SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 42
ความหมายของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ หมายถึง โปรแกรมที่มีหน้าที่ในการจัดสรร
ทรัพยากร ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ควบคุมประมวลผลของโปรแกรม
ควบคุมอุปกรณ์ รวมทั้งการส่งข้อมูลเข้า/ออก ระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
ในคอมพิวเตอร์และทาหน้าที่ติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมประยุกต์
ได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
1. การติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)
2. ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ (Control Devices)
3. จัดสรรทรัพยากรในระบบ ( Resources Management)
การติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)
ผู้ใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อเพื่อควบคุม
การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้คาสั่งผ่าน
ระบบปฏิบัติการ
ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้งานกับ
อุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น การใช้คาสั่งผ่าน
เมนูในโปรแกรมวินโดวส์
ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ (Control Devices)
ในระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องทราบกลไกการทางาน
ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เนื่องจากระบบปฏิบัติการจะทา
หน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆให้ทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ
มีความสอดคล้องกัน และสามารถทางานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของ
ผู้ใช้งาน ซึ่งระบบปฏิบัติการจะประกอบไปด้วยโปรแกรมย่อยมากมาย
โปรแกรมย่อยแต่ละโปรแกรม
ทาหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่างชนิดกัน
ตัวอย่างเช่น โปรแกรมย่อย
ที่ใช้ควบคุมการทางานของดิสก์
โปรแกรมย่อยที่ใช้ควบคุมการทางานของจอภาพ เป็นต้น โปรแกรมย่อย
เหล่านี้
สามารถเรียกใช้งานได้ทันที โดยผ่านทาง System Call
จัดสรรทรัพยากรในระบบ ( ResourcesManagement )
ทรัพยากรในระบบ หมายถึง สิ่งที่ถูกใช้งานเพื่อให้โปรแกรมทางาน
ต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น ซีพียู หน่วยความจา ดิสก์ อุปกรณ์
อินพุต อุปกรณ์เอาต์พุต หรือ ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งสาเหตุที่ต้องมีการจัดสรร
ทรัพยากรในระบบ คือทรัพยากรในระบบมีปริมาณจากัด ทรัพยากรในระบบ
มีหลายประเภทและแต่ละประเภทมีหลายชนิด
วัตถุประสงค์ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
ดังนี้
1. เพื่ออานวยความสะดวก (Convenient)ในการใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ให้แก่ผู้ใช้งาน
2. เพื่อช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบ
คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ เริ่มตั้งแต่ยุคแรก ๆ ที่มีการประดิษฐ์เครื่อง
คอมพิวเตอร์ขึ้นมาใช้งาน มีดังนี้
1. ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non Operating System)
2. ระบบแบตซ์ (Batch System)
3. ระบบบัฟเฟอร์ (Buffering)
4. ระบบสพูลลิ่ง (Spooling)
5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
6. ระบบแบ่งเวลา (Time-Sharing System)
7. ระบบเรียลไทม์ (Real-Time System)
8. ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System: PC)
9. ระบบเวอร์ชวลแมซีน (Virtual Machine System)หรือระบบเครื่องเสมือน
10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor System)
11. ระบบแบบกระจาย (Distributed System)
ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non Operating System)
ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ หมายถึง ยุคที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่มีแต่เครื่องเปล่าๆ ไม่มีระบบปฏิบัติการ ดังนั้นการสั่ง
ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานจะต้องเขียนโปรแกรมสั่งให้อุปกรณ์
ทุกอย่างทางานด้วยตัวเอง จาเป็นต้องมีผู้ 1 ดูแลเครื่อง
(Operator)
ระบบแบ็ฅช์(Batch System)
ระบบแบตซ์หมายถึง ระบบการทางานแบบเรียงลาดับ สามารถสั่งให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน โดยที่ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องมาสั่งทีละคาสั่ง แต่ผู้ใช้
จะต้องเตรียมชุดคาสั่งไว้ก่อน ซึ่งชุดคาสั่งนี้เป็นการรวมคาสั่งหลาย ๆ คาสั่ง
เรียงติดต่อกัน จากนั้นจึงนาไปสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน โดย ผ่าน
อุปกรณ์อินพุต เช่น เทปแม่เหล็ก หรือเครื่องอ่านบัตร วิธีนี้ทาให้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ให้ ทางานไต้อย่างต่อเนื่องและใช้ได้เต็มประสิทธิภาพ แต่อย่างไร
ก็ตามก็ยังมีปัญหาเรื่องความเร็วใน การอ่านข้อมูลกับการประมวลผล เพราะ
เทปแม่เหล็กหรือเครื่องอ่านบัตร มีความเร็วในการอ่าน ข้อมูลช้ากว่า CPU
มาก
ระบบบัฟเฟอร์ (Buffering)
ระบบบัฟเฟอร์ หมายถึง ระบบที่สามารถทาการอ่านข้อมูล และ
ประมวลผลไปได้พร้อม ๆ กัน โดยในช่วงเวลาที่ CPU ทาการประมวลผลอยู่ ก็
จะทาการอ่านข้อมูลมาเก็บไว้ในหน่วยความจาที่ เรียกว่าบัฟเฟอร์ และเมื่อ
CPU ทางานเสร็จแล้วจึงนาข้อมูลในบัฟเฟอร์ไปประมวลผลต่อได้ทันที ซึ่งโดย
หลักการแล้วหากสามารถทาให้เวลาที่ใช้ในการอ่านข้อมูลเท่ากับเวลาที่ CPU
ทาการประมวลผล แล้วก็จะทาให้ CPU ทางานไต้เต็มประสิทธิภาพ แต่ตาม
ความจริงแล้วก็ยังพบว่าการอ่านข้อมูลยังช้ากว่าการประมวลผลของ CPU
เช่นเดิม
รูปแสดงการทางานของระบบบัฟเฟอร์
ระบบสพูลลิ่ง(Spooling)
ระบบสพูลลิ่ง หมายถึง ระบบที่ทาการอ่านข้อมูลจากเครื่องอ่านบัตร
หรือเทปแม่เหล็กแล้ว ไปเก็บโล้ในแผ่นดิสก์ จากนั้น CPU จะอ่านข้อมูลจาก
แผ่นดิสก์มาทาการประมวลผล ซึ่งในขณะเดียวกัน CPU ก็จะทาการอ่านข้อมูล
จากเครื่องอ่านบัตรหรือเทปแม่เหล็กมาเก็บไว้ในแผ่นดิสก์ และทาการส่งผลไป
ยังอุปกรณ์แสดงผลด้วย จะพบว่า CPU จะทางานมากกว่า 1 อย่างพร้อมๆ กัน
ทาให้สามารถใช้ CPU ได้เต็มที่กว่าเดิม
รูปแสดงการทางานของระบบสพูลลิ่ง
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (MultiprogrammingSystem)
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง หมายถึง ระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์
ทาการอ่านข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ ในหน่วยความจาตามลาดับงานที่เข้า
มาก่อน-หลังโดยงานใดที่เข้ามาถึงก่อนก็จะทาการประมวลผลก่อน
งานใดมีการหยุดรอเพื่อรับ-ส่งข้อมูล CPU จะนางานที่อยู่ถัดไปมาทา
การประมวลผลทันทีโดยไม่ต้องรอให้งานแรกทาจนเสร็จก่อน ลักษณะ
เช่นนี้ทาให้ CPU ทางานตลอดเวลาที่มีงาน แต่ระบบนี้ต้องมีการเขียน
โปรแกรมควบคุมที่ซับซ้อนเพื่อจัดการกับงานหลาย ๆ งานพร้อมกัน
ต้องมีการจัด เวลาการใช้งานทรัพยากร เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่
เรียกว่า Deadlock หรือความผิดพลาดต่างๆ รวมทั้งรักษาความ
ปลอดภัยของระบบ
รูปแสดงการทางานของระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง
ระบบแบ่งเวลา (Time-SharingSystem)
ระบบแบ่งเวลา หมายถึง ระบบที่ผู้ใช้งานหลายคนสามารถใช้
CPUร่วมกันได้ เพื่อให้สามารถใช้ CPU ได้เต็มที่ โดยผู้ใช้งานแต่ละคน
จะติดต่อเข้ามาโดยผ่านทางเทอร์มินอล (Terminal) ซึ่งประกอบด้วย
อุปกรณ์อินพุต เช่น แป้ นพิมพ์ เมาส์ และอุปกรณ์เอาต์พุต เช่น จอภาพ
เท่านั้น ซึ่งการประมวลผลนั้น CPU จะใช้วิธีการแบ่งเวลา (Time-
Sharing)ในการประมวลผลให้แต่ละงาน โดยจะสลับการประมวลผล
ไปมาให้กับงานทุกงาน
ระบบเรียลไทม์ (Real-Time System)
ระบบเรียลไทม์ หมายถึง ระบบที่สามารถตอบสนองการ
ทางานได้ทันทีทันใดหลังจากได้รับ อินพุตเข้าไปกล่าวคือเมื่อส่ง
ข้อมูลเข้าไปแล้วจะสามารถแสดงผลออกมาทันทีโดยทาการ
ประมวลผล อย่างรวดเร็วเรียกช่วงเวลานี้ว่าเวลาตอบสนอง
(Response Time)
ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System:
PC)
ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หมายถึง ระบบที่ใช้งานกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซึ่งเริ่มมีการใช้งานในปี ค.ศ. 1970
อุปกรณ์อินพุตจะมีคีย์บอร์ด และเมาส์เป็นหลัก ส่วนอุปกรณ์เอาต์พุต
จะมีจอภาพและเครื่องพิมพ์เป็นหลัก วัตถุประสงค์ของระบบ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล คือเพื่อทาให้ผู้ใช้งานได้รับการตอบสนองและมี
ความสะดวกมากที่สุด ตัวอย่างระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เช่น
Microsoft Windows
ระบบเวอร์ชวลแมชีน (VirtualMachineSystem) หรือ
ระบบเครื่องเสมือน
ระบบเวอร์ชวลแมซีน หมายถึง ระบบที่ทาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ 1 เครื่องสามารถจาลอง ตัวเองให้เสมือนหนึ่งเป็น
คอมพิวเตอร์หลายเครื่อง โดยมีระบบเวอร์ชวลแมซีนทาการจัดสรร
ทรัพยากรให้สามารถทางานหลายๆ อย่างได้พร้อมกันไม่ว่าจะเป็นการ
รับข้อมูลการประมวลผลและการแสดงผล
ตัวอย่างระบบเวอร์ชวลแมชีน
ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor System)
ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ หมายถึง ระบบที่มีตัวประมวลผล หรือ
CPUหลายตัวอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เดียวกัน ทาให้การประมวลผลทาได้
เร็วขึ้นโดย CPUจะมีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกัน ข้อดีของระบบนี้คือทาให้
การแสดงผลทาได้เร็วขึ้น หรือการประมวลผลเร็วขึ้น แต่ไม่ได้หมายความว่า
การที่มี CPU2ตัวจะทาให้การประมวลผลเร็วขึ้น 2 เท่า ประหยัดกว่าการ
ใช้ระบบการประมวลผลเดี่ยวหลายเครื่อง กล่าวคือราคาของเครื่อง
คอมพิวเตอร์แบบ 2 CPUจานวน 1เครื่อง จะถูกกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์
แบบ 1 CPUจานวน 2 เครื่อง ความน่าเชื่อถือ และความมีเสถียรภาพของ
ระบบมีสูง ในกรณีที่ CPUตัวใดตัวหนึ่งขัดข้อง เครื่องคอมพิวเตอร์ยังคง
สามารถทางานต่อไปได้โดยใช้ CPUส่วนที่เหลืออยู่แม้ว่าความสามารถ
โดยรวมอาจลดลง
รูปแสดงการทางานของระบบมัลติโปรเซสเซอร์
ระบบแบบกระจาย (Distributed System)
ระบบแบบกระจาย หมายถึง ระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
หลายๆ เครื่องเข้าด้วยกัน มีการติดต่อกันเพื่อใช้ทรัพยากรต่าง ๆ
ร่วมกัน การเชื่อมโยงจะใช้ระบบที่มีการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง
สาหรับระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันนี้ไม่จาเป็นต้องเป็นเครื่องชนิด
เดียวกัน เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลสามารถเชื่อมโยงกับ
เครื่องเมนเฟรมได้ ข้อดีของระบบนี้คือการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น
หากเครื่องพิมพ์ของผู้ใช้งานคนหนึ่งเสียก็อาจสั่งพิมพ์งานไป ที่
เครื่องพิมพ์ที่อื่นได้
เพิ่มความเร็วในการคานวณ โดยจะแบ่งงานออกเป็น
หลายๆ ส่วน แล้วส่งไปให้ คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องช่วยคานวณ
พร้อมกัน จากนั้นจึงส่งผลที่ได้กลับมาความน่าเชื่อถือของระบบ
เมื่อมี CPU ตัวใดไม่ทางานก็สามารถให้ CPUเครื่องอื่นช่วย
ประมวลผลให้ ทาให้สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่องการ
ติดต่อสื่อสาร นอกจากจะสามารถแชร์ทรัพยากรต่างๆ แล้ว ผู้ใช้ยัง
สามารถติดต่อ
สื่อสารหากันได้ สามารถส่งข้อมูลไปหากันได้
เช่น การส่ง E-Mail
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
1. การจัดการโปรเซส (Process Management)
2. การจัดการหน่วยความจา (Memory Management)
3. การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management)
4. การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต (I/O System Management)
5. การจัดการไฟล์ (File Management)
6. ระบบเครือข่าย (Networking)
7. ระบบป้ องกัน (Protection System)8. ระบบตัวแปลคาสั่ง
(Command-Interpreter System)
ระบบปฏิบัติการจะมีหน้าที่ในดารจัดการโปรเซส ดังนี้
-การสร้างโปรเซส (Create)และลบโปรเซส (Delete)
ของระบบและของผู้ใช้
-การหยุดการทางานชั่วคราวของโปรเซส (Suspend) และทาโปรเซส
ต่อไป (Resumption)
-การจัดเตรียมกลไกสาหรับการซินโครไนซ์โปรเซส (Process
Synchronization)
-การจัดเตรียมกลไกสาหรับการติดต่อสื่อสารโปรเซส (Interprocess
Communication)
-การจัดเตรียมกลไกการแก้ไข Deadlock
การจัดการโปรเซส (Process Management)
การจัดการโปรเซส หมายถึงการจัดการงาน
ที่เราจะทาการประมวลผล ไม่ว่าจะเป็นการประมวลผลแบบการแบ่ง
เวลา
แบบมัลติโปรแกรมมิ่งหรืออื่นๆ โดยแต่ละโปรเซสจะมีการกาหนดการ
ใช้ทรัพยากรที่แน่นอน เช่น เวลาในการใช้ CPUการใช้หน่วยความจา
การรับข้อมูลการแสดงผลลัพธ์ และอุปกรณ์อื่นๆ เป็นต้น โดยปกติแล้ว
CPUจะทาการประมวลผลทีละโปรเซส และทีละ 1 คาสั่งจนจบ
โปรแกรม
แต่บางครั้งอาจมี 2 โปรเซสที่สัมพันธ์กันซึ่งทาให้แยกเป็นการ
ประมวลผล 2 ครั้ง ดังนั้นจึงอาจมีการประมวลผลพร้อมกันหลายๆ
การซินโครไนซ์และการส่งสัญญาณ และการส่งผ่านข้อมูลระหว่าง
โปรเซส
การจัดการหน่วยความจา (MemoryManagement)
หน่วยความจาหลักถือว่าเป็นหน่วยความจาที่สาคัญใน
ระบบคอมพิวเตอร์เพราะว่าข้อมูลต่าง ที่จะนาไปประมวลผลที่ CPU
หรือข้อมูลที่รับมาจากอุปกรณ์รับข้อมูล หรือข้อมูลที่จะส่งไปยัง
อุปกรณ์แสดงผลจะต้องนามาเก็บไว้ที่หน่วยความจาก่อน เพราะการ
อ่านข้อมูลสามารถทาได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านทาง
DMA (Direct Memory Access)
ลักษณะของหน่วยความจามีโครงสร้างคล้ายอาร์เรย์ที่มีขนาดเป็น
จานวนคา (Words) หรือ จานวนไบต์ (Bytes)ขนาดใหญ่ แต่ละคาจะมี
หมายเลขตาแหน่งอ้างอิง (Address) ที่แน่นอน เมื่อมีการนาข้อมูลมาเก็บใน
หน่วยความจา ระบบปฏิบัติการจะทาการกาหนดตาแหน่งที่เก็บข้อมูล แล้ว
จึงโหลดข้อมูลเข้าไปในหน่วยความจาเมื่อทาการประมวลผลเสร็จสิ้นแล้ว
ข้อมูลส่วนนั้นจะถูกลบออกไประบบปฏิบัติการมีหน้าที่จัดการ
หน่วยความจา ดังนี้
-ติดตามการใช้งานหน่วยความจาส่วนต่างๆ ว่าถูกใช้อยู่หรือไม่
และถูกใช้โดยโปรเซสใด
-ตัดสินใจว่าน่า (Load) โปรเซสใดเข้าไปยังหน่วยความจาส่วนที่
ว่าง
-จัดการมอบหมาย (Allocate)และเรียกคืน (Deallocate)
หน่วยความจาจากโปรเซสต่างๆ ตามความจาเป็น
การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management)
เนื่องจากหน่วยความจาหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก และ
ข้อมูลทั้งหมดจะหายไป เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ า ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการจัดเก็บ
ข้อมูลลงไปในสื่อจัดเก็บข้อมูล เช่น แผ่นดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ CD Rom เป็นต้น
นอกจากนี้
ยังสามารถใช้สื่อจัดเก็บข้อมูลมาช่วยในการสร้างหน่วยความจาเสมือน
(Virtual Memory) โดยการจองเนื้อที่ส่วนหนึ่งของสื่อจัดเก็บข้อมูลไว้เพื่อเก็บ
ข้อมูลไว้ในการประมวลผล และเมื่อปิดเครื่องก็จะทาการคืนพื้นที่ส่วนนั้น ทาให้
เรามีหน่วยความจาใน การใช้งานเพิ่มขึ้น
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับสื่อจัดเก็บข้อมูล มีดังนี้
-จัดการพื้นที่ส่วนที่ว่าง (Free Space Management)
-จัดการจัดตาแหน่งข้อมูลที่กระจัดกระจายให้อยู่รวมกลุ่ม
กัน เพื่อความรวดเร็วในการเรียกใช้ข้อมูล (Storage Allocation)
-การจัดแบ่งเวลาในการใช้ดิสก์ (Disk Scheduling)
การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต (I/O System Management)
ระบบปฏิบัติมีหน้าที่ในการควบคุมการรับข้อมูล และแสดง
ข้อมูลผ่านทางอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ฮาร์ดดิสก์
เครื่องพิมพ์ เป็นต้น โดยข้อมูลที่ส่งไปยังอุปกรณ์เหล่านี้จะผ่านสายส่ง
ข้อมูล ซึ่งมีหลายชนิดตามลักษณะของงานและอุปกรณ์ เช่น พอร์ต
(Port) บัส (Bus) และดีไวซ์ไดร์เวอร์ (Device Driver) โดยปกติแล้ว
คอมพิวเตอร์จะรู้จักอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป แต่ในกรณีที่มีอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้า
มา และคอมพิวเตอร์ไม่รู้จักอุปกรณ์นั้น จาเป็นต้องมีดีไวซ์ไดร์เวอร์
สาหรับอุปกรณ์นั้นๆ โดยเฉพาะ เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์สามารถใช้
อุปกรณ์นั้นได้
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบอินพุต/เอาต์พุต มีดังนี้
-การจัดการหน่วยความจาที่รวมทั้งบัฟเฟอร์ (Buffering)
แคช (Caching) และสพูลลิ่ง(Spooling)
-อินเตอร์เฟตระหว่างโปรแกรมและอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป
(GeneralDeviceDriver)
-ไดร์เวอร์สาหรับอุปกรณ์ที่มีลักษณะเฉพาะ
(Device Driver)
การจัดการแฟ้ มข้อมูล (FileManagement)
เป็นการทางานของระบบปฏิบัติการโดยทาหน้าที่ในการโอน
ถ่ายข้อมูลลงไปจัดเก็บในอุปกรณ์ บันทึกข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์
แผ่นดิสก์ เทปแม่เหล็ก เป็นต้น โดยมีอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เขียนข้อมูล
เช่น Disk Drive หรือ CD-Writerเป็นต้น
ซึ่งข้อมูลที่บันทึกลงไปจะเก็บไว้เป็นกลุ่มข้อมูลที่เรียกว่า
แฟ้ มข้อมูล (File) โดยที่ข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลจะมีการจัดเก็บแตกต่าง
กันไปตามลักษณะของข้อมูล เช่น เป็นตัวอักษร ตัวเลข เป็นบิต ไบต์
หรือเรคอร์ด
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการ แฟ้ มข้อมูล มีดังนี้
-การสร้าง (Creation)และการลบ (Deletion)แฟ้ มข้อมูล
-การสร้างและการลบไดเร็กทอรี่ (Directory)
-สนับสนุนการจัดการไฟล์ในรูปแบบเดิม ๆ ที่ผ่านมา
-สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลและ
อุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ
-การจัดเก็บแฟ้ มข้อมูลไว้ในอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบถาวร
ระบบเครือข่าย (Networking)
ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้า
ด้วยกัน ระบบปฏิบัติการจะเป็น ผู้จัดการในการติดต่อสื่อสารโดย
ผ่านสายสัญญาณ ซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบ
เครือข่าย
- เพิ่มความเร็วในการประมวลผล
- จัดการเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ เพื่อให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
- เพิ่มความน่าเชื่อถือของระบบ
ระบบป้ องกัน (Protection System)
ในระบบการทางานที่อนุญาตให้ผู้ใช้งานหลายคนสามารถ
เข้าถึงข้อมูล และมีโปรเซสหลาย ๆ โปรเซสทางานพร้อมกัน
จาเป็นต้องมีระบบป้ องกันที่ดีเพื่อป้ องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต
แอบเข้าข้อมูล เช่น ระบบธนาคารที่ต้องมีการออนไลน์ทั่วประเทศ
จาเป็นต้องมีการป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาแก้ไขข้อมูล รวมถึง
การควบคุมการใช้ทรัพยากรในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อป้ องกัน ความ
ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นด้วย เนื่องจากระบบที่มีการป้ องกันที่ดีจะเป็น
ระบบที่มีความน่าเชื่อถือสูง
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบป้ องกัน มีดังนี้
-สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างการใช้งานที่ได้รับ
อนุญาต
และการใช้งานที่ไม่ได้รับอนุญาต
-สามารถกาหนดวิธีการควบคุมการใช้งานได้
รูประบบป้ องกันเพื่อป้ องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตแอบเข้าข้อมูล
ระบบตัวแปลคาสั่ง (Command-InterpreterSystem)
ตัวแปลคาสั่งทาหน้าที่ช่วยในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ
ระบบปฏิบัติการเพื่อทาการประมวลผล โปรแกรมของโปรเซสต่างๆ ซึ่ง
ระบบปฏิบัติการจะมีตัวแปลคาสั่งอยู่ ตัวอย่างเช่น เมนู หรือการใช้เมาส์ใน
วินโดวส์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์jennysarida
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Nuth Otanasap
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการKrusine soyo
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2Nuth Otanasap
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมฐนกร คำเรือง
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 

Mais procurados (19)

1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 
iam
iamiam
iam
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2
 
5บท
5บท5บท
5บท
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอม คอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

Destaque

CPU Scheduling
CPU  SchedulingCPU  Scheduling
CPU SchedulingHi Nana
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสThanaporn Singsuk
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสThanaporn Singsuk
 
Ch 2 process
Ch 2 processCh 2 process
Ch 2 processporpat21
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสThanaporn Singsuk
 
Multiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingMultiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingTanuj Tyagi
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Nuth Otanasap
 
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการโครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

Destaque (14)

CPU Scheduling
CPU  SchedulingCPU  Scheduling
CPU Scheduling
 
B4
B4B4
B4
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซส
 
Ch 2 process
Ch 2 processCh 2 process
Ch 2 process
 
Os ch02
Os ch02Os ch02
Os ch02
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
Multiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharingMultiprogramming&timesharing
Multiprogramming&timesharing
 
Chapter 3 - Processes
Chapter 3 - ProcessesChapter 3 - Processes
Chapter 3 - Processes
 
Ch06th
Ch06thCh06th
Ch06th
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5
 
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการโครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
 

Semelhante a B2

องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...ฐนกร คำเรือง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introosporpat21
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารanon sirikajorn
 

Semelhante a B2 (20)

องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introos
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Mais de Nu Mai Praphatson

การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลการจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลNu Mai Praphatson
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสNu Mai Praphatson
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสNu Mai Praphatson
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Nu Mai Praphatson
 

Mais de Nu Mai Praphatson (12)

การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลการจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
 
B7
B7B7
B7
 
B7
B7B7
B7
 
B6
B6B6
B6
 
B5
B5B5
B5
 
B3
B3B3
B3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
B1
B1B1
B1
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

B2

  • 1.
  • 2. ความหมายของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ หมายถึง โปรแกรมที่มีหน้าที่ในการจัดสรร ทรัพยากร ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ควบคุมประมวลผลของโปรแกรม ควบคุมอุปกรณ์ รวมทั้งการส่งข้อมูลเข้า/ออก ระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ในคอมพิวเตอร์และทาหน้าที่ติดต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมประยุกต์ ได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ
  • 3.
  • 4. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ ดังนี้ 1. การติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) 2. ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ (Control Devices) 3. จัดสรรทรัพยากรในระบบ ( Resources Management)
  • 5. การติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) ผู้ใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อเพื่อควบคุม การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้คาสั่งผ่าน ระบบปฏิบัติการ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้งานกับ อุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น การใช้คาสั่งผ่าน เมนูในโปรแกรมวินโดวส์
  • 6. ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ (Control Devices) ในระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องทราบกลไกการทางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เนื่องจากระบบปฏิบัติการจะทา หน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆให้ทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ มีความสอดคล้องกัน และสามารถทางานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของ ผู้ใช้งาน ซึ่งระบบปฏิบัติการจะประกอบไปด้วยโปรแกรมย่อยมากมาย โปรแกรมย่อยแต่ละโปรแกรม ทาหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่างชนิดกัน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมย่อย ที่ใช้ควบคุมการทางานของดิสก์ โปรแกรมย่อยที่ใช้ควบคุมการทางานของจอภาพ เป็นต้น โปรแกรมย่อย เหล่านี้ สามารถเรียกใช้งานได้ทันที โดยผ่านทาง System Call
  • 7. จัดสรรทรัพยากรในระบบ ( ResourcesManagement ) ทรัพยากรในระบบ หมายถึง สิ่งที่ถูกใช้งานเพื่อให้โปรแกรมทางาน ต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น ซีพียู หน่วยความจา ดิสก์ อุปกรณ์ อินพุต อุปกรณ์เอาต์พุต หรือ ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งสาเหตุที่ต้องมีการจัดสรร ทรัพยากรในระบบ คือทรัพยากรในระบบมีปริมาณจากัด ทรัพยากรในระบบ มีหลายประเภทและแต่ละประเภทมีหลายชนิด
  • 8.
  • 9. วัตถุประสงค์ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. เพื่ออานวยความสะดวก (Convenient)ในการใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ให้แก่ผู้ใช้งาน 2. เพื่อช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบ คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 10.
  • 11. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ เริ่มตั้งแต่ยุคแรก ๆ ที่มีการประดิษฐ์เครื่อง คอมพิวเตอร์ขึ้นมาใช้งาน มีดังนี้ 1. ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non Operating System) 2. ระบบแบตซ์ (Batch System) 3. ระบบบัฟเฟอร์ (Buffering) 4. ระบบสพูลลิ่ง (Spooling) 5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System) 6. ระบบแบ่งเวลา (Time-Sharing System) 7. ระบบเรียลไทม์ (Real-Time System) 8. ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System: PC) 9. ระบบเวอร์ชวลแมซีน (Virtual Machine System)หรือระบบเครื่องเสมือน 10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor System) 11. ระบบแบบกระจาย (Distributed System)
  • 12. ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non Operating System) ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ หมายถึง ยุคที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่มีแต่เครื่องเปล่าๆ ไม่มีระบบปฏิบัติการ ดังนั้นการสั่ง ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานจะต้องเขียนโปรแกรมสั่งให้อุปกรณ์ ทุกอย่างทางานด้วยตัวเอง จาเป็นต้องมีผู้ 1 ดูแลเครื่อง (Operator)
  • 13. ระบบแบ็ฅช์(Batch System) ระบบแบตซ์หมายถึง ระบบการทางานแบบเรียงลาดับ สามารถสั่งให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน โดยที่ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องมาสั่งทีละคาสั่ง แต่ผู้ใช้ จะต้องเตรียมชุดคาสั่งไว้ก่อน ซึ่งชุดคาสั่งนี้เป็นการรวมคาสั่งหลาย ๆ คาสั่ง เรียงติดต่อกัน จากนั้นจึงนาไปสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน โดย ผ่าน อุปกรณ์อินพุต เช่น เทปแม่เหล็ก หรือเครื่องอ่านบัตร วิธีนี้ทาให้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ให้ ทางานไต้อย่างต่อเนื่องและใช้ได้เต็มประสิทธิภาพ แต่อย่างไร ก็ตามก็ยังมีปัญหาเรื่องความเร็วใน การอ่านข้อมูลกับการประมวลผล เพราะ เทปแม่เหล็กหรือเครื่องอ่านบัตร มีความเร็วในการอ่าน ข้อมูลช้ากว่า CPU มาก
  • 14. ระบบบัฟเฟอร์ (Buffering) ระบบบัฟเฟอร์ หมายถึง ระบบที่สามารถทาการอ่านข้อมูล และ ประมวลผลไปได้พร้อม ๆ กัน โดยในช่วงเวลาที่ CPU ทาการประมวลผลอยู่ ก็ จะทาการอ่านข้อมูลมาเก็บไว้ในหน่วยความจาที่ เรียกว่าบัฟเฟอร์ และเมื่อ CPU ทางานเสร็จแล้วจึงนาข้อมูลในบัฟเฟอร์ไปประมวลผลต่อได้ทันที ซึ่งโดย หลักการแล้วหากสามารถทาให้เวลาที่ใช้ในการอ่านข้อมูลเท่ากับเวลาที่ CPU ทาการประมวลผล แล้วก็จะทาให้ CPU ทางานไต้เต็มประสิทธิภาพ แต่ตาม ความจริงแล้วก็ยังพบว่าการอ่านข้อมูลยังช้ากว่าการประมวลผลของ CPU เช่นเดิม รูปแสดงการทางานของระบบบัฟเฟอร์
  • 15. ระบบสพูลลิ่ง(Spooling) ระบบสพูลลิ่ง หมายถึง ระบบที่ทาการอ่านข้อมูลจากเครื่องอ่านบัตร หรือเทปแม่เหล็กแล้ว ไปเก็บโล้ในแผ่นดิสก์ จากนั้น CPU จะอ่านข้อมูลจาก แผ่นดิสก์มาทาการประมวลผล ซึ่งในขณะเดียวกัน CPU ก็จะทาการอ่านข้อมูล จากเครื่องอ่านบัตรหรือเทปแม่เหล็กมาเก็บไว้ในแผ่นดิสก์ และทาการส่งผลไป ยังอุปกรณ์แสดงผลด้วย จะพบว่า CPU จะทางานมากกว่า 1 อย่างพร้อมๆ กัน ทาให้สามารถใช้ CPU ได้เต็มที่กว่าเดิม รูปแสดงการทางานของระบบสพูลลิ่ง
  • 16. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (MultiprogrammingSystem) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง หมายถึง ระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ทาการอ่านข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ ในหน่วยความจาตามลาดับงานที่เข้า มาก่อน-หลังโดยงานใดที่เข้ามาถึงก่อนก็จะทาการประมวลผลก่อน งานใดมีการหยุดรอเพื่อรับ-ส่งข้อมูล CPU จะนางานที่อยู่ถัดไปมาทา การประมวลผลทันทีโดยไม่ต้องรอให้งานแรกทาจนเสร็จก่อน ลักษณะ เช่นนี้ทาให้ CPU ทางานตลอดเวลาที่มีงาน แต่ระบบนี้ต้องมีการเขียน โปรแกรมควบคุมที่ซับซ้อนเพื่อจัดการกับงานหลาย ๆ งานพร้อมกัน ต้องมีการจัด เวลาการใช้งานทรัพยากร เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่ เรียกว่า Deadlock หรือความผิดพลาดต่างๆ รวมทั้งรักษาความ ปลอดภัยของระบบ
  • 18. ระบบแบ่งเวลา (Time-SharingSystem) ระบบแบ่งเวลา หมายถึง ระบบที่ผู้ใช้งานหลายคนสามารถใช้ CPUร่วมกันได้ เพื่อให้สามารถใช้ CPU ได้เต็มที่ โดยผู้ใช้งานแต่ละคน จะติดต่อเข้ามาโดยผ่านทางเทอร์มินอล (Terminal) ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์อินพุต เช่น แป้ นพิมพ์ เมาส์ และอุปกรณ์เอาต์พุต เช่น จอภาพ เท่านั้น ซึ่งการประมวลผลนั้น CPU จะใช้วิธีการแบ่งเวลา (Time- Sharing)ในการประมวลผลให้แต่ละงาน โดยจะสลับการประมวลผล ไปมาให้กับงานทุกงาน
  • 19. ระบบเรียลไทม์ (Real-Time System) ระบบเรียลไทม์ หมายถึง ระบบที่สามารถตอบสนองการ ทางานได้ทันทีทันใดหลังจากได้รับ อินพุตเข้าไปกล่าวคือเมื่อส่ง ข้อมูลเข้าไปแล้วจะสามารถแสดงผลออกมาทันทีโดยทาการ ประมวลผล อย่างรวดเร็วเรียกช่วงเวลานี้ว่าเวลาตอบสนอง (Response Time)
  • 20. ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System: PC) ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หมายถึง ระบบที่ใช้งานกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซึ่งเริ่มมีการใช้งานในปี ค.ศ. 1970 อุปกรณ์อินพุตจะมีคีย์บอร์ด และเมาส์เป็นหลัก ส่วนอุปกรณ์เอาต์พุต จะมีจอภาพและเครื่องพิมพ์เป็นหลัก วัตถุประสงค์ของระบบ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล คือเพื่อทาให้ผู้ใช้งานได้รับการตอบสนองและมี ความสะดวกมากที่สุด ตัวอย่างระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เช่น Microsoft Windows
  • 21. ระบบเวอร์ชวลแมชีน (VirtualMachineSystem) หรือ ระบบเครื่องเสมือน ระบบเวอร์ชวลแมซีน หมายถึง ระบบที่ทาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ 1 เครื่องสามารถจาลอง ตัวเองให้เสมือนหนึ่งเป็น คอมพิวเตอร์หลายเครื่อง โดยมีระบบเวอร์ชวลแมซีนทาการจัดสรร ทรัพยากรให้สามารถทางานหลายๆ อย่างได้พร้อมกันไม่ว่าจะเป็นการ รับข้อมูลการประมวลผลและการแสดงผล ตัวอย่างระบบเวอร์ชวลแมชีน
  • 22. ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor System) ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ หมายถึง ระบบที่มีตัวประมวลผล หรือ CPUหลายตัวอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เดียวกัน ทาให้การประมวลผลทาได้ เร็วขึ้นโดย CPUจะมีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกัน ข้อดีของระบบนี้คือทาให้ การแสดงผลทาได้เร็วขึ้น หรือการประมวลผลเร็วขึ้น แต่ไม่ได้หมายความว่า การที่มี CPU2ตัวจะทาให้การประมวลผลเร็วขึ้น 2 เท่า ประหยัดกว่าการ ใช้ระบบการประมวลผลเดี่ยวหลายเครื่อง กล่าวคือราคาของเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบ 2 CPUจานวน 1เครื่อง จะถูกกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบ 1 CPUจานวน 2 เครื่อง ความน่าเชื่อถือ และความมีเสถียรภาพของ ระบบมีสูง ในกรณีที่ CPUตัวใดตัวหนึ่งขัดข้อง เครื่องคอมพิวเตอร์ยังคง สามารถทางานต่อไปได้โดยใช้ CPUส่วนที่เหลืออยู่แม้ว่าความสามารถ โดยรวมอาจลดลง
  • 24. ระบบแบบกระจาย (Distributed System) ระบบแบบกระจาย หมายถึง ระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ หลายๆ เครื่องเข้าด้วยกัน มีการติดต่อกันเพื่อใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกัน การเชื่อมโยงจะใช้ระบบที่มีการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง สาหรับระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันนี้ไม่จาเป็นต้องเป็นเครื่องชนิด เดียวกัน เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลสามารถเชื่อมโยงกับ เครื่องเมนเฟรมได้ ข้อดีของระบบนี้คือการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น หากเครื่องพิมพ์ของผู้ใช้งานคนหนึ่งเสียก็อาจสั่งพิมพ์งานไป ที่ เครื่องพิมพ์ที่อื่นได้
  • 25. เพิ่มความเร็วในการคานวณ โดยจะแบ่งงานออกเป็น หลายๆ ส่วน แล้วส่งไปให้ คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องช่วยคานวณ พร้อมกัน จากนั้นจึงส่งผลที่ได้กลับมาความน่าเชื่อถือของระบบ เมื่อมี CPU ตัวใดไม่ทางานก็สามารถให้ CPUเครื่องอื่นช่วย ประมวลผลให้ ทาให้สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่องการ ติดต่อสื่อสาร นอกจากจะสามารถแชร์ทรัพยากรต่างๆ แล้ว ผู้ใช้ยัง สามารถติดต่อ สื่อสารหากันได้ สามารถส่งข้อมูลไปหากันได้ เช่น การส่ง E-Mail
  • 26.
  • 27. องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ ดังนี้ 1. การจัดการโปรเซส (Process Management) 2. การจัดการหน่วยความจา (Memory Management) 3. การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management) 4. การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต (I/O System Management) 5. การจัดการไฟล์ (File Management) 6. ระบบเครือข่าย (Networking) 7. ระบบป้ องกัน (Protection System)8. ระบบตัวแปลคาสั่ง (Command-Interpreter System)
  • 28. ระบบปฏิบัติการจะมีหน้าที่ในดารจัดการโปรเซส ดังนี้ -การสร้างโปรเซส (Create)และลบโปรเซส (Delete) ของระบบและของผู้ใช้ -การหยุดการทางานชั่วคราวของโปรเซส (Suspend) และทาโปรเซส ต่อไป (Resumption) -การจัดเตรียมกลไกสาหรับการซินโครไนซ์โปรเซส (Process Synchronization) -การจัดเตรียมกลไกสาหรับการติดต่อสื่อสารโปรเซส (Interprocess Communication) -การจัดเตรียมกลไกการแก้ไข Deadlock
  • 29. การจัดการโปรเซส (Process Management) การจัดการโปรเซส หมายถึงการจัดการงาน ที่เราจะทาการประมวลผล ไม่ว่าจะเป็นการประมวลผลแบบการแบ่ง เวลา แบบมัลติโปรแกรมมิ่งหรืออื่นๆ โดยแต่ละโปรเซสจะมีการกาหนดการ ใช้ทรัพยากรที่แน่นอน เช่น เวลาในการใช้ CPUการใช้หน่วยความจา การรับข้อมูลการแสดงผลลัพธ์ และอุปกรณ์อื่นๆ เป็นต้น โดยปกติแล้ว CPUจะทาการประมวลผลทีละโปรเซส และทีละ 1 คาสั่งจนจบ โปรแกรม แต่บางครั้งอาจมี 2 โปรเซสที่สัมพันธ์กันซึ่งทาให้แยกเป็นการ ประมวลผล 2 ครั้ง ดังนั้นจึงอาจมีการประมวลผลพร้อมกันหลายๆ
  • 31. การจัดการหน่วยความจา (MemoryManagement) หน่วยความจาหลักถือว่าเป็นหน่วยความจาที่สาคัญใน ระบบคอมพิวเตอร์เพราะว่าข้อมูลต่าง ที่จะนาไปประมวลผลที่ CPU หรือข้อมูลที่รับมาจากอุปกรณ์รับข้อมูล หรือข้อมูลที่จะส่งไปยัง อุปกรณ์แสดงผลจะต้องนามาเก็บไว้ที่หน่วยความจาก่อน เพราะการ อ่านข้อมูลสามารถทาได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านทาง DMA (Direct Memory Access)
  • 32. ลักษณะของหน่วยความจามีโครงสร้างคล้ายอาร์เรย์ที่มีขนาดเป็น จานวนคา (Words) หรือ จานวนไบต์ (Bytes)ขนาดใหญ่ แต่ละคาจะมี หมายเลขตาแหน่งอ้างอิง (Address) ที่แน่นอน เมื่อมีการนาข้อมูลมาเก็บใน หน่วยความจา ระบบปฏิบัติการจะทาการกาหนดตาแหน่งที่เก็บข้อมูล แล้ว จึงโหลดข้อมูลเข้าไปในหน่วยความจาเมื่อทาการประมวลผลเสร็จสิ้นแล้ว ข้อมูลส่วนนั้นจะถูกลบออกไประบบปฏิบัติการมีหน้าที่จัดการ หน่วยความจา ดังนี้ -ติดตามการใช้งานหน่วยความจาส่วนต่างๆ ว่าถูกใช้อยู่หรือไม่ และถูกใช้โดยโปรเซสใด -ตัดสินใจว่าน่า (Load) โปรเซสใดเข้าไปยังหน่วยความจาส่วนที่ ว่าง -จัดการมอบหมาย (Allocate)และเรียกคืน (Deallocate) หน่วยความจาจากโปรเซสต่างๆ ตามความจาเป็น
  • 33. การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management) เนื่องจากหน่วยความจาหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก และ ข้อมูลทั้งหมดจะหายไป เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ า ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการจัดเก็บ ข้อมูลลงไปในสื่อจัดเก็บข้อมูล เช่น แผ่นดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ CD Rom เป็นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถใช้สื่อจัดเก็บข้อมูลมาช่วยในการสร้างหน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) โดยการจองเนื้อที่ส่วนหนึ่งของสื่อจัดเก็บข้อมูลไว้เพื่อเก็บ ข้อมูลไว้ในการประมวลผล และเมื่อปิดเครื่องก็จะทาการคืนพื้นที่ส่วนนั้น ทาให้ เรามีหน่วยความจาใน การใช้งานเพิ่มขึ้น
  • 34. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับสื่อจัดเก็บข้อมูล มีดังนี้ -จัดการพื้นที่ส่วนที่ว่าง (Free Space Management) -จัดการจัดตาแหน่งข้อมูลที่กระจัดกระจายให้อยู่รวมกลุ่ม กัน เพื่อความรวดเร็วในการเรียกใช้ข้อมูล (Storage Allocation) -การจัดแบ่งเวลาในการใช้ดิสก์ (Disk Scheduling)
  • 35. การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต (I/O System Management) ระบบปฏิบัติมีหน้าที่ในการควบคุมการรับข้อมูล และแสดง ข้อมูลผ่านทางอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น โดยข้อมูลที่ส่งไปยังอุปกรณ์เหล่านี้จะผ่านสายส่ง ข้อมูล ซึ่งมีหลายชนิดตามลักษณะของงานและอุปกรณ์ เช่น พอร์ต (Port) บัส (Bus) และดีไวซ์ไดร์เวอร์ (Device Driver) โดยปกติแล้ว คอมพิวเตอร์จะรู้จักอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป แต่ในกรณีที่มีอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้า มา และคอมพิวเตอร์ไม่รู้จักอุปกรณ์นั้น จาเป็นต้องมีดีไวซ์ไดร์เวอร์ สาหรับอุปกรณ์นั้นๆ โดยเฉพาะ เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์สามารถใช้ อุปกรณ์นั้นได้
  • 36. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบอินพุต/เอาต์พุต มีดังนี้ -การจัดการหน่วยความจาที่รวมทั้งบัฟเฟอร์ (Buffering) แคช (Caching) และสพูลลิ่ง(Spooling) -อินเตอร์เฟตระหว่างโปรแกรมและอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป (GeneralDeviceDriver) -ไดร์เวอร์สาหรับอุปกรณ์ที่มีลักษณะเฉพาะ (Device Driver)
  • 37. การจัดการแฟ้ มข้อมูล (FileManagement) เป็นการทางานของระบบปฏิบัติการโดยทาหน้าที่ในการโอน ถ่ายข้อมูลลงไปจัดเก็บในอุปกรณ์ บันทึกข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสก์ เทปแม่เหล็ก เป็นต้น โดยมีอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เขียนข้อมูล เช่น Disk Drive หรือ CD-Writerเป็นต้น ซึ่งข้อมูลที่บันทึกลงไปจะเก็บไว้เป็นกลุ่มข้อมูลที่เรียกว่า แฟ้ มข้อมูล (File) โดยที่ข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลจะมีการจัดเก็บแตกต่าง กันไปตามลักษณะของข้อมูล เช่น เป็นตัวอักษร ตัวเลข เป็นบิต ไบต์ หรือเรคอร์ด
  • 38. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการ แฟ้ มข้อมูล มีดังนี้ -การสร้าง (Creation)และการลบ (Deletion)แฟ้ มข้อมูล -การสร้างและการลบไดเร็กทอรี่ (Directory) -สนับสนุนการจัดการไฟล์ในรูปแบบเดิม ๆ ที่ผ่านมา -สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลและ อุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ -การจัดเก็บแฟ้ มข้อมูลไว้ในอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบถาวร
  • 39. ระบบเครือข่าย (Networking) ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้า ด้วยกัน ระบบปฏิบัติการจะเป็น ผู้จัดการในการติดต่อสื่อสารโดย ผ่านสายสัญญาณ ซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบ เครือข่าย - เพิ่มความเร็วในการประมวลผล - จัดการเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ เพื่อให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ - เพิ่มความน่าเชื่อถือของระบบ
  • 40. ระบบป้ องกัน (Protection System) ในระบบการทางานที่อนุญาตให้ผู้ใช้งานหลายคนสามารถ เข้าถึงข้อมูล และมีโปรเซสหลาย ๆ โปรเซสทางานพร้อมกัน จาเป็นต้องมีระบบป้ องกันที่ดีเพื่อป้ องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต แอบเข้าข้อมูล เช่น ระบบธนาคารที่ต้องมีการออนไลน์ทั่วประเทศ จาเป็นต้องมีการป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาแก้ไขข้อมูล รวมถึง การควบคุมการใช้ทรัพยากรในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อป้ องกัน ความ ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นด้วย เนื่องจากระบบที่มีการป้ องกันที่ดีจะเป็น ระบบที่มีความน่าเชื่อถือสูง