SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
ผู้จัดทำ
นำงสำวอริสำ ร่วมสุข บธ.บ.4.9 ก
นำงสำวสุดำรัตน์ จ่ำเชย บธ.บ.4.9 ก
นำงสำวสุณิษำ คำภีระ บธ.บ.4.9 ก
นำงสำววรัญญำ บุญประเสริฐ บธ.บ 4.9 ก
นำงสำวปทิตตำ พระไชยนำม บธบ.4.9 ก
นำยณัฐพล อินทะแสง บธบ.4.9 ก
นำยชนน ม่วงเมือง บธบ 4.9 ก
นำยธนกฤต ฤทัยพิชำชำญ บธ.บ.4.9 ก
นำยศตวรรต สวยสม บธ.บ.4.9 ก
นำงสำวพัดชำ สนั่นนำม บธบ.4.9 ข
นำงสำวอังสุมำ คำงำม บธ.บ 4.9 ข
นำงสำวพรพรรณ คงชู บธบ.4.9 ข
นำยศิรำวุฒ รักศรี บธบ.4.9 ข
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด นำเทคโนโลยีเข้ำไปเกี่ยวข้องกับระบบงำน
เรื่อง
กำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ ( Knowledge Management - KM ) คือ กระบวนการ
นาเอาความรู้ที่มีอยู่ มาจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น
การสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยนและใช้ความรู้ เป็นต้น เพื่อให้เกิดประโยชน์
ต่อองค์กร สามารถนามาเผยแพร่หรือนากลับมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเป็น
ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาองค์การให้มีความเจริญก้าวหน้า
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
ผู้นาองค์การมีรูปแบบของการทางานที่ไม่เหมือนกันแต่องค์ประกอบที่
ผู้นาต้องมี คือ วิสัยทัศน์ ความมุ่งมั่นที่จะนาพาองค์การไปสู่เป้าหมาย และ
ความสามารถในการเรียนรู้และการพัฒนาองค์การให้ก้าวหน้า
เครือซิเมนต์ไทย หรือ SCG เป็นองค์กรที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานเกือบ
ศตวรรษเราได้นาเครื่องจักรและรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมากจาก
บริษัทชั้นนาในต่างประเทศ ประกอบกับการที่ SCG ได้ดาเนินกิจการร่วมค้ากับ
ผู้นาในตลาดสินค้าหลายประเภทจึงทาให้พนักงาน SCG ซึมซับเอาความรู้ทาง
เทคโนโลยีการผลิตและการตลาดจากคู่ค้ามาสั่งสมไว้บวกกับประสบการณ์
และความสามารถของวิศวกรSCGที่นาเทคโนโลยีดังกล่าวมาประยุกต์ให้
เหมาะสมกับบริบทของตลาดในประเทศไทย
เนื่องจากระบบการบริหารงานของ SCG เป็นรูปแบบ Decentralization
ดังนั้น การรับรู้ข่าวสารของพนักงานก็ดี การเลือกใช้เครื่องมือการบริหารต่างๆ
ก็ดี จึงมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละธุรกิจ ซึ่งรวมถึงวิธีการและขั้นตอน
การนาระบบ Knowledge Management มาใช้ด้วย แต่บนความแตกต่างนั้นยังมี
จุดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในแต่ละธุรกิจกล่าวคือมีการแต่งตั้งคณะทางาน
ด้าน KM ขึ้นใน SCGซึ่งประกอบด้วยพนักงานระดับผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่เป็น
ประธานโดยที่สมาชิกมาจากตัวแทนผู้ปฏิบัติงานด้าน KM ของแต่ละ
ธุรกิจ โดยคณะทางานนี้จะทาหน้าที่กาหนดนโยบายต่างๆ ด้าน KM ของ
เครือฯ และจัดกิจกรรมหลักที่พนักงาน SCG ทุกคนมีส่วนร่วม
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
KM ปูนซิเมนต์ไทยให้ความสาคัญใน 3 องค์ประกอบใหญ่
(3P) นั่นคือ People, Process และ Platform
• People เป็นการพูดถึงการพัฒนาคน ซึ่งต้องคานึงถึง Personal
Improvement สร้างคนที่รักจะพัฒนาตัวเอง, Knowledge
Responsibility สร้างคนที่ใฝ่รู้ เรียนรู้อยู่เสมอ ไม่หวงความรู้ แบ่งปันไป
ยังคนอื่น, Solution Focus Mindset สร้างคนให้มีวิธีคิดแบบมุ่งการ
แก้ปัญหา
KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
• Process กล่าวถึงกระบวนการที่ต้องมองตั้งแต่การค้นหา
Knowledge Gap ในองค์กร ต้องรู้ว่าความรู้ที่บริษัทต้องการนั้นมีความรู้
อะไรบ้าง เมื่อทราบแล้วก็จะได้วางแผนต่อว่าความรู้ที่ต้องการไปหาจากที่
ใครที่ไหนได้บ้าง หรือหากมีอยู่แล้ว ทาอย่างไรจึงจะแลกเปลี่ยนถ่ายทอด
ความรู้เหล่านั้นไปยังคนอื่นได้ ซึ่งทาให้เกิดการนาไปสู่การปรับปรุง
ผลงาน สร้างความรู้ใหม่ และมีตัวชี้วัดความรู้ และต้องมีการบันทึก
ความรู้ในตัวคนเอาไว้
KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
• Platform การพัฒนาในระยะแรกจึงเป็นต้องสร้างให้เกิด
เป็น Knowledge Based ส่งเสริมให้คนในองค์กรต้องการเรียนรู้ และ
สามารถเข้าไปเรียนรู้ได้เร็ว ความรู้เหล่านี้จะถูกพัฒนาจนมี pattern ที่มี
น้าหนักมากขึ้น ความรู้จะถูกแยกออกมาเป็นความรู้เพื่อการทางานเฉพาะ
เรื่อง เป็นกระบวนการทางานที่มีขั้นตอน ซึ่งได้จาก core process ของการ
ทางานอย่างใด อย่างหนึ่งนั่นเอง เช่น การบริหารค่าจ้าง ความรู้อีกแนว
หนึ่งคือ case study และ lesson learned จาเป็นต้องเก็บรวบรวมเพื่อชุด
ความรู้ให้คนในองค์กรได้เรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ใหม่ต่อไป
บริษัทปูนซีเมนต์ไทย เห็นว่า การจัดการความรู้ คือ การทาอย่างไรที่จะ
กลั่นความรู้ที่มีอยู่ในทุกฟังก์ชั่น ทุกส่วนขององค์กรเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ทา
อย่างไรให้ความรู้อยู่คู่องค์กรแล้วมีการนามาปรับใช้คือ ต้องนาความรู้มาพัฒนา
คน ต้องทาอย่างไร เพื่อให้ดาต้า ที่มีอยู่ เปลี่ยนเป็นอินฟอร์เมชั่น จากอินฟอร์
เมชั่นสู่ความรู้ และเป็นภูมิปัญญาขององค์กรให้ได้ ซึ่งเทคโนโลยีมีบทบาท
สาคัญในการเข้ามาช่วยจัดการความรู้เหล่านี้เป็นหมวดหมู่ ค้นหาได้ง่าย และ
ตอบสนองได้ทันต่อเหตุการณ์ บริษัทจึงพยายามที่จะรวบรวมความรู้จากทุก
หน่วยธุรกิจเข้ามาให้ได้มากที่สุด
KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
การจัดการความรู้ ค่อนข้างกว้าง บริษัทปูนซีเมนต์ไทย ค่อยๆ ทามา 7 ปี
แล้ว เรื่อง Innovation เป็นส่วนหนึ่งของการนาความรู้มาใช้จริงซึ่งทาให้เกิดผล
ลัพธ์ในเชิงพาณิชย์ขึ้นมา ซึ่งเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนว่า การมีระบบจัดการ
ความรู้จะต้องสามารถนามาใช้ได้ในเชิงพาณิชย์ ไม่ใช่มีความรู้แล้วเก็บไว้ใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์ ดังนั้น เมื่อมีความรู้แล้วต้องมีการถ่ายทอด เป็น
การนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคน โดยดึงจากแหล่งความรู้ที่มี โดยไม่ให้
ความรู้ติดอยู่ในตัวบุคคล ที่สาคัญ คือ ต้องแบ่งปัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของ
บริษัทปูนซีเมนต์ไทย คือ รู้แล้วต้องถ่ายทอด โดยเฉพาะกับพนักงานใหม่ซึ่งจะ
ได้รับการอบรมดูแลและปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรหนึ่งเดือนเต็ม พนักงานใหม่
จะได้รับการสอนเรื่อง Good Governance, Ethics ในการดาเนินธุรกิจ
KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
สรุป
• บริษัทเครือซีเมนต์ไทย นาIT มาใช้เพื่อการจัดการความรู้ในแทบทุกขั้นตอน
ของการดาเนินงาน โดยอาศัย Infrastructure และระบบ SCG Computer
Network ที่มีอยู่ในปัจจุบัน จึงสามารถสร้างระบบ Web Based Applications
• ระบบ TLO ที่ได้พัฒนาขึ้นเองได้ถูกใช้เครื่องมือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับความรู้
ที่มีอยู่ของบริษัท เป็นตัวเชื่อมและเป็นแหล่งรวมศักยภาพและความรู้ที่มีอยู่ใน
ตัวบุคคลมาจากการทางานและความรู้จากการแสวงหามาแลกเปลี่ยนระหว่าง
กันข้ามแผนกได้
• สร้าง Action Log และเก็บประวัติข้อมูลในแบบ Downtime Pareto เพื่อให้
ทีมวิศวกรนาข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อการป้ องกันและแก้ไข
ความรู้ทักษะที่ได้จากการทางานแก้ปัญหาต่างๆจะถูกรวบรวมจัดทาเป็น
คู่มือ บทความ ด้วยระบบแนวความคิดห้องสมุด เก็บไว้ในศูนย์ข้อมูล
Techniclal Learning Certer
สรุป
จบกำรนำเสนอ

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Change Attitude Change Life Scg
Change Attitude Change Life ScgChange Attitude Change Life Scg
Change Attitude Change Life Scg
ngumngim
 
อ ตฯป น
อ ตฯป นอ ตฯป น
อ ตฯป น
Preaw Pid
 
Practical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic Planning
Practical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic PlanningPractical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic Planning
Practical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic Planning
Areté Partners
 
Presentation scg by nussara
Presentation scg by nussaraPresentation scg by nussara
Presentation scg by nussara
nussara_june
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
Yaowaluk Chaobanpho
 
أجرك لا شيء
أجرك لا شيءأجرك لا شيء
أجرك لا شيء
Sami Guiba
 
夢の内定者コンテンツ
夢の内定者コンテンツ 夢の内定者コンテンツ
夢の内定者コンテンツ
k-taro
 

Destaque (18)

learning module.ppt present
learning module.ppt presentlearning module.ppt present
learning module.ppt present
 
Change Attitude Change Life Scg
Change Attitude Change Life ScgChange Attitude Change Life Scg
Change Attitude Change Life Scg
 
อ ตฯป น
อ ตฯป นอ ตฯป น
อ ตฯป น
 
SOM KROB KID portfolio 2014
SOM KROB KID portfolio 2014SOM KROB KID portfolio 2014
SOM KROB KID portfolio 2014
 
Practical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic Planning
Practical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic PlanningPractical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic Planning
Practical Guide to TQA/ SEPA/ PMQA Category 2 Strategic Planning
 
Presentation scg by nussara
Presentation scg by nussaraPresentation scg by nussara
Presentation scg by nussara
 
Presentation1
Presentation1  Presentation1
Presentation1
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
 
เถ้าแก่น้อยน้อย
เถ้าแก่น้อยน้อยเถ้าแก่น้อยน้อย
เถ้าแก่น้อยน้อย
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
أجرك لا شيء
أجرك لا شيءأجرك لا شيء
أجرك لا شيء
 
Extracting intelligence from online news sources
Extracting intelligence from online news sourcesExtracting intelligence from online news sources
Extracting intelligence from online news sources
 
K-12 Virtual Schools and Their Research Needs (Part 4 of 4)
K-12 Virtual Schools and Their Research Needs (Part 4 of 4)K-12 Virtual Schools and Their Research Needs (Part 4 of 4)
K-12 Virtual Schools and Their Research Needs (Part 4 of 4)
 
Experimental investigation of performance and
Experimental investigation of performance andExperimental investigation of performance and
Experimental investigation of performance and
 
夢の内定者コンテンツ
夢の内定者コンテンツ 夢の内定者コンテンツ
夢の内定者コンテンツ
 
Serat wirid hidayat jati
Serat wirid hidayat jatiSerat wirid hidayat jati
Serat wirid hidayat jati
 
Performance evaluation of santasi roundabout, kumasighana
Performance evaluation of santasi roundabout, kumasighanaPerformance evaluation of santasi roundabout, kumasighana
Performance evaluation of santasi roundabout, kumasighana
 

Semelhante a ปูนซีเมนต์ไทย

Photo caption sbc3_week4
Photo caption sbc3_week4Photo caption sbc3_week4
Photo caption sbc3_week4
singhabizcourse
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
krupornpana55
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
Intrapan Suwan
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
yana54
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
Anekphongtupan
 

Semelhante a ปูนซีเมนต์ไทย (18)

รูปแบบการบริหารจัดการความรู้ "ชบาแก้วโมเดล"
รูปแบบการบริหารจัดการความรู้ "ชบาแก้วโมเดล"รูปแบบการบริหารจัดการความรู้ "ชบาแก้วโมเดล"
รูปแบบการบริหารจัดการความรู้ "ชบาแก้วโมเดล"
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
องค์กรเสมือน
องค์กรเสมือนองค์กรเสมือน
องค์กรเสมือน
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
Photo caption sbc3_week4
Photo caption sbc3_week4Photo caption sbc3_week4
Photo caption sbc3_week4
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุขกระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
กระบวนการประชาเสวนาเพื่อสร้างสังคมสันติสุข
 

ปูนซีเมนต์ไทย

  • 1. ผู้จัดทำ นำงสำวอริสำ ร่วมสุข บธ.บ.4.9 ก นำงสำวสุดำรัตน์ จ่ำเชย บธ.บ.4.9 ก นำงสำวสุณิษำ คำภีระ บธ.บ.4.9 ก นำงสำววรัญญำ บุญประเสริฐ บธ.บ 4.9 ก นำงสำวปทิตตำ พระไชยนำม บธบ.4.9 ก นำยณัฐพล อินทะแสง บธบ.4.9 ก นำยชนน ม่วงเมือง บธบ 4.9 ก นำยธนกฤต ฤทัยพิชำชำญ บธ.บ.4.9 ก นำยศตวรรต สวยสม บธ.บ.4.9 ก นำงสำวพัดชำ สนั่นนำม บธบ.4.9 ข นำงสำวอังสุมำ คำงำม บธ.บ 4.9 ข นำงสำวพรพรรณ คงชู บธบ.4.9 ข นำยศิรำวุฒ รักศรี บธบ.4.9 ข
  • 2. บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด นำเทคโนโลยีเข้ำไปเกี่ยวข้องกับระบบงำน เรื่อง
  • 3. กำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) การจัดการความรู้ ( Knowledge Management - KM ) คือ กระบวนการ นาเอาความรู้ที่มีอยู่ มาจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยนและใช้ความรู้ เป็นต้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อองค์กร สามารถนามาเผยแพร่หรือนากลับมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเป็น ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาองค์การให้มีความเจริญก้าวหน้า
  • 4. บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน) ผู้นาองค์การมีรูปแบบของการทางานที่ไม่เหมือนกันแต่องค์ประกอบที่ ผู้นาต้องมี คือ วิสัยทัศน์ ความมุ่งมั่นที่จะนาพาองค์การไปสู่เป้าหมาย และ ความสามารถในการเรียนรู้และการพัฒนาองค์การให้ก้าวหน้า เครือซิเมนต์ไทย หรือ SCG เป็นองค์กรที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานเกือบ ศตวรรษเราได้นาเครื่องจักรและรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมากจาก บริษัทชั้นนาในต่างประเทศ ประกอบกับการที่ SCG ได้ดาเนินกิจการร่วมค้ากับ ผู้นาในตลาดสินค้าหลายประเภทจึงทาให้พนักงาน SCG ซึมซับเอาความรู้ทาง เทคโนโลยีการผลิตและการตลาดจากคู่ค้ามาสั่งสมไว้บวกกับประสบการณ์ และความสามารถของวิศวกรSCGที่นาเทคโนโลยีดังกล่าวมาประยุกต์ให้ เหมาะสมกับบริบทของตลาดในประเทศไทย
  • 5. เนื่องจากระบบการบริหารงานของ SCG เป็นรูปแบบ Decentralization ดังนั้น การรับรู้ข่าวสารของพนักงานก็ดี การเลือกใช้เครื่องมือการบริหารต่างๆ ก็ดี จึงมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละธุรกิจ ซึ่งรวมถึงวิธีการและขั้นตอน การนาระบบ Knowledge Management มาใช้ด้วย แต่บนความแตกต่างนั้นยังมี จุดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในแต่ละธุรกิจกล่าวคือมีการแต่งตั้งคณะทางาน ด้าน KM ขึ้นใน SCGซึ่งประกอบด้วยพนักงานระดับผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่เป็น ประธานโดยที่สมาชิกมาจากตัวแทนผู้ปฏิบัติงานด้าน KM ของแต่ละ ธุรกิจ โดยคณะทางานนี้จะทาหน้าที่กาหนดนโยบายต่างๆ ด้าน KM ของ เครือฯ และจัดกิจกรรมหลักที่พนักงาน SCG ทุกคนมีส่วนร่วม บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
  • 6. KM ปูนซิเมนต์ไทยให้ความสาคัญใน 3 องค์ประกอบใหญ่ (3P) นั่นคือ People, Process และ Platform • People เป็นการพูดถึงการพัฒนาคน ซึ่งต้องคานึงถึง Personal Improvement สร้างคนที่รักจะพัฒนาตัวเอง, Knowledge Responsibility สร้างคนที่ใฝ่รู้ เรียนรู้อยู่เสมอ ไม่หวงความรู้ แบ่งปันไป ยังคนอื่น, Solution Focus Mindset สร้างคนให้มีวิธีคิดแบบมุ่งการ แก้ปัญหา KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
  • 7. • Process กล่าวถึงกระบวนการที่ต้องมองตั้งแต่การค้นหา Knowledge Gap ในองค์กร ต้องรู้ว่าความรู้ที่บริษัทต้องการนั้นมีความรู้ อะไรบ้าง เมื่อทราบแล้วก็จะได้วางแผนต่อว่าความรู้ที่ต้องการไปหาจากที่ ใครที่ไหนได้บ้าง หรือหากมีอยู่แล้ว ทาอย่างไรจึงจะแลกเปลี่ยนถ่ายทอด ความรู้เหล่านั้นไปยังคนอื่นได้ ซึ่งทาให้เกิดการนาไปสู่การปรับปรุง ผลงาน สร้างความรู้ใหม่ และมีตัวชี้วัดความรู้ และต้องมีการบันทึก ความรู้ในตัวคนเอาไว้ KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
  • 8. KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน) • Platform การพัฒนาในระยะแรกจึงเป็นต้องสร้างให้เกิด เป็น Knowledge Based ส่งเสริมให้คนในองค์กรต้องการเรียนรู้ และ สามารถเข้าไปเรียนรู้ได้เร็ว ความรู้เหล่านี้จะถูกพัฒนาจนมี pattern ที่มี น้าหนักมากขึ้น ความรู้จะถูกแยกออกมาเป็นความรู้เพื่อการทางานเฉพาะ เรื่อง เป็นกระบวนการทางานที่มีขั้นตอน ซึ่งได้จาก core process ของการ ทางานอย่างใด อย่างหนึ่งนั่นเอง เช่น การบริหารค่าจ้าง ความรู้อีกแนว หนึ่งคือ case study และ lesson learned จาเป็นต้องเก็บรวบรวมเพื่อชุด ความรู้ให้คนในองค์กรได้เรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ใหม่ต่อไป
  • 9. บริษัทปูนซีเมนต์ไทย เห็นว่า การจัดการความรู้ คือ การทาอย่างไรที่จะ กลั่นความรู้ที่มีอยู่ในทุกฟังก์ชั่น ทุกส่วนขององค์กรเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ทา อย่างไรให้ความรู้อยู่คู่องค์กรแล้วมีการนามาปรับใช้คือ ต้องนาความรู้มาพัฒนา คน ต้องทาอย่างไร เพื่อให้ดาต้า ที่มีอยู่ เปลี่ยนเป็นอินฟอร์เมชั่น จากอินฟอร์ เมชั่นสู่ความรู้ และเป็นภูมิปัญญาขององค์กรให้ได้ ซึ่งเทคโนโลยีมีบทบาท สาคัญในการเข้ามาช่วยจัดการความรู้เหล่านี้เป็นหมวดหมู่ ค้นหาได้ง่าย และ ตอบสนองได้ทันต่อเหตุการณ์ บริษัทจึงพยายามที่จะรวบรวมความรู้จากทุก หน่วยธุรกิจเข้ามาให้ได้มากที่สุด KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
  • 10. การจัดการความรู้ ค่อนข้างกว้าง บริษัทปูนซีเมนต์ไทย ค่อยๆ ทามา 7 ปี แล้ว เรื่อง Innovation เป็นส่วนหนึ่งของการนาความรู้มาใช้จริงซึ่งทาให้เกิดผล ลัพธ์ในเชิงพาณิชย์ขึ้นมา ซึ่งเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนว่า การมีระบบจัดการ ความรู้จะต้องสามารถนามาใช้ได้ในเชิงพาณิชย์ ไม่ใช่มีความรู้แล้วเก็บไว้ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์ ดังนั้น เมื่อมีความรู้แล้วต้องมีการถ่ายทอด เป็น การนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคน โดยดึงจากแหล่งความรู้ที่มี โดยไม่ให้ ความรู้ติดอยู่ในตัวบุคคล ที่สาคัญ คือ ต้องแบ่งปัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย คือ รู้แล้วต้องถ่ายทอด โดยเฉพาะกับพนักงานใหม่ซึ่งจะ ได้รับการอบรมดูแลและปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรหนึ่งเดือนเต็ม พนักงานใหม่ จะได้รับการสอนเรื่อง Good Governance, Ethics ในการดาเนินธุรกิจ KM ในบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน)
  • 11. สรุป • บริษัทเครือซีเมนต์ไทย นาIT มาใช้เพื่อการจัดการความรู้ในแทบทุกขั้นตอน ของการดาเนินงาน โดยอาศัย Infrastructure และระบบ SCG Computer Network ที่มีอยู่ในปัจจุบัน จึงสามารถสร้างระบบ Web Based Applications • ระบบ TLO ที่ได้พัฒนาขึ้นเองได้ถูกใช้เครื่องมือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับความรู้ ที่มีอยู่ของบริษัท เป็นตัวเชื่อมและเป็นแหล่งรวมศักยภาพและความรู้ที่มีอยู่ใน ตัวบุคคลมาจากการทางานและความรู้จากการแสวงหามาแลกเปลี่ยนระหว่าง กันข้ามแผนกได้
  • 12. • สร้าง Action Log และเก็บประวัติข้อมูลในแบบ Downtime Pareto เพื่อให้ ทีมวิศวกรนาข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อการป้ องกันและแก้ไข ความรู้ทักษะที่ได้จากการทางานแก้ปัญหาต่างๆจะถูกรวบรวมจัดทาเป็น คู่มือ บทความ ด้วยระบบแนวความคิดห้องสมุด เก็บไว้ในศูนย์ข้อมูล Techniclal Learning Certer สรุป