึง ๒๑ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓
ด้าน คือ ผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียนซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้
๑๓.๑.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมิน
ผลประเมินอิง
สถานศึกษา
ค่าเฉลี่ย
ผลการ
รับรอง
มาตรฐาน
คุณภาพ
ค่าเฉลี่ย
ระดับ
คุณภาพ
คะแนน
ระดับ
คุณภาพ
ด้านผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓.๔๑ ดี ๓ ดี ๓.๒๑ ดี
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ๓.๔๔ ดี ๓ ดี ๓.๒๒ ดี
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีความสนใจกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี และการ
เคลื่อนไหว
๓.๔๑ ดี ๓ ดี ๓.๒๑ ดี
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
๓.๔๔ ดี ๓ ดี ๓.๒๒ ดี
25
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมิน
ผลประเมินอิง
สถานศึกษา
ค่าเฉลี่ย
ผลการ
รับรอง
มาตรฐาน
คุณภาพ
ค่าเฉลี่ย
ระดับ
คุณภาพ
คะแนน
ระดับ
คุณภาพ
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุกด้าน ๓.๔๒ ดี ๓ ดี ๓.๒๑ ดี
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนสนใจใฝ่รู้ รักการอ่านและพัฒนาตนเอง ๓.๓๔ ดี ๓ ดี ๓.๑๗ ดี
มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนเล่น/ทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ และชื่นชมใน
ผลงานของตนเอง
๓.๒๗ ดี ๒ พอใช้ ๒.๖๔ พอใช้
ด้านครู
มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ / ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่
รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ
๓.๖๐ ดีมาก ๓ ดี ๓.๓๐ ดี
มาตรฐานที่ ๙ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๓.๐๐ ดี ๓ ดี ๓.๐๐ ดี
ด้านผู้บริหาร
มาตรฐานที่ ๑๐ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหาร
จัดการ
๓.๖๔ ดีมาก ๓ ดี ๓.๓๒ ดี
มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้าง และบริหารงาน
อย่างเป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา
๒.๖๑ พอใช้ ๑ ปรับปรุง ๑.๘๑ พอใช้
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดย
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๓.๑๓ ดี ๓ ดี ๓.๐๗ ดี
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น
มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๓.๑๐ ดี ๓ ดี ๓.๐๕ ดี
มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับ
ชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
๒.๘๗ ดี ๓ ดี ๒.๙๙ ดี
โรงเรียนมีผลการประเมินระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพ ดี โดยมีค่าเฉลี่ย
๓.๓๐ ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง
กรณีที่ไม่ได้รับการรับรอง เนื่องจาก
๑๓.๑.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมิน ผลประเมินอิงสถานศึกษา
ค่าเฉลี่ย
ผลการ
รับรอง
มาตรฐาน
คุณภาพ
ค่าเฉลี่ย
ระดับ
คุณภาพ
คะแนน ระดับคุณภาพ
ด้านผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓.๑๗ ดี ๓ ดี ๓.๐๙ ดี
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ๓.๓๕ ดี ๓ ดี ๓.๑๘ ดี
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี
และกีฬา
๓.๐๘ ดี ๓ ดี ๓.๐๔ ดี
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มี
วิจารณญาณ คิดแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิด
ไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์
๒.๙๗ ดี ๓ ดี ๒.๙๙ ดี
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ๒.๘๙ ดี ๓ ดี ๒.๙๕ ดี
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
๓.๐๐ ดี ๓ ดี ๓.๐๐ ดี
มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ
ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
๓.๑๓ ดี ๓ ดี ๓.๐๗ ดี
ด้านครู
มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ / ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่
รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ
๓.๖๔ ดีมาก ๓ ดี ๓.๓๒ ดี
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Thotsaphon M'Max
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงCharming Love
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 

Mais procurados (20)

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 

Destaque

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..Montree Jareeyanuwat
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)yuiops
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56Pochchara Tiamwong
 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต)
 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต)yahapop
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนkany20101
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยRachunt Boonlha
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมAreeya Palee
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2sukanyalanla
 
5.ส่วนที่ 1
5.ส่วนที่ 15.ส่วนที่ 1
5.ส่วนที่ 1Junior Bush
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
นิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษานิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษาtanongsak
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรีMayuree Kung
 

Destaque (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต)
 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครรังสิต (เอื้ออาทรรังสิต)
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
 
5.ส่วนที่ 1
5.ส่วนที่ 15.ส่วนที่ 1
5.ส่วนที่ 1
 
pass
passpass
pass
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
นิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษานิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษา
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
 

Semelhante a รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptxPPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptxssuser305ac3
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556ToTo Yorct
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานdmathdanai
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศจุลี สร้อยญานะ
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 

Semelhante a รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา (20)

ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptxPPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
7532
75327532
7532
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้าแผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
 

Mais de Mana Suksa

อนุบาล2
อนุบาล2อนุบาล2
อนุบาล2Mana Suksa
 
อนุบาล1
อนุบาล1อนุบาล1
อนุบาล1Mana Suksa
 
อนุบาล3
อนุบาล3อนุบาล3
อนุบาล3Mana Suksa
 
Catalogue fla 29
Catalogue fla 29Catalogue fla 29
Catalogue fla 29Mana Suksa
 
Catalogue fla24 old 2.2013
Catalogue  fla24  old 2.2013Catalogue  fla24  old 2.2013
Catalogue fla24 old 2.2013Mana Suksa
 
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775Mana Suksa
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงานปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงานMana Suksa
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 

Mais de Mana Suksa (16)

อนุบาล2
อนุบาล2อนุบาล2
อนุบาล2
 
อนุบาล1
อนุบาล1อนุบาล1
อนุบาล1
 
ป6
ป6ป6
ป6
 
ป5
ป5ป5
ป5
 
ป4
ป4ป4
ป4
 
ป3
ป3ป3
ป3
 
ป2 2
ป2 2ป2 2
ป2 2
 
ป2 1
ป2 1ป2 1
ป2 1
 
ป1 2
ป1 2ป1 2
ป1 2
 
ป1 1
ป1 1ป1 1
ป1 1
 
อนุบาล3
อนุบาล3อนุบาล3
อนุบาล3
 
Catalogue fla 29
Catalogue fla 29Catalogue fla 29
Catalogue fla 29
 
Catalogue fla24 old 2.2013
Catalogue  fla24  old 2.2013Catalogue  fla24  old 2.2013
Catalogue fla24 old 2.2013
 
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงานปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงาน
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 

รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

  • 1. รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๕ โรงเรียน มะนะศึกษา เลขที่ ๒๖๒ ตาบล. บ้านชวน อาเภอ บาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต. ๓ รหัสสถานศึกษา. ๓๖๑๐๐๐๑๒ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ คานา
  • 2. 2 รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ของโรงเรียน มะนะศึกษาเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อสรุปผลการดาเนินงานในการจัดการศึกษาตามแผนงาน/ โครงการ และมา ตรฐานทั้ง ๕ ด้าน คือมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐ านด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม พร้อมด้วย การดาเนินงานตามข้อเสนอแนะจากการปร ะเมิน คุณภาพภายนอกรอบสอง ขอขอบคุณบุคลากร ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในกา รคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วม ประเมินผล ตลอดจนการสนับสนุนด้านงบประมาณในการบริหารจัดการจนสัมฤทธิ์ผลในการ ดาเนินงานเป็นที่พึงพอใจของผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้ จะใช้เป็นแนวทางประกอบการประเมินคุณภาพภายนอกใน ครั้งนี้ อีกทั้งเป็นแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (นายบาเหน็จ ป้องปัด) ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ สารบัญสารบัญ หน้าหน้า คานาคานา บทบทที่ที่ ๑๑ ข้อมูลพื้นฐาน บทบทที่ที่ ๒๒ แผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา บทบทที่ที่ ๓๓ ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา - ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษา - ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย
  • 3. 3 มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม สรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษา ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับชาติ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับท้องถิ่น บทที่บทที่ ๔๔ สรุปผลการพัฒนาและการนาไปใช้ สรุปผลการดาเนินการในภาพรวม จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา แนวทางการพัฒนาในอนาคต ความต้องการและความช่วยเหลือ ภาคผนวกภาคผนวก - รายชื่อ/คาสั่งคณะกรรมการประเมิน บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ๑. ข้อมูลทั่วไป ๑.๑ ชื่อโรงเรียน มะนะศึกษา ที่ตั้ง ๒๖๒ หมู่ที่ ๑๕ ถนนบาเหน็จ-ซับใหญ่ ตาบลบ้านชวน อาเภอ บาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ สังกัด สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทร ๐–๔๔๘๔–๒๑๑๘ โทรสาร ๐–๔๔๑๒–๗๑๑๙ e-mail : mana_suksa@yahoo.com website : http://www.mana.ac.th ๑.๒ ได้รับอนุญาตจัดตั้ง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ๑.๓ เปิดสอนระดับชั้น อนุบาลปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑.๔ เนื้อที่ ๑ ไร่ - ตารางวา ๑.๕ เขตพื้นที่บริการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต ๓ ๑.๖ ประวัติโรงเรียนโดยย่อ โรงเรียนมะนะศึกษา จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เพื่อให้บริการด้านการศึกษาแก่เด็กก่อนวัยเรียน ให้มีความพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป โดยมี นายมะ หิรัญวงษ์ เป็นผู้รับใบอนุญาต ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 มีนักเรียนจานวน ๘๐ คน ครูจานวน ๑ คน โดยมี นางสาวทองปาน พิพิธกุล เป็นครูใหญ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ มีการเปลี่ยนครูใหญ่ จากนางสาวทองปาน พิพิธกุล เป็นนายมะ หิรัญวงษ์
  • 4. 4 ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ มีการจัดสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม โดยมี 4 ห้องเรียน สามารถรองรับนักเรียนได้จานวน ๑๕๐ คน ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ สร้างอาคารเรียน และอาคารอเนกประสงค์ เพื่อทาการเปิดสอนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โรงเรียนเปิดทาการสอนในระดับชั้นปฐมวัย – ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีนักเรียน ทั้งสิ้น จานวน ๒๓๓ คน ครู ๑๑ คน มีนายวีระ อิ่มวิเศษ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงเรียนเปิดทาการสอนระดับช้นปฐมวัย – ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีจานวน นักเรียนทั้งสิ้น ๓๖๖ คน ครู ๑๔ คน มีนายบาเหน็จ ป้องปัด เป็นผู้อานวยการโรงเรียน
  • 5. 5
  • 6. 6 โครงสร้างการบริหาร (แผนภูมิ) โครงสร้างการบริหาร (แผนภูมิ) ๑.๗ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ปรัชญา โรงเรียนมะนะศึกษา .แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ด้าน บริหารวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารงานบุคคล และบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการ บริหาร/เทคนิคการบริหารแบบการพัฒนาตามกระบวนการ PDCAและSBM ผู้รับใบอนุญาต/ผู้จัดการ ผู้อานวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา งานบริหารงานวิชาการ งานบริหารงานงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งานบริหารงานทั่วไป - การพัฒนาหลักสูตร - การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ - การวัดประเมินผล และเทียบโอน - การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาสื่อ - การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ - การนิเทศการศึกษา - งานแนะแนว - ส่งเสริมความรู้ด้านวิชา การแก่ชุมชน - งานกองทุนเพื่อการศึกษา - การประกันคุณภาพ - งานนโยบายและแผน - การบริหารการเงินและการบัญชี - งานพัสดุและสินทรัพย์ - ตรวจสอบติดตามประเมินผลการ ใช้เงิน - การควบคุมภายใน - งานวางแผนอัตรากาลังและการ กาหนดตาแหน่ง - งานบรรจุและงานแต่งตั้ง - งานพัฒนาบุคลากร - งานสวัสดิการ - งานสารบรรณ - งานประชาสัมพันธ์ - งานกิจการนักเรียน - งานอนามัยโรงเรียนและโภชนาการ - งานอาคารสถานที่ - งานเวรยามรักษาความปลอดภัย - งามสัมพันธ์ชุมชน - งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - งานสหกรณ์
  • 7. 7 “สร้างผู้นา คุณธรรมเด่น เน้นวิชาการ สืบสานความเป็นไทย” วิสัยทัศน์ ภายในปี ๒๕๕๗ โรงเรียนมะนะศึกษาจะมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความรู้คู่คุณธรรม รักการอ่าน เขียน คิด มีจิตใฝ่รู้ เน้นครูสู่ผู้เรียนเป็นสาคัญ มีจิตบริการ บริหารร่วมสร้างสรรค์ มุ่งมั่นสู่มาตรฐาน สืบ สานความเป็นไทย ใส่ใจให้บริการ พันธกิจ (Misson) ๑. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มีคุณธรรมนา ความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิดอย่างเนระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ ๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ๔. ส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาให้มีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๕. ส่งเสริมและพัฒนาให้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลาหลายและใช้แหล่งการ เรียนรู้อย่างคุ้มค่า ๖. ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๗. ส่งเสริมการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น ๘. จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป้าหมาย โรงเรียนมะนะศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุศักยภาพสูงสุดของแต่ละบุคคล เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุขและมีความเป็นไทย โดยได้กาหนดเป้าหมยการพัฒนาผู้เรียน ดังต่อไปนี้ ๑. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ ๓. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๔. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ๕. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง หลากหลายใช้แหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญา ท้องถิ่นอย่างคุ้มค่า ๖. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๗. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ๘. สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีอัตลักษณ์โดดเด่น ๑.๘ เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ นาฏศิลป์ไทย อัตลักษณ์ งามอย่างไทย (กายอ่อนน้อม วาจาอ่อนหวาน) ๑.๙ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป้าหมาย/เป้าประสงค์ กลยุทธ์ระดับองค์กร 1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร สถานศึกษามีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึง 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
  • 8. 8 ประสงค์ 2. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาได้ 4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 6. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างหลากหลาย 7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า 8. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาของสถานศึกษา 3. เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 4. ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น 10.สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตาม แนวทางปฏิรูปการศึกษา 5.พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา เป้าหมาย/เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร สถานศึกษามีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึง ประสงค์ 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีระดับผลการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ทุกรายวิชา 2.ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะกระบวนการในระดับดีขึ้นไป 3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พีง ประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 4. ร้อยละของผู้เรียนสามารถระบุอาชีพสุจริตในท้องถิ่นได้ 2.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 5. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ Internet สืบค้นข้อมูลได้ 6.ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสืบค้นข้อมูลความรู้จากห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้อื่น 7.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณภาพด้านรักการทางานในระดับดีขึ้นไป
  • 9. 9 เป้าหมาย/เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ 8.ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถด้านการ คิดตามที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 9. ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียนในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่าขึ้นไป 10. ร้อยละของผู้เรียนที่ร่วมปฏิบัติงานกับผู้อื่น 4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 11. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ได้รับการเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาที่สามารถตรวจสอบได้ 12. สถานศึกษามีงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน โดยตรงอย่างน้อย 10 รายการ 5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 13. ร้อยละของครูที่มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 14. ร้อยละของครูที่มีเครื่องมือวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 15. ร้อยละของครูที่มีรายงานการวิจัยในชั้นเรียนคนละ 2 เรื่อง / ภาคเรียนหรือปีการศึกษา 6.สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอย่างหลากหลาย 16.สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อมุ่งยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 17.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป 18.สถานศึกษามีข้อมูล หลักฐาน การร่วมกิจกรรมระหว่างโรงเรียน กับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง 7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า 19. สถานศึกษามีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดการเรียนรู้ อย่างน้อย 2 ครั้ง/ภาคเรียน 20. สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง/ ระดับการศึกษา 8.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาของสถานศึกษา 21. สถานศึกษาจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา อย่างน้อย ภาคเรียนละ 2 ครั้ง 22.สถานศึกษามีการนาแสดงแผนภูมิโครงสร้างของสถานศึกษา อย่างชัดเจน 23. สถานศึกษามีคู่มือ การปฏิบัติงานของสถานศึกษาครบทุกกลุ่ม ทุกงาน 24.สถานศึกษามีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี 9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 25. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม 26. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีความร่าเริง แจ่มใส มีวินัย ตรง ต่อเวลา 27. จานวน/ร้อยละของครูที่มีความโอบอ้อมอารี 28.ผู้บริหารมีความเป็นประชาธิปไตย 29. กรรมการสถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาเป็นผู้มีวินัย และให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 10. สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 30.ร้อยละของผู้เรียนที่มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยระดับดีขึ้นไป ตามที่สถานศึกษากาหนด
  • 10. 10 ๒. ข้อมูลผู้บริหาร ๒.๑ ผู้รับใบอนุญาต นายมนต์ชัย หิรัญวงษ์ โทรศัพท์ ๐-๔๔๘๔-๒๑๑๘ วุฒิการศึกษาสูงสุด นิติศาสตรบัณฑิต สาขานิติศาสตร์ ดารงตาแหน่งตั้งแต่ ปีพ.ศ.๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๔ ปี ๑ เดือน ๒.๒ ผู้อานวยการโรงเรียน นายบาเหน็จ ป้องปัด โทรศัพท์ ๐๘๑-๙๖๖๕๗๑๒ e-mail : bamnet1@hotmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด การศึกษามหาบัณฑิตสาขา การบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่ง ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๕๕ จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๑ ปี ๒ เดือน ๒.๓ รองผู้อานวยการโรงเรียน ๒ คน ๑) ชื่อ-สกุลนางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ วุฒิการศึกษาสูงสุด คุรุศาสตร์บัณฑิต สาขา ประถมศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๖-๒๔๙๕๓๗๔ รับผิดชอบกลุ่ม การบริหารงานวิชาการ ๒) ชื่อ-สกุล นางสุรีย์รัตน์ กิ่งจันทร์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาสหวิทยาการฯ โทรศัพท์ ๐๘๗-๙๖๒๖๘๑๙ รับผิดชอบกลุ่ม การบริหารงานงบประมาณ ๒.๕ ลักษณะผู้รับใบอนุญาต ❍ บุคคลธรรมดา ❍ นิติบุคคล ❍ ห้างหุ้นส่วนจากัด/บริษัท ❍ มูลนิธิในพุทธศาสนา/ การกุศลของวัด ❍ มูลนิธิในคริสต์ศาสนา ❍ มูลนิธิในศาสนาอิสลาม ๓. ข้อมูลนักเรียน (ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ของปีการศึกษาที่รายงาน) ๓.๑ ที่ตั้ง ❍ กทม. ❍ ภูมิภาค ๓.๒ ลักษณะโรงเรียน ❍ สามัญทั่วไป ❍ สามัญศึกษาและ EP ❍ EP ❍ อิสลามศึกษา ❍ การกุศล ❍ การสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญของมูลนิธิ/มัสยิด
  • 11. 11 ๓.๓ ระดับที่เปิดสอน ❍ ปฐมวัย ❍ปฐมวัย – ประถมศึกษา ❍ ปฐมวัย – ม.ต้น ❍ ปฐมวัย – ม.ปลาย ❍ ประถมศึกษา ❍ ประถมศึกษา – ม.ต้น ❍ ประถมศึกษา – ม.ปลาย ๓.๔ จานวนห้องเรียนจาแนกตามหลักสูตร/โครงการ ระดับชั้น จานวนห้องเรียน ไทย EP อิสลาม รวม เตรียมอนุบาล - - - - อนุบาล ๕ - - ๕ ประถมศึกษา (ป.๑-๖) ๗ - - ๗ รวม ๑๒ - - ๑๒ ๓.๕ จานวนผู้เรียนจาแนกตามหลักสูตร/โครงการและเพศ หลักสูตรโครงการ/ระดับชั้น จานวนผู้เรียน ไทย EP อิสลาม รวม ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง รวม เตรียมอนุบาล - - - - - - - - - อนุบาล ๗๔ ๖๙ - - - - - - - ประถมศึกษา (ป.๑-๖) ๑๑๔ ๑๐๖ - - - - - - - รวม ๑๘๘ ๑๗๕ - - - - - - - ๓.๖ จานวนผู้เรียนที่มีลักษณะพิเศษ รายการ จานวน (คน) เตรียมอนุบาล และอนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม คิดเป็น ร้อยละ ๑. ผู้เรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม. ๒. ผู้เรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ๓. ผู้เรียนปัญญาเลิศ ๓.๑ คณิตศาสตร์ ๓.๒ วิทยาศาสตร์ ๓.๓ ภาษาอังกฤษ ๓.๔ ศิลปะ ๓.๕ นาฏศิลป์/ดนตรี ๓.๖ พลศึกษา ๓.๗ อื่น ๆ (ระบุ) ๔. ผู้เรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ๔.๑ ยากจน ๔.๒ ด้อยโอกาส
  • 12. 12 รายการ จานวน (คน) เตรียมอนุบาล และอนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม คิดเป็น ร้อยละ ๔.๓ อื่น ๆ (ระบุ).................................. ๕. ผู้เรียนซ้าชั้น ๖. ผู้เรียนที่ขาดเรียนมากกว่าร้อยละ ๕ของเวลา เรียน (วัน) ตลอดปีการศึกษา ๗. ผู้เรียนลาออกกลางคัน ๘. ผู้เรียนที่ทาชื่อเสียงให้กับโรงเรียน ๙. ผู้เรียนที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ๙.๑ เอดส์ ๙.๒ ยาเสพติด ๙.๓ ความรุนแรง ๙.๔ พฤติกรรมก้าวร้าวตามคาวินิจฉัยของแพทย์ ๓.๗ จานวนนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษาหรือสานักงานก องทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)………………คน คิดเป็นร้อยละ…………. ๓.๘ จานวนนักเรียนที่มีน้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย……คน คิดเป็นร้อยละ…… ๓.๙ จานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณคดีและนันทนาการ ………………คน คิดเป็นร้อยละ ………….. ๓..๑๐ จานวนนักเรียนที่มีคุณลักษณะเป็นลูกที่ดีของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง………………...คน คิดเป็นร้อยละ…………..… ๓.๑๑ จานวนนักเรียนที่มีคุณลักษณะเป็นนักเรียนที่ดีของโรงเรียน………………….คน คิดเป็นร้อยละ………..… ๓.๑๒ จานวนนักเรียนที่ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมทั้งในและนอกประเทศ………..……คน คิดเป็นร้อยละ …………. ๓.๑๓ จานวนนักเรียนที่มีบันทึกการเรียนรู้จากการอ่านและการสืบค้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ ……………….. คน คิดเป็นร้อยละ ………….. ๓.๑๔ จานวนนักเรียนที่ผ่านการประเมินความสามารถด้านการคิดตามที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา ……………………..คน คิดเป็นร้อยละ ………….. ๓.๑๕ จานวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคมตามที่กาหนดใน หลักสูตรสถานศึกษา ๓๖๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๓.๑๖. จานวนนักเรียนที่จบหลักสูตร อ.๓ จานวน ๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ๑๐๐ ป.๖ จานวน ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ๑๐๐ ๓.๑๗ อัตราส่วนครู : นักเรียน = ๑ : ๒๔ ๔. ข้อมูลบุคลากร ๔.๑ จานวนบุคลากร จาแนกตามหน้าที่ เพศ ระดับการศึกษา อายุ และประสบการณ์ ประเภทบุคลากร เพศ (คน) ระดับการศึกษา (คน) อายุเฉลี่ย (ปี) ประสบการณ์ ในตาแหน่ง (เฉลี่ย)(ปี) ชาย หญิง ต่ากว่าป.ตรี ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ และผู้อานวยการ ผู้รับใบอนุญาตและผู้จัดการ ๑ - - ๑ - ๔๘ ๔ ผู้รับใบอนุญาตและผู้อานวยการ ผู้จัดการและผู้อานวยการ ผู้รับใบอนุญาต
  • 13. 13 ผู้จัดการ ผู้อานวยการ ๑ - - - ๑ ๖๒ ๓๒ รองผู้อานวยการ - ๒ - ๒ - ๔๓ ๑๐ ครู (บรรจุ) ๕ ๙ ๑ ๙ ครูพิเศษ/ครูผู้ช่วย (ไม่บรรจุ) ครูต่างประเทศ - - - - - - - พี่เลี้ยง - ๑ ๑ - - ๓๐ ๔ บุคลากรทางการศึกษา - - - - - - - นักการภารโรง - ๓ - - - ๕๐ ๒๐ คนขับรถ - - - - - - - ยามรักษาความปลอดภัย ๒ - ๒ - - ๔๐ ๓ จานวนครูที่สอนวิชาตรงเอก ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๒ จานวนครูที่สอนตรงความถนัด ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๕๗ สาขาที่ขาดแคลนครู ❍ ภาษาไทย ๑ คน❍ คณิตศาสตร์ - คน ❍ วิทยาศาสตร์ ๑ คน ❍สังคมศึกษา ๑ คน ❍ สุขศึกษา - คน ❍ ศิลปศึกษา - คน ❍ การอาชีพฯ - คน ❍ ภาษาต่างประเทศ ๑ คน ❍ คอมพิวเตอร์ ๑ คน ๕. ข้อมูลอาคารสถานที่ อาคารเรียนจานวน ๓ หลัง อาคารประกอบจานวน - หลัง ส้วม ๒๐ หลัง สระว่ายน้า - สระ สนามเด็กเล่น ๑ สนาม สนามฟุตบอล - สนาม สนามบาสเก็ตบอล - สนาม สนามเทนนิส - สนาม ๖. ข้อมูลงบประมาณ งบประมาณ (รับ-จ่าย) รายรับ บาท รายจ่าย บาท เงินงบประมาณ(เงินอุดหนุนรายหัว) ๒๗๐๙๕๓๒.๑๒ งบดาเนินการ/เงินเดือน-ค่าจ้าง ๑,๘๒๑,๗๔๖.๐๐ เงินนอกงบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐.๐๐ งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๑๙๑,๒๔๔.๐๐ รวมรายรับ ๒,๙๐๙,๕๓๒.๑๒ รวมรายจ่าย ๒,๐๑๒,๙๙๐ งบดาเนินการ/เงินเดือน เงินค่าจ้าง คิดเป็นร้อยละ ๖๒ ของรายรับ งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๖.๕๗ ของรายรับ ๗. ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๗.๑ อาชีพหลักของชุมชน คือ ❍ รับราชการ ❍ ค้าขาย ❍ เกษตรกร ❍ รับจ้าง ❍ ไม่มีอาชีพ ❍ อื่น ๆ (ระบุ)……………….. ๗.๒ ศาสนาที่ชุมชนนับถือ คือ ❍พุทธ ❍คริสต์ ❍อิสลาม ❍ฮินดู ❍ซิกข์ ❍อื่น ๆ……………………….. ๗.๓ อาชีพหลักของผู้ปกครองส่วนใหญ่ คือ ❍ รับราชการ ❍ ค้าขาย ❍ เกษตรกร ❍ รับจ้าง ❍ ไม่มีอาชีพ ❍ อื่น ๆ (ระบุ)……………….. ๗.๔ ศาสนาที่ผู้ปกครองส่วนใหญ่นับถือ คือ
  • 14. 14 ❍พุทธ ❍คริสต์ ❍อิสลาม ❍ฮินดู ❍ซิกข์ ❍อื่น ๆ……………………….. ๗.๕ รายได้เฉลี่ยของผู้ปกครองต่อครอบครัว ……………………………บาทต่อปี ๗.๖ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ........ ๘. โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน ๘.๑ โอกาส /จุดแข็ง (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้) o ตั้งอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและเป็นประโยชน์ เช่น แหล่งโบราณสถาน/โบราณวัตถุ สถานที่ท่องเที่ยว o ตั้งอยู่ในเมือง อยู่ใกล้สถานที่ราชการ/โรงพยาบาล/หน่วยงานอื่น ๆ o ตั้งอยู่ในเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่น/ใกล้ตลาด/แหล่งชุมชน/ใกล้ห้างสรรพสินค้า o ปลอดภัยต่อยาเสพติด/แหล่งเริงรมย์/แหล่งการพนัน มอมเมาเยาวชน o สภาพแวดล้อมของโรงเรียนเหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ o สภาพแวดล้อมดี/ปลอดโปร่ง/ไม่แออัด/บรรยากาศร่มรื่น o ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน ผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น o ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียน/มีสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน o มีวิทยากรในท้องถิ่น/ผู้นาในท้องถิ่นที่มีความรู้ o ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อบริการชุมชนด้านสุขภาพ/กีฬา/สวัสดิภาพ o การคมนาคมสะดวก มีรถรับจ้าง/รถประจาทางผ่าน o มีรถรับส่งระหว่างโรงเรียนกับบ้าน o บุคลากรมีความรู้ความสามารถ/เอาใจใส่ ดูแลเด็กเป็นอย่างดี o ส่งเสริมคุณภาพบุคลากรให้มีจรรยาบรรณครู o สนับสนุนด้านการพัฒนาบุคลากร o ผู้ปกครองมีศรัทธา/ทัศนคติ/ความเชื่อมั่น ที่ดีต่อโรงเรียน o ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี o สภาพชุมชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ผู้ปกครองเอาใจใส่ o เน้นจุดเด่นด้านภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส o มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ ๘.๒ ข้อจากัด/จุดอ่อน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ และเพิ่มเติมได้) o ตั้งอยู่ในชุมชนที่มีโรงเรียนเอกชน/โรงเรียนเทศบาล/โรงเรียนรัฐบาล หลายโรง o โรงเรียนอยู่ใกล้แหล่งอบายมุข/แหล่งมอมเมาเยาวชน o ที่พักอาศัยของผู้เรียนห่างไกลจากโรงเรียน o อยู่ในพื้นที่ห่างไกลจากความเจริญ/อาเภอ/แหล่งชุมชน o ทางเข้าโรงเรียนคับแคบทาให้การสัญจรติดขัด o สถานที่บริเวณโรงเรียนคับแคบ เช่น พื้นที่การออกกาลังกาย พื้นที่ทากิจกรรม สนาม o ไม่มีห้องประชุมที่รองรับสาหรับคนจานวนมาก o ผู้เรียนมีทักษะการคิด/ตั้งคาถาม/แสวงหาความรู้ น้อย o งบประมาณมีไม่เพียงพอ o จานวนผู้เรียนลดลง o ไม่สามารถขยายการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้ o โรงเรียนมีขนาดเล็กจึงขาดรายได้นามาพัฒนา o อาคารไม่ได้รับการปรับปรุง o ขาดแคลนสื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ที่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าของผู้เรียน o ขาดแคลนบุคลากร/ครู/วุฒิทางการศึกษา o ครูมีภาระงานอื่นนอกจากการสอนมาก o ครูไม่ทันเทคโนโลยี o มีการเปลี่ยน/โยกย้ายผู้บริหารบ่อย
  • 15. 15 o โรงเรียนไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแลความเรียบร้อย/อานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมให้กับชุมชน o ขาดการนิเทศติดตามจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง o ขาดการรับข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานราชการ o การทากิจกรรมของโรงเรียนขึ้นอยู่กับวันหยุดของผู้ปกครอง o ขาดความร่วมมือจากชุมชนและผู้ปกครอง o ผู้ปกครองไม่เข้าใจหลักสูตรและการจัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อม o ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีฐานะยากจน /รายได้น้อยการบริหารจัดการไม่คล่องตัว o ผู้ปกครองเลือกโรงเรียนที่เปิดสอนหลักสูตร EP. o ไม่มีรถรับ-ส่งผู้เรียน o ครอบครัวแตกแยกมีผลกระทบด้านสุขนิสัย คุณธรรม จริยธรรม o ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ากว่าระดับปริญญาตรี ๙. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ โรงเรียนมะนะศึกษา จัดสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยได้ร่วมกัน จัดสัดส่วนของเวลาเรียน : สาระการเรียนรู้ ในแต่ละกลุ่มสาระ สาระเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังแสดงใน ตารางต่อไปนี้ เวลาเรียน
  • 16. 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้ / ระดับประถมศึกษา กิจกรรม ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ๑. สาระการเรียนรู้พื้นฐานตามหลักสูตร ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรียนสาระพื้นฐาน ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๒. สาระเพิ่มเติม ภาษาไทย ป.๑ – ป. ๓ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ป. ๔ – ป.๖ รวมเวลาเรียนสาระเพิ่มเติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ลูกเสือ – เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ชุมนุมทางวิชาการ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ อบรมคุณธรรมจริยธรรม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลาเรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรียนตลอดปี ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑๐. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑) ห้องสมุดมีขนาด ๔๓.๑๒ ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุด ๒,๖๙๒ เล่ม การสืบค้นหนังสือและ การยืม-คืน ใช้ระบบ บัตรการยืม การส่งจานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๔๕ คน ต่อ วันคิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕ ของนักเรียนทั้งหมด ๒) ห้องปฏิบัติการมีทั้งหมด ห้อง ได้แก่ ห้องคอมพิวเตอร์ ๑ ห้อง ห้องวิทยาศาสตร์ - ห้อง ห้องปฏิบัติการทางภาษาห้อง - ห้อง ศิลปะ - ห้อง ห้องนาฏศิลป์/ ดนตรี ๑ ห้อง ห้องพยาบาล ๑ ห้อง ห้องศาสนสัมพันธ์ ๑ ห้อง ห้องแนะแนว – ห้อง ห้องพละ - ห้อง ห้องลูกเสือ -ห้อง ห้องสื่อการเรียนการสอน – ห้อง
  • 17. 17 ห้องสันทนาการ - ห้อง เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมใช้งาน มีทั้งหมด ๒๒เครื่อง คอมพิวเตอร์ จานวน (เครื่อง) 1. ใช้ในการเรียนการสอน ๒๒ 2. ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้ ๑ 3. ใช้ในการบริหาร ๑ จานวนนักเรียนที่สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๓๕ คน ต่อวัน คิด เป็นร้อยละ ๙.๗๒ ของนักเรียนทั้งหมด ๔) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน o สวนหย่อม/สวนสุขภาพ o สวนสมุนไพร o สวนเกษตร o สวนวรรณคดี o เรือนเพาะชา o สนามเด็กเล่น o ลานกิจกรรม o ป้ายนิเทศ/บอร์ด o มุมหนังสือ o โรงอาหาร o สระว่ายน้า o สหกรณ์ภายในโรงเรียน ๕) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้) แหล่งเรียนรู้ภายนอก o โบสถ์/วัด/มัสยิด /โบราณสถาน/โบราณวัตถุ/พิพิธภัณฑ์ o สถานที่ท่องเที่ยวธรรมชาติ/สวนสาธารณะ/สวนสัตว์/อุทยาน o สถานที่ราชการ/โรงพยาบาล/ไปรษณีย์/สถานีตารวจ/เทศบาล o สถานศึกษา/มหาวิทยาลัย/โรงเรียน/ราชภัฎ/เทคโนโลยีราชมงคล o ห้องสมุด/ท้องฟ้าจาลอง/เมืองจาลอง o ธนาคาร/โรงแรม/ห้างสรรพสินค้า/ตลาด/โรงงาน o พื้นที่เพาะปลูก/ไร่/สวน o หัตถกรรมพื้นบ้าน/สินค้าพื้นเมือง o ค่ายลูกเสือ
  • 18. 18 ๖) ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรียน ในปีการศึกษา ที่รายงาน ๖.๑ ชื่อ-สกุล นายพิต ล้วนนคร ให้ความรู้เรื่อง การทาไม้กวาดทางมะพร้าว สถิติการให้ความรู้ ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๒ ชื่อ-สกุล นายสนัด อังคณิต ให้ความรู้เรื่อง การฟ้อนราพื้นบ้าน สถิติการให้ความรู้ใน โรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๓ ชื่อ-สกุล นายพินิจ ชินไธสง ให้ความรู้เรื่อง ดนตรีไทย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๔ ชื่อ-สกุล พระครูพินิจสมณวัตร ให้ความรู้เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม สถิติการให้ความรู้ใน โรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓-๔ ครั้ง/ปี สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑๓๑ ครั้ง/ปี ปราชญ์ชาวบ้าน/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ ผู้ทรงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู/ ผู้เรียน ที่ ประเภทความรู้ จานวนครั้ง 1. การประกอบวิชาชีพ ๙ 2. การเกษตร ๒ 3. คหกรรม - 4. หัตถกรรม ๕ 5. ศิลปะ/ดนตรี ๓๐ 6. กีฬา ๑๐ 7. วัฒนธรรม/จารีต-ประเพณี ๑๑ 8. ศาสนา/คุณธรรม จริยธรรม/คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓๒ 9. ความปลอดภัย/อุบัติเหตุ/กฎหมาย/ระเบียบวินัย ๕
  • 19. 19 10. สุขภาพ/การแพทย์/สุขอนามัย ๑๕ 11. สิ่งแวดล้อม/ทรัพยากร - 12. การจัดการเรียนการสอน/หลักสูตร/การประเมิน ๑๒ ๑๑. ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา ๑๑.๑ ผลงานดีเด่น ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล สถานศึกษา มีพัฒนาการของผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) รับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน ผู้บริหาร(ระบุชื่อ) ๑. นายบาเหน็จ ป้องปัด ๒. นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ ๓. นางสุรีย์รัตน์ กิ่งจันทร์ ๑.“ผู้บริหารโรงเรียนที่ดาเนิน โครงการยอดเยี่ยม”โครงการกากับ ดูแล และนิเทศการเรียนการสอนเพื่อ เสริมสร้างคนดีบาเหน็จณรงค์ รางวัลครูชอล์คทองคา ๒. บุคลากรต้นแบบการปฏิรูป กระบวนการเรียนรู้ รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓ รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓ คุรุสภาอาเภอบาเหน็จณรงค์ สานักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน ครู(ระบุชื่อ) ๑.นายพีระศักดิ์ กิสูงเนิน ๒.นางสาวภัทราวณี โรมบรรณ รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓ รางวัล OPEC Award ๒๐๑๓ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน นักเรียน(ระบุชื่อ) ๑. เด็กหญิงนิยดา ฝึกดอนวัง ๒.เด็กหญิงปาณิศา บารุงสงฆ์ ๓.เด็กหญิงเปี่ยมสุข ลือฤทธิกุล ๔.เด็กหญิงบัณฑิตา สิงห์นอก ๕.เด็กหญิงฐิติรัตน์ ศรีสุวรรณ์ ๖.เด็กชายเมธา ชาระวัน ๗.เด็กหญิงศิรประภา บอกขุนทด ๘.เด็กชายอเนกพงศ์ ธิสงค์ ๙.เด็กหญิงชนิสรา เคลือบขุนทด ๑๐.เด็กชายศิริชัย ประทุมวงศ์ - ร้องเพลงไทยลูกทุ่ง รางวัลเหรียญ ทอง ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี ๒๕๕๕ - ร้องเพลงไทยสากล รางวัลเหรียญ ทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน - กิจกรรมปั้นดินน้ามัน (ปฐมวัย) รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน - กิจกรรมมารยาทไทย รางวัลเหรียญ ทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน - การใช้โปรแกรมนาเสนอ (presentation) รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน
  • 20. 20 ๑๑.เด็กหญิงพรปวีร์ เวียนขุนทด ๑๒.เด็กชายณครินทร์ ปราบนอก ๑๓.เด็กชายณัทธนันท์ สิงห์นอก ๑๔.เด็กหญิงกิตติมา มิตรขุนทด ๑๕.เด็กหญิงณฐิตา อาบสุวรรณ์ ๑๖.เด็กหญิงณัฐณิชา คานึงผล ๑๗.เด็กหญิงพิยดา สุขจิต ๑๘.เด็กหญิงชัชชญา กริบกระโทก ๑๙.เด็กชายณัฐพงศ์ ปิ่นนาค ๒๐.เด็กชายณัฐวุฒิ กอบธัญกิจ ๒๑.เด็กชายสมนึก โตชมภู ๒๒.เด็กชายนัทธพงษ์ อยู่จัตุรัส ๒๓.เด็กหญิงอชิรญา ศรีหาบัว ๒๔.เด็กหญิงจุฑาทิพย์ เทียวประสงค์ ๒๕.เด็กหญิงณัฐชยา ดารงค์ภูมิ ๒๖.เด็กหญิงสุธิชา งามสูงเนิน ๒๗.เด็กชายสิรภัทร วิลาทัน ๒๘.เด็กชายดนุเดช พาลี ๒๙.เด็กหญิงสุชาดา เพิ่มจัตุรัส ๓๐.เด็กหญิงอาริษา ใจรักษา ๓๑.เด็กหญิงบุศย์น้าเพชร สาราญรมย์ ๓๒.เด็กหญิงอัจฉราวรรณ แตงทิพย์ ๓๓.เด็กชายเกียรติศักดิ์ ประสพเงิน ๓๔.เด็กหญิงธัญญเรศ ขัดเคลือ ๓๕.เด็กหญิงปานรวินทร์ ฉิมวาส - ประติมากรรมลอยตัว รางวัล เหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษา เอกชน - ร้องเพลงพระราชนิพนธ์ รางวัล เหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษา เอกชน - กิจกรรมราวงมาตรฐาน รางวัล เหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษา เอกชน - คัดลายมือ รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน - อ่านออกเสียงและจับใจความ รางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน - ประติมากรรมลอยตัว รางวัล เหรียญเงิน ระดับชาติ สถานศึกษา เอกชน - ร้องเพลงสากล รางวัลเหรียญเงิน ระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน - ตอบปัญหาสุขภาพ รางวัลเหรียญ เงินระดับชาติ สถานศึกษาเอกชน - จัดสวนถาดชื้น รางวัลเหรียญ ทองแดงระดับชาติ สถานศึกษา เอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน (รางวัลให้ใส่ดังนี้ระดับเขตพื้นที่ใส่ลาดับที่ ๑ สูงกว่าระดับเขตใส่ระดับ ๑, ๒และ ๓ หากเป็นรายการเดียวกัน ให้ใส่รางวัลสูงสุดเท่านั้น)
  • 21. 21 ๑๑.๒ งาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ประสบผลสาเร็จ ที่ ชื่อ งาน/โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย วิธีดาเนินการ (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ (จานวน/ร้อยละ) ๑. ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ๑. เพื่อพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาให้เหมาะสม กับผู้เรียนและท้องถิ่น ๒. เพื่อส่งเสริมให้ครูจัดทา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ตอบสนองความถนัดและ ความสนใจของผู้เรียนและ สามารถพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ ๑.จัดทาโครงการ ๒. ประชุมชี้แจงโครงการ ๓. อนุมัตฺโครงการ ๔. ดาเนินงานตามโครงการ -แต่งตั้งคณะทางาน -วิเคราะห์เอกสารหลักสูตร -พัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หลักสูตร -จัดทาหลักสูตร -จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ แผนการจัดการเรียนรู้ -จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม แผน นิเทศ ติดตาม ประเมินผล สรุปผลการดาเนินงาน ๑. โรงเรียนมีหลักสูตรที่ เหมาะสมกับผู้เรียน ๒. ครูร้อยละ ๘๐ จัดทาแผนการ จัดการเรียนรู้ ๓. ครูร้อยละ ๘๐ มีการพัฒนา นวัตกรรมและสื่อที่เอื้อต่อการ เรียนการสอน ๔. โรงเรียนมีการนเทศ ติดตาม การเรียนการสอนและครูนาผลไป ปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง สม่าเสมอ ๒. ปรับวิธีการวัดและ ประเมินผล ๑. นักเรียนได้รับการ ส่งเสริม พัฒนาตาม ศักยภาพ ๒. นักเรียนมีคุณภาพชีวิต ที่ดี ดารงตนอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข ๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ ๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ๔. ดาเนินงานตามโครงการ ๕. สรุป ประเมินผล รายงาน ๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น ๒. พัฒนารูปแบบการวัด ประเมินผลรูปแบบต่าง ๆให้เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ๓. ส่งเสริมการอ่าน การเรียน การสอนภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ ๑. เพื่อให้เด็กอ่านและ เขียนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ได้คล่อง ๒. เพื่อให้เด็กได้พัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ ๑. จัดทาโครงการ ๒. ประชุมชี้แจงโครงการ ๓. อนุมัติโครงการ ๔. ดาเนินงานตามโครงการจัดให้ครู ต่างชาติมาสอนในโรงเรียน ๕. จัดทาแผนการสอน ๖. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม แผน ฯ นิเทศติดตาม สรุปผล ๑. เด็กร้อยละ ๘๐ได้รับการ พัฒนาการเขียนการอ่าน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ในช่วง ปิดภาคเรียนฤดูร้อน ๒. นักเรียนร้อยละ ๙๐ อ่าน คล่อง เขียนคล่อง ๔. สัมมนาการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ๑. โรงเรียนสามารถ ดาเนินงานตามมาตรฐาน การศึกษา ๒. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วน ร่วมในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ๓. โรงเรียนมีความพร้อม ในการรับการปรเมิน ภายนอกจาก สมศ. ๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ ๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ๕. ดาเนินงานตามโครงการ ๖. สรุป ประเมินผล รายงาน ๑. โรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่องเป็นแบบอย่างได้ ๕. มหกรรมแข่งขัน ศิลปหัตถกรรม ดนตรี กีฬา วิชาการ ๑. นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ตรงโดยการ เรียนรู้จากการแข่งขัน ๒. ครูมีโอกาสในการ ๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ ๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่ ๑. นักเรียนเป็นตัวแทนเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๓ ไปแข่งขันมหกรรม วิชาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 22. 22 พัฒนาศักยภาพ การเรียน การสอน โดยใช้ผลการ แข่งขันส่งเสริมผู้เรียนเต็ม ศักยภาพ เกี่ยวข้อง ๕. ดาเนินงานตามโครงการ ๖. สรุป ประเมินผล รายงานรางวัลที่ ได้รับ ที่จังหวัดชัยภูมิ ปี ๒๕๕๕ ได้รับ รางวัลเหรียญทอง นักร้องลูกทุ่ง หญิง ๖. ส่งเสริมและพัฒนาการจัด การศึกษาปฐมวัยให้ผู้เรียนมี พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา เหมาะสมกับวัย ๑. เพื่อพัฒนาเด็กกลุ่มอายุ ๔ – ๕ ปี ให้มีความพร้อม ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ ๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ๕. ศึกษาดูงานอนุบาลต้นแบบ ๖. ดาเนินงานตามโครงการ ๗. สรุป ประเมินผล รายงานผล ๑. ครูพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่ม สมรรถนะการจัดประสบการณ์ให้ เด็กปฐมวัย ๒. เด็กปฐมวัย ร้อยละ ๑๐๐ มี การพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญาเหมาะสมกับวัย ๗. พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ (ห้อง คอมพิวเตอร์) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ๒. เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ สรุปงาน / ความรู้ที่ได้จากการศึกษา แหล่งการเรียนรู้ ๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ ๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ๔. ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ๕. ดาเนินโครงการ ๖. สรุป ประเมินผล รายงาน ๑.โรงเรียนมีแหล่งการเรียนรู้ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ จานวน ๒๒ เครื่อง ๒. นักเรียนร้อยละ ๙๕ ศึกษา แหล่งการเรียนรู้ สามารถว เคราะห์ สรุป งานจากการเรียนรู้ ได้ ๑๒. ผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีที่ผ่านมา ๑๒.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย * ให้บันทึกระดับคุณภาพ เช่น พอใช้ ดี ....ตามผลประเมิน มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม ด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย √ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ √ มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม √ มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา √ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
  • 23. 23 มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล √ มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล √ มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา √ มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาตาม ที่กาหนดในกฎกระทรวง √ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ √ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาปรัชญา วิสัยทัศน์ และ จุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย √ มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อ ยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น √ มาตรฐานที่สถานศึกษาเพิ่มเติม มาตรฐานที่ ๑๕ ด้านมาตรการส่งเสริม ๑๒.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน * ให้บันทึกระดับคุณภาพ เช่น พอใช้ ดี ....ตามผลประเมิน มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ √ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ √ มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง √ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล √ มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร √ มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต √ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด √
  • 24. 24 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม ประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล √ มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล √ มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน √ มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ √ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง √ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ √ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น √ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม √ มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น √ ๑๓. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกที่ผ่านมา (รอบสองหรือรอบสาม) ๑๓.๑ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง โรงเรียนมะนะศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ .รอบสอง เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๒ ถึง ๒๑ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียนซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้ ๑๓.๑.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ผลการประเมิน ผลประเมินอิง สถานศึกษา ค่าเฉลี่ย ผลการ รับรอง มาตรฐาน คุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับ คุณภาพ คะแนน ระดับ คุณภาพ ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓.๔๑ ดี ๓ ดี ๓.๒๑ ดี มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ๓.๔๔ ดี ๓ ดี ๓.๒๒ ดี มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีความสนใจกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี และการ เคลื่อนไหว ๓.๔๑ ดี ๓ ดี ๓.๒๑ ดี มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา มี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๓.๔๔ ดี ๓ ดี ๓.๒๒ ดี
  • 25. 25 มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ผลการประเมิน ผลประเมินอิง สถานศึกษา ค่าเฉลี่ย ผลการ รับรอง มาตรฐาน คุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับ คุณภาพ คะแนน ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุกด้าน ๓.๔๒ ดี ๓ ดี ๓.๒๑ ดี มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนสนใจใฝ่รู้ รักการอ่านและพัฒนาตนเอง ๓.๓๔ ดี ๓ ดี ๓.๑๗ ดี มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนเล่น/ทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ และชื่นชมใน ผลงานของตนเอง ๓.๒๗ ดี ๒ พอใช้ ๒.๖๔ พอใช้ ด้านครู มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ / ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่ รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ ๓.๖๐ ดีมาก ๓ ดี ๓.๓๐ ดี มาตรฐานที่ ๙ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๓.๐๐ ดี ๓ ดี ๓.๐๐ ดี ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ ๑๐ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหาร จัดการ ๓.๖๔ ดีมาก ๓ ดี ๓.๓๒ ดี มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้าง และบริหารงาน อย่างเป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา ๒.๖๑ พอใช้ ๑ ปรับปรุง ๑.๘๑ พอใช้ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๓.๑๓ ดี ๓ ดี ๓.๐๗ ดี มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๓.๑๐ ดี ๓ ดี ๓.๐๕ ดี มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับ ชุมชนในการพัฒนาการศึกษา ๒.๘๗ ดี ๓ ดี ๒.๙๙ ดี โรงเรียนมีผลการประเมินระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพ ดี โดยมีค่าเฉลี่ย ๓.๓๐ ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง กรณีที่ไม่ได้รับการรับรอง เนื่องจาก ๑๓.๑.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ผลการประเมิน ผลประเมินอิงสถานศึกษา ค่าเฉลี่ย ผลการ รับรอง มาตรฐาน คุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับ คุณภาพ คะแนน ระดับคุณภาพ ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓.๑๗ ดี ๓ ดี ๓.๐๙ ดี มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ๓.๓๕ ดี ๓ ดี ๓.๑๘ ดี มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา ๓.๐๘ ดี ๓ ดี ๓.๐๔ ดี มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มี วิจารณญาณ คิดแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิด ไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ ๒.๙๗ ดี ๓ ดี ๒.๙๙ ดี มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ๒.๘๙ ดี ๓ ดี ๒.๙๕ ดี มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการ เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๓.๐๐ ดี ๓ ดี ๓.๐๐ ดี มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๓.๑๓ ดี ๓ ดี ๓.๐๗ ดี ด้านครู มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ / ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่ รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ ๓.๖๔ ดีมาก ๓ ดี ๓.๓๒ ดี