SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 24
LOGO




การประยุกต์จิตวิทยาเพื่อ
การเรียนรู้
ามหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้

               จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า
      Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำา
      คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า
      การศึกษา
      ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศกษาเกี่ยว
                                            ึ
      กับวิญญาณ แต่ในปัจจุบัน จิตวิทยาได้มีการ
      พัฒนาเปลียนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยา
                ่
      ได้มีการพัฒนาเปลียนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ
                        ่
      จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของ
      มนุษย์และสัตว์
การเรีการเรียนรู้
      ยนรู้           เป็นกระบวนการที่มีความสำาคัญและ
   จำาเป็นในการดำารงชีวิต สิ่งมีชวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่ม
                                 ี
   เรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สำาหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็น
   สิ่งที่ชวยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ
           ่
   ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราช
   สุดา ฯ ที่วา "สิ่งที่ทำาให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็
                ่
   เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา ที่จะนึกคิดและปฏิบัติสิ่งดี
   มีประโยชน์และถูกต้องได้ การเรียนรู้ชวยให้มนุษย์รู้จัก
                                            ่
   วิธีดำาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพ
   แวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้ ความสามารถในการ
   เรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำาเร็จและความพึง
   พอใจในชีวตของมนุษย์ดวย
                  ิ           ้
ความหมายของการ
     เรียนรู้
 คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้
  เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม
  อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง“
 ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower,
  1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง
  พฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และ
  การฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของ
  พฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตาม
  สัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิ
  กริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ “
 คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการ
  แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อัน
  เป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคล
ความหมายของการ
     เรียนรู้
 พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third
  New International Dictionary) "การเรียนรู้
  คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้
  ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมา
  จากสิ่งกระตุนอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การ
               ้
  ปฏิบัติ หรือการฝึกฝน“
 ประดินันท์ อุปรมัย (๒๕๔๐, ชุดวิชาพื้นฐานการ
  ศึกษา(มนุษย์กับการเรียนรู) : นนทบุร, พิมพ์ครังที่
                           ้         ี         ้
  ๑๕, หน้า ๑๒๑) “ การเรียนรูคอการเปลี่ยนแปลง
                               ้ ื
  ของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับ
  ประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเหตุ
  ทำาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไป
  จากเดิม “ ประสบการณ์ที่กอให้เกิดการ
                             ่
ามหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้

              การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมาย
     ทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลียนแปลงพฤติกรรม
                                   ่
     ของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจาก
     การฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรม
     เปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่
     พฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชัวคราว และการ
                                      ่
     เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
    พฤติกรรมการเรียนรู้โดย บลูม และคณะ (Bloom
    and Others ) ๓ ด้าน ดังนี้
    ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของ
     การเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุม
     พฤติกรรมประเภท ความจำา ความเข้าใจ การนำาไปใช้
     การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล
    ๒. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของ
     การเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุม
     พฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การ
     ประเมินค่าและค่านิยม
    ๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผล
     ของการเรียนรูที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ
                      ้
     ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลือนไหว การกระ
                                          ่
องค์ประกอบสำาคัญ
ของการเรียนรู้
   ดอลลาร์ด และ มิลเลอร์ (Dallard and
 Miller) เสนอว่าการเรียนรู้        มีองค์
 ประกอบสำาคัญ ๔ ประการ คือ
 ๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายใน
  ตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้ง
  สมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและ
  ความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรม
  ที่จะชักนำาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป
 ๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึนใน
                                                 ้
  สถานการณ์ต่างๆ ซึงเป็นตัวการที่ทำาให้บุคคลมี
                         ่
  ปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพ
  การเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการ
  สอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนำามาใช้
องค์ประกอบสำาคัญ
ของการเรียนรู้
 ๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือ
  พฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระ
  ตุนจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่
     ้
  สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง
  คำาพูด การคิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก
  เป็นต้น
 ๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มี
  อิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการ
  เชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การ
  เสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียน
  รู้ของบุคคลเป็นอันมาก
ธรรมชาติของ
 การเรียนรู้
      การเรียนรู้มลักษณะสำาคัญดังต่อ
                   ี
   ไปนี้
๑. การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการเรียนรู้
ของบุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนรูจากการ  ้
ไม่รไปสู่การเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน คือ
    ู้
       ๑.๑ มีสิ่งเร้ามากระตุนบุคคล
                             ้
         ๑.๒ บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททั้ง ๕
         ๑.๓ บุคคลแปลความหมายหรือรับรูสิ่งเร้า
                                            ้
         ๑.๔ บุคคลมีปฏิกิรยาตอบสนองอย่างใดอย่าง
                           ิ
  หนึงต่อสิ่งเร้าตามที่รบรู้
       ่                ั
         ๑.๕ บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบ
  สนองต่อสิ่งเร้า
ธรรมชาติของ
การเรียนรู้


   Stimulu                    Percepti
        s       Sensati          on
     สิ่งเร้า      on          การรับรู้
                 ประสาท
                รับสัมผัส
   เกิดการ       Respons        Concept
    เรียนรู้         e
  Learning                      ความคิด
     การ          ปฏิกิริยา     รวบยอด
 เปลี่ยนแปล      ตอบสนอง
     ง
  พฤติกรรม
ธรรมชาติของ
   การเรียนรู้เริมเกิดขึนเมือมีสิ่งเร้า (Stimulus)
                 ่      ้   ่
การเรียนบุคคล ระบบประสาทจะตืนตัวเกิดการ
มากระตุ้ นรู้                         ่
รับสัมผัส (Sensation) ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง ๕
แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองเพื่อแปลความ
หมายโดยอาศัยประสบการณ์เดิมเป็นการรับรู้
(Perception)ใหม่ อาจสอดคล้องหรือแตกต่าง
ไปจากประสบการณ์เดิม แล้วสรุปผลของการรับรู้
นั้น เป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด
(Concept) และมีปฏิกิรยาตอบสนอง
                          ิ
(Response) อย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้า ตามที่
รับรู้ซึ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แสดงว่า เกิดการเรียนรู้แล้ว
ธรรมชาติของ
๒. การเรียนรูไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรูอาศัย
การเรียนรู้ ้                           ้
วุฒิภาวะ
      วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตสูงสุด
ของพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาของบุคคลแต่ละวัยที่เป็นไปตาม
ธรรมชาติ แม้ว่าการเรียนรู้จะไม่ใช่วุฒิภาวะแต่
การเรียนรูตองอาศัยวุฒิภาวะด้วย เพราะการที่
           ้ ้
บุคคลจะมีความสามารถในการรับรูหรือตอบ
                                 ้
สนองต่อสิ่งเร้ามากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กบว่า
                                          ั
บุคคลนั้นมีวุฒิภาวะเพียงพอหรือไม่
ธรรมชาติของ
การเรียนรู้
๓. การเรียนรูเกิดได้ง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งทีมี
                  ้                               ่
ความหมายต่อผู้เรียน
       การเรียนสิ่งที่มความหมายต่อผู้เรียน คือ การ
                        ี
เรียนในสิ่งที่ผู้เรียนต้องการจะเรียนหรือสนใจจะ
เรียน เหมาะกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียนและเกิด
ประโยชน์แก่ผู้เรียน การเรียนในสิ่งที่มีความหมาย
ต่อผู้เรียนย่อมทำาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูได้ดกว่า
                                           ้    ี
การเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนไม่ตองการหรือไม่สนใจ
                              ้
ธรรมชาติของ
๔. การเรียนรูแตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธการ
             ้                          ี
ในการเรียน ้
การเรียนรู
       ในการเรียนรูสิ่งเดียวกัน บุคคลต่างกันอาจ
                    ้
เรียนรูได้ไม่เท่ากันเพราะบุคคลอาจมีความพร้อม
        ้
ต่างกัน มีความสามารถในการเรียนต่างกัน มี
อารมณ์และความสนใจที่จะเรียนต่างกันและมีความรู้
เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่จะเรียน
ต่างกัน ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน ถ้าใช้วิธเรียนต่าง
                                           ี
กัน ผลของการเรียนรูอาจมากน้อยต่างกันได้ และ
                       ้
วิธที่ทำาให้เกิดการเรียนรู้ได้มากสำาหรับบุคคลหนึ่ง
    ี
อาจไม่ใช่วธีเรียนที่ทำาให้อีกบุคคลหนึ่งเกิดการเรียน
             ิ
รูได้มากเท่ากับบุคคลนั้นก็ได้
  ้
ลำาดับขันของการเรียนรู้
        ้
              ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะ
       ประกอบด้วยลำาดับขันตอน พื้นฐานที่สำาคัญ ๓
                          ้
    ๑. ขั้นตอนด้วยกัน คือ
          ประสบการณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทุกคน
    จะมีประสาทรับรู้อยู่ดวยกันทั้งนั้น ส่วนใหญ่ที่เป็นที่เข้าใจ
                         ้
    ก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และ
    ผิวหนัง ประสาทรับรู้เหล่านี้จะเป็นเสมือนช่องประตูที่จะ
    ให้บุคคลได้รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ ถ้าไม่มี
    ประสาทรับรู้เหล่านี้แล้ว บุคคลจะไม่มีโอกาสรับรู้หรือมี
    ประสบการณ์ใด ๆ เลย ซึงก็เท่ากับเขาไม่สามารถเรียนรู้
                             ่
    สิ่งใด ๆ ได้ดวยประสบการณ์ตาง ๆ ที่บุคคลได้รับนั้นย่อม
                 ้                ่
    จะแตกต่างกัน บางชนิดก็เป็นประสบการณ์ตรง บางชนิด
    เป็นประสบการณ์แทน บางชนิดเป็นประสบการณ์รูปธรรม
ลำาดับขันของการเรียนรู้
        ้

     ๒. ความเข้าใจ (understanding) หลังจากบุคคลได้
     รับประสบการณ์แล้ว ขั้นต่อไปก็คอ ตีความหมายหรือ
                                    ื
     สร้างมโนมติ (concept) ในประสบการณ์นั้น
     กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะ
     สมองจะเกิดสัญญาณ (percept) และมีความทรงจำา
     (retain) ขึ้น ซึงเราเรียกกระบวนการนี้ว่า "ความ
                     ่
     เข้าใจ"

               ในการเรียนรู้นั้น บุคคลจะเข้าใจ
     ประสบการณ์ที่เขาประสบได้กต่อเมื่อเขาสามารถจัด
                                    ็
     ระเบียบ (organize) วิเคราะห์ (analyze) และ
     สังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ตาง ๆ จนกระทั่ง
                                            ่
ลำาดับขันของการเรียนรู้
        ้


    ๓. ความนึกคิด (thinking) ความนึกคิดถือว่าเป็นขั้น
    สุดท้ายของการเรียนรู้ ซึงเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นใน
                              ่
    สมอง Crow (1948) ได้กล่าวว่า ความนึกคิดที่มี
    ประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นความนึกคิดที่สามารถจัด
    ระเบียบ (organize) ประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์
    ใหม่ที่ได้รับให้เข้ากันได้ สามารถที่จะค้นหาความ
    สัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ทั้งเก่าและใหม่ ซึงเป็น
                                                 ่
    หัวใจสำาคัญที่จะทำาให้เกิดบูรณาการการเรียนรู้อย่าง
    แท้จริง
การถ่ายโยงการเรียนรู้
             การถ่ายโยงการเรียนรูเกิดขึนได้ ๒
                                     ้       ้
      ลักษณะ คือ การถ่ายโยงการเรียนรูทาง       ้
      บวก (Positive Transfer) และการถ่าย
      โยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative
      Transfer)
             การถ่ายโยงการเรียนรูทางบวก้
      (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการ
      เรียนรูชนิดที่ผลของการเรียนรูงานหนึง
             ้                             ้     ่
      ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อกงานหนึ่ง
                                         ี
      ได้เร็วขึน ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น
               ้
การถ่ายโยงการเรียนรู้
    การถ่ายโยงการเรียนรูทางบวก มักเกิดจาก
                        ้
   ๑. เมื่องานหนึง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึง
                     ่                               ่
     และผู้เรียนเกิดการเรียนรูงานแรกอย่างแจ่มแจ้ง
                                 ้
     แล้ว
   ๒. เมือผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึง
           ่                                           ่
     กับอีกงานหนึ่ง
   ๓. เมือผู้เรียนมีความตังใจที่จะนำาผลการเรียนรู้จาก
         ่                   ้
     งานหนึงไปใช้ให้เป็นประโยชน์กบการเรียนรูอีก
                 ่                      ั          ้
     งานหนึง และสามารถจำาวิธีเรียนหรือผลของการ
                   ่
     เรียนรูงานแรกได้อย่างแม่นยำา
               ้
   ๔. เมือผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริมสร้างสรรค์
             ่                            ่
การถ่ายโยงการเรียนรู้
     การถ่ายโยงการเรียนรูทางลบ
                             ้
           คือการถ่ายโยงการเรียนรูชนิดที่ผล
     (Negative Transfer)            ้
     การเรียนรูงานหนึ่งไปขัดขวางทำาให้ผู้เรียน
                 ้
     เกิดการเรียนรู้อกงานหนึงได้ช้าลง หรือ
                       ี       ่
     ยากขึ้นและไม่ได้ดเท่าที่ควร การถ่ายโยง
                           ี
     การเรียนรูทางลบ อาจเกิดขึ้นได้ ๒ แบบ คือ
                   ้
    ๑. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผล
        ของการเรียนรูงานแรกไปขัดขวางการเรียนรู้
                         ้
        งานที่ ๒
    ๒. แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition)
        ผลการเรียนรูงานที่ ๒ ทำาให้การเรียนรู้งานแรก
                     ้
        น้อยลง
การเกิดการเรียนรู้
ทางลบมักเกิดจาก

- เมืองาน ๒ อย่างคล้ายกันมาก แต่ผู้เรียนยังไม่
      ่
  เกิดการเรียนรู้งานใดงานหนึงอย่างแท้จริงก่อนที่
                              ่
  จะเรียนอีกงานหนึง ทำาให้การเรียนงาน ๒ อย่าง
                     ่
  ในเวลาใกล้เคียงกันเกิดความสับสน
- เมือผู้เรียนต้องเรียนรูงานหลายๆ อย่างในเวลา
        ่                ้
  ติดต่อกัน ผลของการเรียนรูงานหนึ่งอาจไปทำาให้
                                ้
  ผู้เรียนเกิดความสับสนในการเรียนรู้อกงานหนึ่งได้
                                     ี
พฤติกรรมการเรียนรู้

   พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากการเรียนรู้จะต้องมี
   ลักษณะสำาคัญ นแปลงพฤติกรรมทีค่อนข้างคงทน
     มีการเปลี่ย ดังนี้           ่
      ถาวร
     การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้นจะต้องเป็นผลมา
      จากประสบการณ์ หรือการฝึก การปฏิบตซำ้าๆ
                                          ั ิ
      เท่านัน
            ้
     การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการ
      เพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรูสึกและ
                                              ้
      ความสามารถทางทักษะทั้งปริมาณและคุณภาพ
การนำาความรู้
   ไปใช้

           ๑. ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรูใหม่
                                             ้
  ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรูพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
                                   ้
  กับความรูใหม่มาแล้ว
                 ้
       ๒. พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจ
  ถึงจุดมุงหมายของการเรียนที่กอให้เกิด
            ่                          ่
  ประโยชน์แก่ตนเอง
       ๓. ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ
  และไม่มงหวังว่าผู้เรียนทุกคนจะต้องเกิดการ
              ุ่
  เรียนรูที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน
          ้
       ๔. ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่า
  ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดแล้วจึงจะสอนบท
                                     ี
  เรียนต่อไป

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
tuphung
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
poms0077
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
Sukanya Burana
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu
 

Mais procurados (15)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 

Destaque

Video for get fit warehouse
Video for get fit warehouseVideo for get fit warehouse
Video for get fit warehouse
shaunda41
 
Mld35 engine manual from sdshobby.net
Mld35 engine manual from sdshobby.netMld35 engine manual from sdshobby.net
Mld35 engine manual from sdshobby.net
sdshobby
 
Molly's Digital Poetry Book
Molly's Digital Poetry BookMolly's Digital Poetry Book
Molly's Digital Poetry Book
mmhummel
 
A mortality due to obstructed inguinal hernia with background aids
A mortality due to obstructed inguinal hernia with background aidsA mortality due to obstructed inguinal hernia with background aids
A mortality due to obstructed inguinal hernia with background aids
Asi-oqua Bassey
 
Catalogo de oferctas de Design Heart
Catalogo de oferctas de Design HeartCatalogo de oferctas de Design Heart
Catalogo de oferctas de Design Heart
Sara Lopez
 

Destaque (18)

Il futuro è digitale. L' agenda digitale per la tua azienda.- 25 settembre 20...
Il futuro è digitale. L' agenda digitale per la tua azienda.- 25 settembre 20...Il futuro è digitale. L' agenda digitale per la tua azienda.- 25 settembre 20...
Il futuro è digitale. L' agenda digitale per la tua azienda.- 25 settembre 20...
 
Video for get fit warehouse
Video for get fit warehouseVideo for get fit warehouse
Video for get fit warehouse
 
Hazon
HazonHazon
Hazon
 
MANS13-14
MANS13-14MANS13-14
MANS13-14
 
Strumenti operativi per vendere nei paesi del golfo - Romeo Pastore - Romiri srl
Strumenti operativi per vendere nei paesi del golfo - Romeo Pastore - Romiri srlStrumenti operativi per vendere nei paesi del golfo - Romeo Pastore - Romiri srl
Strumenti operativi per vendere nei paesi del golfo - Romeo Pastore - Romiri srl
 
Mld35 engine manual from sdshobby.net
Mld35 engine manual from sdshobby.netMld35 engine manual from sdshobby.net
Mld35 engine manual from sdshobby.net
 
Pecha kucha sultan bin abdulaziz humanitarian city(1)
Pecha kucha   sultan bin abdulaziz humanitarian city(1)Pecha kucha   sultan bin abdulaziz humanitarian city(1)
Pecha kucha sultan bin abdulaziz humanitarian city(1)
 
Al Asbab Profile 4
Al Asbab Profile 4Al Asbab Profile 4
Al Asbab Profile 4
 
Email marqueting amb mailchimp
Email marqueting amb mailchimpEmail marqueting amb mailchimp
Email marqueting amb mailchimp
 
Molly's Digital Poetry Book
Molly's Digital Poetry BookMolly's Digital Poetry Book
Molly's Digital Poetry Book
 
UNIM
UNIMUNIM
UNIM
 
The Costs of Business Electricity
The Costs of Business ElectricityThe Costs of Business Electricity
The Costs of Business Electricity
 
Seven Factors to Lose Weight the Healthy Way
Seven Factors to Lose Weight the Healthy WaySeven Factors to Lose Weight the Healthy Way
Seven Factors to Lose Weight the Healthy Way
 
A mortality due to obstructed inguinal hernia with background aids
A mortality due to obstructed inguinal hernia with background aidsA mortality due to obstructed inguinal hernia with background aids
A mortality due to obstructed inguinal hernia with background aids
 
0by0
0by0 0by0
0by0
 
Catalogo de oferctas de Design Heart
Catalogo de oferctas de Design HeartCatalogo de oferctas de Design Heart
Catalogo de oferctas de Design Heart
 
Preguntaskleinman.ppt
Preguntaskleinman.pptPreguntaskleinman.ppt
Preguntaskleinman.ppt
 
Powertac97
Powertac97Powertac97
Powertac97
 

Semelhante a 5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02

จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sarawut Tikummul
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
ป. ปิง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
honeylamon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
honeylamon
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
Tawanat Ruamphan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้12
จิตวิทยาการเรียนรู้12จิตวิทยาการเรียนรู้12
จิตวิทยาการเรียนรู้12
ป. ปิง
 

Semelhante a 5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02 (20)

จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้12
จิตวิทยาการเรียนรู้12จิตวิทยาการเรียนรู้12
จิตวิทยาการเรียนรู้12
 

5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02

  • 2. ามหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำา คือ Phyche แปลว่า วิญญาณ กับ Logos แปลว่า การศึกษา ตามรูปศัพท์ จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศกษาเกี่ยว ึ กับวิญญาณ แต่ในปัจจุบัน จิตวิทยาได้มีการ พัฒนาเปลียนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยา ่ ได้มีการพัฒนาเปลียนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ ่ จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของ มนุษย์และสัตว์
  • 3. การเรีการเรียนรู้ ยนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสำาคัญและ จำาเป็นในการดำารงชีวิต สิ่งมีชวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่ม ี เรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สำาหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็น สิ่งที่ชวยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ ่ ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราช สุดา ฯ ที่วา "สิ่งที่ทำาให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็ ่ เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา ที่จะนึกคิดและปฏิบัติสิ่งดี มีประโยชน์และถูกต้องได้ การเรียนรู้ชวยให้มนุษย์รู้จัก ่ วิธีดำาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพ แวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้ ความสามารถในการ เรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำาเร็จและความพึง พอใจในชีวตของมนุษย์ดวย ิ ้
  • 4. ความหมายของการ เรียนรู้  คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง“  ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และ การฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของ พฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตาม สัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิ กริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ “  คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการ แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อัน เป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคล
  • 5. ความหมายของการ เรียนรู้  พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมา จากสิ่งกระตุนอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การ ้ ปฏิบัติ หรือการฝึกฝน“  ประดินันท์ อุปรมัย (๒๕๔๐, ชุดวิชาพื้นฐานการ ศึกษา(มนุษย์กับการเรียนรู) : นนทบุร, พิมพ์ครังที่ ้ ี ้ ๑๕, หน้า ๑๒๑) “ การเรียนรูคอการเปลี่ยนแปลง ้ ื ของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับ ประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเหตุ ทำาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไป จากเดิม “ ประสบการณ์ที่กอให้เกิดการ ่
  • 6. ามหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้ การเรียนรู้ (Learning) ตามความหมาย ทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลียนแปลงพฤติกรรม ่ ของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจาก การฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรม เปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ พฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชัวคราว และการ ่ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
  • 7. จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้โดย บลูม และคณะ (Bloom and Others ) ๓ ด้าน ดังนี้  ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของ การเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุม พฤติกรรมประเภท ความจำา ความเข้าใจ การนำาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล  ๒. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของ การเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุม พฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การ ประเมินค่าและค่านิยม  ๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผล ของการเรียนรูที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ ้ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลือนไหว การกระ ่
  • 8. องค์ประกอบสำาคัญ ของการเรียนรู้ ดอลลาร์ด และ มิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ ประกอบสำาคัญ ๔ ประการ คือ  ๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายใน ตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้ง สมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและ ความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรม ที่จะชักนำาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป  ๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึนใน ้ สถานการณ์ต่างๆ ซึงเป็นตัวการที่ทำาให้บุคคลมี ่ ปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพ การเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการ สอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนำามาใช้
  • 9. องค์ประกอบสำาคัญ ของการเรียนรู้  ๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือ พฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระ ตุนจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่ ้ สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คำาพูด การคิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น  ๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มี อิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการ เชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การ เสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียน รู้ของบุคคลเป็นอันมาก
  • 10. ธรรมชาติของ การเรียนรู้  การเรียนรู้มลักษณะสำาคัญดังต่อ ี ไปนี้ ๑. การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการเรียนรู้ ของบุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนรูจากการ ้ ไม่รไปสู่การเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน คือ ู้ ๑.๑ มีสิ่งเร้ามากระตุนบุคคล ้ ๑.๒ บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททั้ง ๕ ๑.๓ บุคคลแปลความหมายหรือรับรูสิ่งเร้า ้ ๑.๔ บุคคลมีปฏิกิรยาตอบสนองอย่างใดอย่าง ิ หนึงต่อสิ่งเร้าตามที่รบรู้ ่ ั ๑.๕ บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบ สนองต่อสิ่งเร้า
  • 11. ธรรมชาติของ การเรียนรู้ Stimulu Percepti s Sensati on สิ่งเร้า on การรับรู้ ประสาท รับสัมผัส เกิดการ Respons Concept เรียนรู้ e Learning ความคิด การ ปฏิกิริยา รวบยอด เปลี่ยนแปล ตอบสนอง ง พฤติกรรม
  • 12. ธรรมชาติของ การเรียนรู้เริมเกิดขึนเมือมีสิ่งเร้า (Stimulus) ่ ้ ่ การเรียนบุคคล ระบบประสาทจะตืนตัวเกิดการ มากระตุ้ นรู้ ่ รับสัมผัส (Sensation) ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง ๕ แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองเพื่อแปลความ หมายโดยอาศัยประสบการณ์เดิมเป็นการรับรู้ (Perception)ใหม่ อาจสอดคล้องหรือแตกต่าง ไปจากประสบการณ์เดิม แล้วสรุปผลของการรับรู้ นั้น เป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Concept) และมีปฏิกิรยาตอบสนอง ิ (Response) อย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้า ตามที่ รับรู้ซึ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่า เกิดการเรียนรู้แล้ว
  • 13. ธรรมชาติของ ๒. การเรียนรูไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรูอาศัย การเรียนรู้ ้ ้ วุฒิภาวะ วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตสูงสุด ของพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของบุคคลแต่ละวัยที่เป็นไปตาม ธรรมชาติ แม้ว่าการเรียนรู้จะไม่ใช่วุฒิภาวะแต่ การเรียนรูตองอาศัยวุฒิภาวะด้วย เพราะการที่ ้ ้ บุคคลจะมีความสามารถในการรับรูหรือตอบ ้ สนองต่อสิ่งเร้ามากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กบว่า ั บุคคลนั้นมีวุฒิภาวะเพียงพอหรือไม่
  • 14. ธรรมชาติของ การเรียนรู้ ๓. การเรียนรูเกิดได้ง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งทีมี ้ ่ ความหมายต่อผู้เรียน การเรียนสิ่งที่มความหมายต่อผู้เรียน คือ การ ี เรียนในสิ่งที่ผู้เรียนต้องการจะเรียนหรือสนใจจะ เรียน เหมาะกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียนและเกิด ประโยชน์แก่ผู้เรียน การเรียนในสิ่งที่มีความหมาย ต่อผู้เรียนย่อมทำาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูได้ดกว่า ้ ี การเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนไม่ตองการหรือไม่สนใจ ้
  • 15. ธรรมชาติของ ๔. การเรียนรูแตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธการ ้ ี ในการเรียน ้ การเรียนรู ในการเรียนรูสิ่งเดียวกัน บุคคลต่างกันอาจ ้ เรียนรูได้ไม่เท่ากันเพราะบุคคลอาจมีความพร้อม ้ ต่างกัน มีความสามารถในการเรียนต่างกัน มี อารมณ์และความสนใจที่จะเรียนต่างกันและมีความรู้ เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่จะเรียน ต่างกัน ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน ถ้าใช้วิธเรียนต่าง ี กัน ผลของการเรียนรูอาจมากน้อยต่างกันได้ และ ้ วิธที่ทำาให้เกิดการเรียนรู้ได้มากสำาหรับบุคคลหนึ่ง ี อาจไม่ใช่วธีเรียนที่ทำาให้อีกบุคคลหนึ่งเกิดการเรียน ิ รูได้มากเท่ากับบุคคลนั้นก็ได้ ้
  • 16. ลำาดับขันของการเรียนรู้ ้ ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะ ประกอบด้วยลำาดับขันตอน พื้นฐานที่สำาคัญ ๓ ้ ๑. ขั้นตอนด้วยกัน คือ ประสบการณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทุกคน จะมีประสาทรับรู้อยู่ดวยกันทั้งนั้น ส่วนใหญ่ที่เป็นที่เข้าใจ ้ ก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และ ผิวหนัง ประสาทรับรู้เหล่านี้จะเป็นเสมือนช่องประตูที่จะ ให้บุคคลได้รับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ ถ้าไม่มี ประสาทรับรู้เหล่านี้แล้ว บุคคลจะไม่มีโอกาสรับรู้หรือมี ประสบการณ์ใด ๆ เลย ซึงก็เท่ากับเขาไม่สามารถเรียนรู้ ่ สิ่งใด ๆ ได้ดวยประสบการณ์ตาง ๆ ที่บุคคลได้รับนั้นย่อม ้ ่ จะแตกต่างกัน บางชนิดก็เป็นประสบการณ์ตรง บางชนิด เป็นประสบการณ์แทน บางชนิดเป็นประสบการณ์รูปธรรม
  • 17. ลำาดับขันของการเรียนรู้ ้ ๒. ความเข้าใจ (understanding) หลังจากบุคคลได้ รับประสบการณ์แล้ว ขั้นต่อไปก็คอ ตีความหมายหรือ ื สร้างมโนมติ (concept) ในประสบการณ์นั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะ สมองจะเกิดสัญญาณ (percept) และมีความทรงจำา (retain) ขึ้น ซึงเราเรียกกระบวนการนี้ว่า "ความ ่ เข้าใจ" ในการเรียนรู้นั้น บุคคลจะเข้าใจ ประสบการณ์ที่เขาประสบได้กต่อเมื่อเขาสามารถจัด ็ ระเบียบ (organize) วิเคราะห์ (analyze) และ สังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ตาง ๆ จนกระทั่ง ่
  • 18. ลำาดับขันของการเรียนรู้ ้ ๓. ความนึกคิด (thinking) ความนึกคิดถือว่าเป็นขั้น สุดท้ายของการเรียนรู้ ซึงเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นใน ่ สมอง Crow (1948) ได้กล่าวว่า ความนึกคิดที่มี ประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นความนึกคิดที่สามารถจัด ระเบียบ (organize) ประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ ใหม่ที่ได้รับให้เข้ากันได้ สามารถที่จะค้นหาความ สัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ทั้งเก่าและใหม่ ซึงเป็น ่ หัวใจสำาคัญที่จะทำาให้เกิดบูรณาการการเรียนรู้อย่าง แท้จริง
  • 19. การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรูเกิดขึนได้ ๒ ้ ้ ลักษณะ คือ การถ่ายโยงการเรียนรูทาง ้ บวก (Positive Transfer) และการถ่าย โยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer) การถ่ายโยงการเรียนรูทางบวก้ (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการ เรียนรูชนิดที่ผลของการเรียนรูงานหนึง ้ ้ ่ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อกงานหนึ่ง ี ได้เร็วขึน ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น ้
  • 20. การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรูทางบวก มักเกิดจาก ้ ๑. เมื่องานหนึง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึง ่ ่ และผู้เรียนเกิดการเรียนรูงานแรกอย่างแจ่มแจ้ง ้ แล้ว ๒. เมือผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึง ่ ่ กับอีกงานหนึ่ง ๓. เมือผู้เรียนมีความตังใจที่จะนำาผลการเรียนรู้จาก ่ ้ งานหนึงไปใช้ให้เป็นประโยชน์กบการเรียนรูอีก ่ ั ้ งานหนึง และสามารถจำาวิธีเรียนหรือผลของการ ่ เรียนรูงานแรกได้อย่างแม่นยำา ้ ๔. เมือผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริมสร้างสรรค์ ่ ่
  • 21. การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรูทางลบ ้ คือการถ่ายโยงการเรียนรูชนิดที่ผล (Negative Transfer) ้ การเรียนรูงานหนึ่งไปขัดขวางทำาให้ผู้เรียน ้ เกิดการเรียนรู้อกงานหนึงได้ช้าลง หรือ ี ่ ยากขึ้นและไม่ได้ดเท่าที่ควร การถ่ายโยง ี การเรียนรูทางลบ อาจเกิดขึ้นได้ ๒ แบบ คือ ้ ๑. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผล ของการเรียนรูงานแรกไปขัดขวางการเรียนรู้ ้ งานที่ ๒ ๒. แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการเรียนรูงานที่ ๒ ทำาให้การเรียนรู้งานแรก ้ น้อยลง
  • 22. การเกิดการเรียนรู้ ทางลบมักเกิดจาก - เมืองาน ๒ อย่างคล้ายกันมาก แต่ผู้เรียนยังไม่ ่ เกิดการเรียนรู้งานใดงานหนึงอย่างแท้จริงก่อนที่ ่ จะเรียนอีกงานหนึง ทำาให้การเรียนงาน ๒ อย่าง ่ ในเวลาใกล้เคียงกันเกิดความสับสน - เมือผู้เรียนต้องเรียนรูงานหลายๆ อย่างในเวลา ่ ้ ติดต่อกัน ผลของการเรียนรูงานหนึ่งอาจไปทำาให้ ้ ผู้เรียนเกิดความสับสนในการเรียนรู้อกงานหนึ่งได้ ี
  • 23. พฤติกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากการเรียนรู้จะต้องมี ลักษณะสำาคัญ นแปลงพฤติกรรมทีค่อนข้างคงทน  มีการเปลี่ย ดังนี้ ่ ถาวร  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้นจะต้องเป็นผลมา จากประสบการณ์ หรือการฝึก การปฏิบตซำ้าๆ ั ิ เท่านัน ้  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการ เพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรูสึกและ ้ ความสามารถทางทักษะทั้งปริมาณและคุณภาพ
  • 24. การนำาความรู้ ไปใช้  ๑. ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรูใหม่ ้ ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรูพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ้ กับความรูใหม่มาแล้ว ้  ๒. พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจ ถึงจุดมุงหมายของการเรียนที่กอให้เกิด ่ ่ ประโยชน์แก่ตนเอง  ๓. ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มงหวังว่าผู้เรียนทุกคนจะต้องเกิดการ ุ่ เรียนรูที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน ้  ๔. ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดแล้วจึงจะสอนบท ี เรียนต่อไป