SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
ใบความรู้ 1
เรื่อง วิชาฟิสิกส์ ปริมาณและหน่วยทางฟิสิกส์
1. ความหมายของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถึง การศึกษาหาความจริงเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
รอบๆตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต อย่างมีขั้นตอนและระเบียบแบบแผน วิทยาศาสตร์แบ่งออกได้ดังนี้
1. วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ( pure science ) หรือ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ( natural science )
เป็นการศึกษาหาความจริงใหม่ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เพื่อนาไปสู่กฎเกณฑ์และทฤษฎีต่างๆ
ทางวิทยาศาสตร์ เช่น กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎของโอห์ม ทฤษฎีสัมพัทธภาพของของไอน์สไตน์
ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ เป็นต้น วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์แบ่งออกเป็น 2 สาขาคือ
ก. วิทยาศาสตร์กายภาพ ( physical science ) ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น
ฟิสิกส์ เคมี ดาราศาสตร์ ธรณีวิทยา เป็นต้น
ข. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ( biological science ) ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น
พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ เป็นต้น
2. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ( applied science ) เป็นการนาความรู้จากกฎเกณฑ์หรือ
ทฤษฎีของวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ มาประยุกต์เป็นหลักการทางเทคโนโลยี เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่
สังคม เช่น วิศวกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นต้น
2. การค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
การค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นการค้นคว้าหาความ
จริงจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ ซึ่งสามารถทาได้ 3 แนวทางคือ
1. จากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ
2. จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ
3. จากการสร้างแบบจาลอง ( model ) ทางความคิด
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
วิทยาศาสตร์ประยุกต์
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
วิทยาศาสตร์กายภาพ
พฤกษศาสตร์
สัตวศาสตร์
อื่น ๆ
ฟิสิกส์
เคมี
อุตุนิยมวิทยา
ธรณีวิทยา
อื่น ๆแพทยศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
อื่น ๆ
สถาปัตยกรรมศาสตร์
3. ฟิสิกส์
เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ทาได้โดยการ
สังเกต การทดลอง และการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปผลเป็นทฤษฎี หลักหรือกฎ ความรู้เหล่านี้
สามารถนาไปใช้อธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติ หรือทานายสิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและความรู้นี้
สามารถนาไปใช้เป็นพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติม และพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์
ความสาคัญของการศึกษาทางด้านฟิสิกส์ คือข้อมูลที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงกฎและทฤษฎีที่
มีอยู่เดิม ข้อมูลที่ได้นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ( qualitative data ) เป็นข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข ได้จากการสังเกต
ตามขอบเขตของการรับรู้ เช่น รูปร่าง ลักษณะ กลิ่น สี รส เป็นต้น
ข้อมูลเชิงปริมาณ ( quantitative data ) เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข ได้จากการวัดปริมาณ
ต่างๆโดยใช้เครื่องมือวัดและวิธีการวัดที่ถูกต้อง เช่น มวล ความยาว เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น
4. เทคโนโลยี
เป็นวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ ในการสร้าง การผลิต หรือการใช้อุปกรณ์ เพื่อก่อให้เกิด
ประโยชน์กับมนุษย์โดยตรง
5. ปริมาณกายภาพ
ปริมาณกายภาพ ( physical quantity ) เป็นปริมาณทางฟิสิกส์ที่ได้จากข้อมูลเชิงปริมาณ
เช่น มวล แรง ความยาว เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น ปริมาณกายภาพแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. ปริมาณฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ
ดังนี้
ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
ความยาว เมตร m
มวล กิโลกรัม kg
เวลา วินาที s
กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A
อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K
ปริมาณสาร โมล mol
ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา cd
2. ปริมาณอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้น
ไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ปริมาณอนุพัทธ์ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
เทียบเป็นหน่วยฐาน
และอนุพัทธ์อื่น
ความเร็ว เมตรต่อวินาที m.s-1
1 m . s =
s1
m1
ความเร่ง เมตรต่อวินาที2
m .s-2
1 m . s2
=
s1x1s
m1
แรง นิวตัน N 1 N = 1 kg. m .s2
งาน พลังงาน จูล J 1 J = 1 N.m
กาลัง วัตต์ W 1 W = 1 J .s
ความดัน พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N.m2
ความถี่ เฮิรตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1
6. ระบบหน่วยระหว่างชาติ
ในสมัยก่อนหน่วยที่ใช้สาหรับวัดปริมาณต่างๆ มีหลายระบบ เช่น ระบบอังกฤษ ระบบ
เมตริกและระบบของไทย ทาให้ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นปัจจุบันหลายๆประเทศ รวมทั้ง
ประเทศไทยด้วยได้ใช้หน่วยสากลที่เรียกว่า ระบบหน่วยระหว่างชาติ ( The Internation System
of Unit ) เรียกย่อว่า ระบบเอสไอ ( SI Units ) ซึ่งประกอบด้วยหน่วยฐาน และหน่วยอนุพัทธ์
ดังนี้
1. หน่วยฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ
ดังนี้
ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
ความยาว เมตร m
มวล กิโลกรัม kg
เวลา วินาที s
กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A
อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K
ปริมาณสาร โมล mol
ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา cd
2. หน่วยอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้น
ไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ปริมาณอนุพัทธ์ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
เทียบเป็นหน่วยฐาน
และอนุพัทธ์อื่น
ความเร็ว เมตรต่อวินาที m.s-1
1 m . s =
s1
m1
ความเร่ง เมตรต่อวินาที2
m .s-2
1 m . s-2
=
s1x1s
m1
แรง นิวตัน N 1 N = 1 kg. m .s2
งาน พลังงาน จูล J 1 J = 1 N.m
กาลัง วัตต์ W 1 W = 1 J .s
ความดัน พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N . m2
ความถี่ เฮิรตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1
7. การบันทึกปริมาณที่มีค่ามากหรือน้อย
ผลที่ได้จากการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์ บางครั้งมีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า 1 มากๆทา
ให้เกิดความยุ่งยากในการนาไปใช้งาน ดังนั้น การบันทึกปริมาณดังกล่าว เพื่อให้เกิดความสะดวกใน
การนาไปใช้สามารถทาได้ 2 วิธี คือ
7.1 เขียนให้อยู่ในรูปของจานวนเต็มหนึ่งตาแหน่ง ตามด้วยเลขทศนิยม แล้วคูณด้วย
เลขสิบยกกาลังบวกหรือลบ ดังนี้
ตัวอย่าง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง
ก. 360,000,000 เมตร ข. 6,539,000 กิโลเมตร
ค. 0.00048 กิโลกรัม ง. 0.00127 วินาที
วิธีทา ก. 360,000,000 เมตร = 360,000,000
= 3.6x108
เมตร
ข. 6,539,000 กิโลเมตร = 7,539,000
= 6.5x106
กิโลเมตร
ค. 0.00038 กิโลกรัม = 0.00038
= 3.8x10– 4
กิโลกรัม
ง. 0.00117 วินาที = 0.00117
= 1.17x10- 5
วินาที
0.000 x10  n
จานวนเต็ม 1 ตาแหน่ง เท่ากับจานวนตัวเลขหลังจุด
หรือตัวเลขระหว่างจุด
7.2 เขียนโดยใช้คา “อุปสรรค ( prefix)”
คาอุปสรรค คือ คาที่ใช้เติมหน้าหน่วย SI เพื่อทาให้หน่วย SI ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง ดัง
แสดงในตาราง
คาอุปสรรค สัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ คาอุปสรรค สัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ
เทระ T 1012
พิโค P 10-12
จิกะ G 10 9
นาโน n 10 - 9
เมกะ M 106
ไมโคร  10– 6
กิโล k 103
มิลลิ m 10– 3
เฮกโต h 102
เซนติ c 10– 2
เดคา da 10 เดซิ d 10- 1
ตัวอย่าง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ โดยใช้คาอุปสรรค
ก. ความยาว 12 กิโลเมตร ให้มีหน่วยเป็น เมตร
ข. มวล 0.00035 เมกะกรัม ให้มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม
วิธีทา
ก. เปลี่ยน กิโล  เมตร ข. เปลี่ยน เมกะ  กิโล  กรัม  มิลลิ
= 12 x 103
= 0.00035 x 103
x 103
x 103
= 1.2 x 104
เมตร = 0.00035 x 109
= ( 3.5 x 10– 4
) x 109
= 3.5 x 105
มิลลิกรัม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
yasotornrit
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
Aomiko Wipaporn
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
krupornpana55
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
Jariya Jaiyot
 

Mais procurados (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 

Destaque

เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
Apinya Phuadsing
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
Apinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Apinya Phuadsing
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
Tor Jt
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เกวลิน แก้ววิจิตร
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
Namchai Chewawiwat
 

Destaque (20)

20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคตเทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 01

ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
Montaya Pratum
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
Montaya Pratum
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
witthawat silad
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
kruannchem
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 01 (20)

ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
สรุุปเคมี
สรุุปเคมีสรุุปเคมี
สรุุปเคมี
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 

Mais de Apinya Phuadsing

ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
Apinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
Apinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
Apinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
Apinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
Apinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
Apinya Phuadsing
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
Apinya Phuadsing
 

Mais de Apinya Phuadsing (20)

แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
Img2
Img2Img2
Img2
 
Img1
Img1Img1
Img1
 
Img
ImgImg
Img
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 

ใบความรู้ที่ 01

  • 1. ใบความรู้ 1 เรื่อง วิชาฟิสิกส์ ปริมาณและหน่วยทางฟิสิกส์ 1. ความหมายของวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถึง การศึกษาหาความจริงเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ รอบๆตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต อย่างมีขั้นตอนและระเบียบแบบแผน วิทยาศาสตร์แบ่งออกได้ดังนี้ 1. วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ( pure science ) หรือ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ( natural science ) เป็นการศึกษาหาความจริงใหม่ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เพื่อนาไปสู่กฎเกณฑ์และทฤษฎีต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ เช่น กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎของโอห์ม ทฤษฎีสัมพัทธภาพของของไอน์สไตน์ ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ เป็นต้น วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์แบ่งออกเป็น 2 สาขาคือ ก. วิทยาศาสตร์กายภาพ ( physical science ) ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ฟิสิกส์ เคมี ดาราศาสตร์ ธรณีวิทยา เป็นต้น ข. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ( biological science ) ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ เป็นต้น 2. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ( applied science ) เป็นการนาความรู้จากกฎเกณฑ์หรือ ทฤษฎีของวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ มาประยุกต์เป็นหลักการทางเทคโนโลยี เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ สังคม เช่น วิศวกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นต้น 2. การค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นการค้นคว้าหาความ จริงจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ ซึ่งสามารถทาได้ 3 แนวทางคือ 1. จากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ 2. จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ 3. จากการสร้างแบบจาลอง ( model ) ทางความคิด วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ อื่น ๆ ฟิสิกส์ เคมี อุตุนิยมวิทยา ธรณีวิทยา อื่น ๆแพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อื่น ๆ สถาปัตยกรรมศาสตร์
  • 2. 3. ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ทาได้โดยการ สังเกต การทดลอง และการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปผลเป็นทฤษฎี หลักหรือกฎ ความรู้เหล่านี้ สามารถนาไปใช้อธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติ หรือทานายสิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและความรู้นี้ สามารถนาไปใช้เป็นพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติม และพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ ความสาคัญของการศึกษาทางด้านฟิสิกส์ คือข้อมูลที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงกฎและทฤษฎีที่ มีอยู่เดิม ข้อมูลที่ได้นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ( qualitative data ) เป็นข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข ได้จากการสังเกต ตามขอบเขตของการรับรู้ เช่น รูปร่าง ลักษณะ กลิ่น สี รส เป็นต้น ข้อมูลเชิงปริมาณ ( quantitative data ) เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข ได้จากการวัดปริมาณ ต่างๆโดยใช้เครื่องมือวัดและวิธีการวัดที่ถูกต้อง เช่น มวล ความยาว เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น 4. เทคโนโลยี เป็นวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ ในการสร้าง การผลิต หรือการใช้อุปกรณ์ เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์กับมนุษย์โดยตรง 5. ปริมาณกายภาพ ปริมาณกายภาพ ( physical quantity ) เป็นปริมาณทางฟิสิกส์ที่ได้จากข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น มวล แรง ความยาว เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น ปริมาณกายภาพแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ปริมาณฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ ดังนี้ ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ความยาว เมตร m มวล กิโลกรัม kg เวลา วินาที s กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K ปริมาณสาร โมล mol ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา cd
  • 3. 2. ปริมาณอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้น ไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ปริมาณอนุพัทธ์ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ เทียบเป็นหน่วยฐาน และอนุพัทธ์อื่น ความเร็ว เมตรต่อวินาที m.s-1 1 m . s = s1 m1 ความเร่ง เมตรต่อวินาที2 m .s-2 1 m . s2 = s1x1s m1 แรง นิวตัน N 1 N = 1 kg. m .s2 งาน พลังงาน จูล J 1 J = 1 N.m กาลัง วัตต์ W 1 W = 1 J .s ความดัน พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N.m2 ความถี่ เฮิรตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1 6. ระบบหน่วยระหว่างชาติ ในสมัยก่อนหน่วยที่ใช้สาหรับวัดปริมาณต่างๆ มีหลายระบบ เช่น ระบบอังกฤษ ระบบ เมตริกและระบบของไทย ทาให้ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นปัจจุบันหลายๆประเทศ รวมทั้ง ประเทศไทยด้วยได้ใช้หน่วยสากลที่เรียกว่า ระบบหน่วยระหว่างชาติ ( The Internation System of Unit ) เรียกย่อว่า ระบบเอสไอ ( SI Units ) ซึ่งประกอบด้วยหน่วยฐาน และหน่วยอนุพัทธ์ ดังนี้ 1. หน่วยฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ ดังนี้ ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ความยาว เมตร m มวล กิโลกรัม kg เวลา วินาที s กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K ปริมาณสาร โมล mol ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา cd
  • 4. 2. หน่วยอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้น ไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ปริมาณอนุพัทธ์ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ เทียบเป็นหน่วยฐาน และอนุพัทธ์อื่น ความเร็ว เมตรต่อวินาที m.s-1 1 m . s = s1 m1 ความเร่ง เมตรต่อวินาที2 m .s-2 1 m . s-2 = s1x1s m1 แรง นิวตัน N 1 N = 1 kg. m .s2 งาน พลังงาน จูล J 1 J = 1 N.m กาลัง วัตต์ W 1 W = 1 J .s ความดัน พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N . m2 ความถี่ เฮิรตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1 7. การบันทึกปริมาณที่มีค่ามากหรือน้อย ผลที่ได้จากการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์ บางครั้งมีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า 1 มากๆทา ให้เกิดความยุ่งยากในการนาไปใช้งาน ดังนั้น การบันทึกปริมาณดังกล่าว เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การนาไปใช้สามารถทาได้ 2 วิธี คือ 7.1 เขียนให้อยู่ในรูปของจานวนเต็มหนึ่งตาแหน่ง ตามด้วยเลขทศนิยม แล้วคูณด้วย เลขสิบยกกาลังบวกหรือลบ ดังนี้ ตัวอย่าง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง ก. 360,000,000 เมตร ข. 6,539,000 กิโลเมตร ค. 0.00048 กิโลกรัม ง. 0.00127 วินาที วิธีทา ก. 360,000,000 เมตร = 360,000,000 = 3.6x108 เมตร ข. 6,539,000 กิโลเมตร = 7,539,000 = 6.5x106 กิโลเมตร ค. 0.00038 กิโลกรัม = 0.00038 = 3.8x10– 4 กิโลกรัม ง. 0.00117 วินาที = 0.00117 = 1.17x10- 5 วินาที 0.000 x10  n จานวนเต็ม 1 ตาแหน่ง เท่ากับจานวนตัวเลขหลังจุด หรือตัวเลขระหว่างจุด
  • 5. 7.2 เขียนโดยใช้คา “อุปสรรค ( prefix)” คาอุปสรรค คือ คาที่ใช้เติมหน้าหน่วย SI เพื่อทาให้หน่วย SI ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง ดัง แสดงในตาราง คาอุปสรรค สัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ คาอุปสรรค สัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ เทระ T 1012 พิโค P 10-12 จิกะ G 10 9 นาโน n 10 - 9 เมกะ M 106 ไมโคร  10– 6 กิโล k 103 มิลลิ m 10– 3 เฮกโต h 102 เซนติ c 10– 2 เดคา da 10 เดซิ d 10- 1 ตัวอย่าง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ โดยใช้คาอุปสรรค ก. ความยาว 12 กิโลเมตร ให้มีหน่วยเป็น เมตร ข. มวล 0.00035 เมกะกรัม ให้มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม วิธีทา ก. เปลี่ยน กิโล  เมตร ข. เปลี่ยน เมกะ  กิโล  กรัม  มิลลิ = 12 x 103 = 0.00035 x 103 x 103 x 103 = 1.2 x 104 เมตร = 0.00035 x 109 = ( 3.5 x 10– 4 ) x 109 = 3.5 x 105 มิลลิกรัม