SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
Interhospital Chest Conference
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (29 พฤศจิกายน 2550)
วนิดา เปาอินทร*, พรรณพัชร พิริยะนนท*, กานต แตงเที่ยง**
*ภาควิชากุมารเวชศาสตร, **ภาควิชารังสิวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ผูปวยเด็กชายไทย อายุ 8 สัปดาห ภูมิลําเนา จ.ปทุมธานี ประวัตไดจากมารดา เชือถือได 90%
ิ
่
CC: หายใจเสียงดัง 2 วัน
PI: 8 สัปดาห PTA มีเสียงหายใจครืดคราดตั้งแตแรกเกิด ไมหอบ ดูดนมไดดี
2 วัน PTA หายใจเสียงดัง ไอมีเสมหะในคอ ไขต่ําๆ กินไดลดลง ไมซึม
PH: คลอดปกติ ครบกําหนด น้ําหนักแรกเกิด 3,900 กรัม apgar 9,10
หายใจครืดคราดตั้งแตเกิด ไมมีประวัติสําลัก ดูดนมดี ไมเหนื่อย ไมสัมพันธกับทานอน
อายุ 1 เดือน เปนหวัด อาการหายใจเสียงดังมากขึ้นจนมีอาการเหนื่อยขณะดูดนม หนาอกบุม
สงเสียงอือออ สบตา ยิ้ม
Vaccination: BCG, HBV1
Nutrition: IF 4 0z x 6 feeds
PE: A Thai boy infant, active, mild dyspnea, inspiratory & expiratory stridor, no cyanosis, not pale
V/S: RR 40 /min, PR 100 /min , BP90/56 mmHg, BT 37.8OC
BW 6,900 gm, Ht 56 cm, HC 38 cm, no dysmorphic feature
HEENT: AF 2x2 cm
Heart: normal S1S2, no murmur
Lung: equal breath sound, good air entry
Abdomen: no distension, liver - 1 cm below RCM, spleen - not palpable
Extremity: no deformity
Skin: no skin lesion
Neurologic: motor - gr V all, DTR 2+ all, BBK - plantar response
Assessment: Upper airway obstruction ของทารกรายนี้ มีขอสังเกตดังตอไปนี้
- การที่มีอาการหายใจเสียงดังตั้งแตแรกเกิดควรสงสัยความผิดปรกติทางระบบหายใจสวนบนที่
เปนแตกําเนิด
- การไมมีเสียงแหบทําใหคิดถึงปญหาที่ vocal cord ลดลง
- การไดยนเสียง biphasic stridor ทําใหคิดถึง intrathoracic airway มากขึน
ิ
้
- Stridor ไมเปลียนแปลงเมื่อเปลี่ยนทานอน ทําใหคิดถึง laryngomalacia (ซึ่งเปน congenital
่
upper airway anomaly ที่พบบอยที่สุด) นอยลง
- ขณะที่มการติดเชื้อในระบบหายใจสวนบน จะเหนื่อยมากขึ้น เปนลักษณะที่พบไดเสมอใน
ี
ผูปวยที่มี underlying airway obstruction
- การเจริญเติบโตปรกติ การดูดนมปรกติในขณะที่ไมมการติดเชื้อระบบหายใจ แสดงใหเห็นวา
ี
อาการของการอุดกั้นทางเดินหายใจไมรุนแรงจนถึงมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต
- การพิจารณาสงตรวจเพิ่มเติมในกรณีที่มีอาการทางเดินหายใจสวนบนอุดกั้นแตกําเนิดขึ้นอยูกับ
การดําเนินโรค ถาในกรณีทอาการเขาไดกบ layngomalacia โดยมี inspiratory stridor เปลี่ยนทา
ี่
ั
นอนแลวดีขึ้น เสียงไมแหบ อาการไมรนแรง ไมรบกวนการเจริญเติบโต ติดตามอาการแลวดี
ุ
ขึ้นเรื่อยๆ อาจไมจําเปนตองสงตรวจเพิ่มเติม แตถามีอาการไมเหมือน laryngomalacia หรือมี
อาการรุนแรง ควรสงตรวจเพิ่มเติม ผูปวยรายนี้มี biphasic stridor เปลียนทาแลวไมดขึ้น ขณะมี

่
ี
การติดเชื้อทางเดินหายใจสวนตน มีปญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจที่มากขึ้นจนตองรับการ

รักษาในโรงพยาบาล จึงควรตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาสาเหตุ
Initial investigation
CBC: WBC 11,400/mm3, PMN 32%, L 66%, M 2%, Hct 30%, plt 650,000/mm3
UA, electrolytes, BUN, Cr: WNL
รูปที่ 1 Chest film: The trachea is not well visualized. Both main bronchi are patent. There is no
pulmonary infiltration.

รูปที่ 1

รูปที่ 2 Lateral neck: The trachea is diffusely narrow (arrows)

รูปที่ 2

Hospital course:
ถึงแมวาผูปวยรายนี้ควรไดรบการตรวจเพิมเติมเพื่อหาสาเหตุ แตระยะที่ผูปวยมีอาการมากจาก
ั
่
การติดเชื้อ ควรไดรับการรักษาใหผูปวยดีขึ้นกอน

ผูปวยไดรับการรักษา ดวย ampicillin IV, dexamethasone IV (single dose), adrenalin
nebulization (p.r.n.) ผูปวยอาการดีขึ้นสามารถกลับบานหลังจากอยูโรงพยาบาล 5 วัน และไดนัดมาเพื่อ

ตรวจเพิ่มเติม
Further investigation:
Bronchoscope: anterior compression at mid trachea from a left inferior to right superior direction,
accompanied by tracheomalacia
รูปที่ 3

รูปที่ 3 Esphagography frontal view

รูปที่ 4

รูปที่ 4 Lateral view: Normal esophagography. No extraluminal compression in both anteroposterior
and lateral view
รูปที่ 5-8 CT Angiography of the thoracic aorta

รูปที่ 5

รูปที่ 5: The origin of the innominate artery is on the left
side of the trachea (arrow).
รูปที่ 6

รูปที่ 7

รูปที่ 8

รูปที่ 6 Axial view, รูปที่ 7 Coronal MIP image, และ รูปที่ 8 MIP 3D reconstruction: The
innominate artery across the trachea anteriorly and cause anterior indentation to trachea (arrow).

รูปที่ 9

รูปที่ 10

Diagnosis:
1. Tracheomalacia
2. Innominate artery compression on the trachea

รูปที่ 9 Sagittal MIP image และ
รูปที่ 10 MinIP 3D
reconstruction: Focal
narrowing of trachea at the level
that innominate artery across
anteriorly. There is also diffuse
narrowing of the thrachea,
owing to tracheomalacia.

Treatment:
การรักษาขึ้นกับความรุนแรงของอาการ ในรายนี้อาการนอย ไมมีปญหาการเจริญเติบโต จึงให

การรักษาแบบประคับประคอง แนะนําปองกันการติดเชือทางเดินหายใจ และถามีการติดเชื้อทางเดิน
้
หายใจ ควรรีบใหการรักษา

Tracheobronchomalacia (TBM)
TBM เปนภาวะที่พบไดนอยในทารกและเด็ก เปนความผิดปรกติของหลอดลมที่ยืดหยุน
ผิดปรกติ อาจเปนความผิดปกติอยางเดียว (primary TBM) หรือพบรวมกับความผิดปรกติอน (ตารางที่
ื่
1) ไดแก esophageal atresia, tracheoesophageal fistula (TEF), การกดจากภายนอกเชน หลอดเลือดแดง
หรือกอนเนื้อ และสาเหตุที่พบไดนอยมากคือ collagen-like dyschondroplasia หรือ polychondritis และ
อาจพบมีความผิดปรกติของ mucociliary clearance รวมดวย
ผูปวยสวนใหญสามารถหายไดดี โดยมักจะหายภายใน 1-2 ป ผูปวยที่มอาการรุนแรงจนถึงกับมี

ี
การหยุดหายใจ มีปอดบวมเปนซ้ํา หรือไมสามารถหยุดการใชเครื่องชวยหายใจ อาจตองทําผาตัดรักษา
พยาธิสรีรวิทยา
่
ในหลอดลมปรกติ จะมีกระดูกออนชวยใหมีการคงรูปแมจะมีการเปลียนความดันจากการ
หายใจ หรือขณะความดันในทรวงอกเปลียนแปลง โดยขณะหายใจออกแรงดันในชองทรวงอกเพิมมาก
่
่
ขึ้นทําใหหลอดลมมีขนาดเล็กลง กระดูกออนที่มีความยืดหยุนมากกวาปรกติใน TBM ทําใหหลอดลม
ตีบแคบลงทางดานหนาหลัง (anteroposterior) นอกจากนียังถูกกดจากโครงสรางใกลเคียงได เชน aorta
้
ทางดานหนา หลอดอาหารทางดานหลังไดงาย ทําใหเกิดการตีบแคบมากขึ้น
พยาธิวิทยา
ในภาวะ primary TBM กระดูกออนของหลอดลมคอ (trachea) เจริญเติบโตนอยกวาคนทั่วไป
ความหนาของกระดูกออนลดลง สวนภาวะ secondary TBM มีสมมุติฐานวาหลอดลมคอที่ถูกกดตังแต
้
อยูในครรภ เชน หลอดอาหารทีโปงออกเปนกระเปาะ (dilated esophageal pouch) หลอดเลือดแดงที่
่
เจริญผิดปรกติ หรือกอนเนื้ออื่น เปนสาเหตุใหกระดูกออนมีการเจริญผิดปรกติ มีขนาดเล็กกวาปรกติ ทํา
ใหหลอดลมคอออนตัวไมคงรูป สัดสวน membranous trachea เพิ่มขึ้น เปนผลใหหลอดลมตีบแคบลง
ทางดานหนาหลัง
ตารางที่ 1 Secondary causes of tracheobronchomalacia
1. Esophageal atresia with TEF
2. การกดจากภายนอก
- Vascular causes (innominate artery, aortic arch ring, pulmonary artery sling)
- Cardiac causes (enlarged left atrium, enlarged pulmonary arteries, enlarged
pulmonary veins)
- Cysts (lymphatic malformations, thymic cysts, bronchogenic cysts)
- Mediastinal neoplasm (teratoma, lymphoma, neuroblastoma)
- การติดเชื้อ (abscess)
3. การคาทอชวยหายใจไวนาน
4. Chondrodysplasias
5. Posttraumatic result (or following tracheoplasty)
อาการและอาการแสดง
ผูปวย TBM อาจแสดงอาการไดตั้งแตเกิด แตสวนใหญจะมีอาการหลังอายุ 2 เดือน อาการที่
พบมากที่สุดคือ brassy cough และ expiratory stridor อาการรุนแรงที่สุดคือ dying spells หรือ death
attacks ซึ่งมักจะเกิดขณะใหอาหารหรือภายใน 10 นาทีหลังมื้ออาหาร ผูปวยจะเขียว หยุดหายใจ และ
มักจะมีตวออน เชื่อวาเกิดจากอาหารทําใหหลอดอาหารขยายตัว ไปกดหลอดลมคอทีออนจากทาง
ั
่
ดานหลัง และถายังคงใหอาหารตอ อาจเปนมากขึ้นจนถึงปอดและหัวใจหยุดทํางานได นอกจากนียงพบ
้ั
การติดเชื้อในระบบหายใจพบไดบอย เนื่องจากมีเสมหะสะสมในหลอดลมสวนปลายเนื่องจาก
หลอดลมที่ตีบตอนสิ้นสุดการหายใจออก ซึ่งเปนผลใหเกิดปอดบวมเปนซ้ําได
การรักษา
ผูปวยเด็กจํานวนมากทีไมจําเปนตองใหการรักษาเฉพาะ เมื่อเด็กโต กระดูกออนหลอดลมคอจะ
่
ตรง และคงรูปมากขึ้น ในเด็กที่มีอาการนอยถึงปานกลางอาการมักจะหายไปภายใน 1-2 ป ดังนั้น
แนะนําใหรกษาตามอาการในรายที่มีอาการนอย ซึ่งรวมถึงการรักษาภาวะติดเชื้อในระบบทางเดิน
ั
หายใจ การใหออกซิเจน การชวยระบายเสมหะ ผูปวยที่อาการไมดีขึ้นเอง หรือมีอาการรุนแรงที่อาจเปน
อันตรายถึงชีวต ควรพิจารณาการรักษาเฉพาะ ไดแกการใส tracheotomy tubes ทารกที่จําเปนตองเจาะ
ิ
คอมีรายงานแตกตางกันตั้งแต 12-62%
การใช Continuous positive airway pressure (CPAP) ไดผลดีในการักษา TBM ที่มีอาการปาน
กลางถึงรุนแรง เนื่องจากทําใหเกิด “pneumatic stent” ชวยใหหลอดลมไมยุบตัวขณะหายใจ แตการใช

CPAP มีขอเสียเนื่องจากทําใหเริ่มใหอาหารทางปากไดชา ทําใหเริ่มพูดชา พัฒนาการดานภาษาชา และมี
แนวโนมที่จะมีพัฒนาการชา
ผูปวยที่อาการรุนแรงหรือมีอาการที่อาจรุนแรงถึงขันเสียชีวิต อาจตองพิจารณาทําผาตัด ขอ
้
บงชี้ในการทําผาตัดไดแก ปอดบวมเปนซ้ํา การอุดกั้นทางเดินหายใจรุนแรง ภาวะ dying spells หรือการ
ไมสามารถถอดทอหลอดลมคอออกได ผูปวยเปน TBM ที่มีสาเหตุจากความผิดปรกติของหลอดเลือด

การผาตัดใชวธี aortopexy โดยเย็บผนัง aorta ไปติดกับผิวกระดูกอก เพือดึงผนังหลอดลมคอไป
ิ
่
ดานหนา ทําใหเพิ่มความกวางดานหนาหลัง แตการทํา aortopexy อาจไมไดผลดีเสมอไป การทําผาตัด
แบบอื่นที่อาจทําไดคือ external splinting with autologous materials สวนการใช internal tracheal stent
ขอดีคือใชเวลานอย less invasive แตมภาวะแทรกซอนไดแก granulation เอาออกยาก stent หักตอง
ี
เปลี่ยน stent เลื่อนที่ และเสียชีวิต

Anomalous innominate artery
Vascular ring เปนความผิดปกติแตกาเนิดของ aortic arch ที่ทําใหมีการกดตอหลอดลมคอ และ
ํ
หลอดอาหาร โดยการเชื่อมตอกันของบางสวนของ aortic arch และแขนงของ aortic arch พบวา
vascular ring เปนเสนเลือดผิดปกติที่สําคัญที่สุดที่เปนสาเหตุของ tracheal obstruction
Vascular ring แบงเปน 2 ชนิดคือ double aortic arch และ variant right aortic arch with an
aberrant left subclavian artery and ductal remnant
Double aortic arch เปนหนึ่งในสองของ vascular ring ที่พบบอยที่สุด และเปนสาเหตุที่พบบอย
ที่สุดของที่ทําใหเกิดอาการในทารกและเด็กเล็ก สวน anomalous innominate artery ถือวาเปนความผิด
ปกติของหลอดเลือดใน aortic arch ที่พบไดบอยอยางหนึ่ง แตสวนใหญไมทําใหเกิดอาการผิดปกติ
พยาธิสรีรวิทยา
ในชวงระยะแรกของการสรางตัวออนจะมี pharyngeal arch arteries 6 คูที่เจริญพรอมกับ
branchial pouch ตอมาเมื่อตัวออนเจริญเติบโตขึ้น arch คูที่ 1,2,5 และ right dorsal aorta จะสลายไป
และ arch คูที่ 3,4,6 และ left dorsal aorta จะเจริญเปน aortic arch และแขนงที่ปกติ โดย arch คูที่ 3 เจริญ
เปน common caroitd arteries และ internal carotid arteries, arch คูที่ 4 เจริญเปน aortic arch, arch คูที่ 4
ดานขวาเจริญเปน innominate artery , arch คูที่ 6 สวนปลายดานซายเจริญเปน ductus arteriosus, left
dorsal aorta เจริญเปน descending aorta และ intersegmental arteries ทั้งสองขางเจริญเปน subclavian
arteries
ตารางที่2 แสดงความสัมพันธระหวางตําแหนงของรอยกดรัดบนหลอดลมและหลอดอาหารจาก
barium esophagogram กับความผิดปกติของหลอดเลือดที่กดรัด

Park: Pediatric Cardiology for Practitioners, 4th ed., Copyright ©2002 Mosby, Inc
พยาธิวิทยา
ความผิดปกติในตําแหนงของ anomalous innominate artery จะวางออกจากดานซายไป
ดานขวา หนาตอหลอดลมคอดังรูป และการกดเบียดทําใหเกิดอาการการอุดกันทางเดินหายใจสวนบน
้
โดยจะมีปญหาในชวงหายใจเขามากกวาชวงหายใจออก ความรุนแรงของการอุดกั้นขึนกับความรุนแรง
้
ของการกดทางเดินหายใจ นอกจากนีภาวะ tracheomalacia ยังทําใหอาการมากขึ้น และพบวาอาการจะดี
้
ขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น เนื่องจากมีการพัฒนาของ aortic arch ทําให innominate artery เลือนมาดานหนาและ
่
ดานขวามากขึน การกดเบียดหลอดลมลดลง สวนปญหาเกี่ยวกับการกลืนจะไมพบใน anomalous
้
innominate artery เนื่องจากไมกดเบียดหลอดอาหาร
การตรวจภาพรังสี
ภาพรังสีทรวงอก: การวินิจฉัยโดยถายภาพรังสีในทา lateral อาจพบตําแหนงของรอยตีบแคบ
อยูหนาตอหลอดลมคอเหนือ carina เล็กนอย แตในเด็กทารกการวินจฉัยอาจทําไดยาก เนื่องจากมีเงา
ิ
ของตอมไทมัส บริเวณ superior mediastinum รวมดวย
Barium esophagogram: ปกติ
Bronchoscopy: พบ pulsatile กดจากดานหนาตอหลอดลมคอเหนือ carina 1-2 เซนติเมตร
MRI และ CT ถือเปนการตรวจที่ดีที่สุด โดยสามารถใหขอมูลเกียวกับแขนงหลอดเลือดแดง

่
ตําแหนงของหลอดลมและหลอดอาหารที่โดนกดเบียด และยังสามารถดูความผิดปกติของหัวใจไดดวย
นอกจากนั้นการสรางภาพ 3 มิติ ยังเปนประโยชนกับการวางแผนผาตัด
การรักษา
การรักษาประคับประคอง ในกรณีที่อาการไมรุนแรง
การผาตัด ขอบงชี้ขึ้นกับความรุนแรงจากการกดตอทางเดินหายใจและหลอดอาหาร และอาจ
พิจารณาในผูปวยที่ตองรับการผาตัดความผิดปกติอยางอื่นในทรวงอก เชนมีความผิดปกติของหัวใจ

หลอดเลือดที่จาเปนตองรับการผาตัด
ํ
เอกสารอางอิง
1. McLaughlin RB, Wetmore RF, Tavill MA, Gaynor JW, Spray TL. Vascular anomalies causing
symptomatic tracheobronchial compression. Laryngoscope 1999;109:312-9.
2. Ahmad SM, Soliman AMS. Congenital anomalies of the larynx. Otolaryngol Clin N Am
2007;40:177-91.
3. Sandu K, Monnier P. Congenital tracheal anomalies. Otolaryngol Clin N Am 2007;40:193-217
4. Kuhn JP. Diseases of the airways and abnormalities of pulmonary aeration. In: Kuhn JP, Slovis
TL, Haller JO, editors. Caffey’s Pediatric diagnostic imaging. 10th ed. C.V. Mosby. 2004.p.941-2.
5. Berdon WE. Rings, slings, and other things: vascular compression of the infant trachea updated
from the midcentury to the millennium--the legacy of Robert E. Gross, MD, and Edward B. D.
Neuhauser, MD. Radiology 2000;216:624-32.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
Ozone Thanasak
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
techno UCH
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
Fmz Npaz
 

Mais procurados (20)

Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgery
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
Malaria
MalariaMalaria
Malaria
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Nl part ii march 2009
Nl part ii march 2009Nl part ii march 2009
Nl part ii march 2009
 

Destaque (7)

Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
 
Shrinkage
ShrinkageShrinkage
Shrinkage
 
EnerPro | Energieonderzoek
EnerPro | EnergieonderzoekEnerPro | Energieonderzoek
EnerPro | Energieonderzoek
 
Presentatie Rabo Fietsdag
Presentatie Rabo FietsdagPresentatie Rabo Fietsdag
Presentatie Rabo Fietsdag
 
Cost Management
Cost ManagementCost Management
Cost Management
 
Resume mod web
Resume mod webResume mod web
Resume mod web
 
Shock
ShockShock
Shock
 

Semelhante a Interhospital chest conference

โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
Exercise national license_part_ii_march_2009_2
Exercise national license_part_ii_march_2009_2Exercise national license_part_ii_march_2009_2
Exercise national license_part_ii_march_2009_2
Loveis1able Khumpuangdee
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
Wan Ngamwongwan
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Body
yinyinyin
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
taem
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
นายสามารถ เฮียงสุข
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
Wan Ngamwongwan
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Narenthorn EMS Center
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
taem
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
ERppk
 

Semelhante a Interhospital chest conference (20)

Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
Nl part ii march 2009
Nl part ii march 2009Nl part ii march 2009
Nl part ii march 2009
 
Exercise national license_part_ii_march_2009_2
Exercise national license_part_ii_march_2009_2Exercise national license_part_ii_march_2009_2
Exercise national license_part_ii_march_2009_2
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Body
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
 
National license 2010 by med tu 16
National license 2010 by med tu 16National license 2010 by med tu 16
National license 2010 by med tu 16
 
National license 2010 by med tu 16
National license 2010 by med tu 16National license 2010 by med tu 16
National license 2010 by med tu 16
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 

Interhospital chest conference

  • 1. Interhospital Chest Conference คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (29 พฤศจิกายน 2550) วนิดา เปาอินทร*, พรรณพัชร พิริยะนนท*, กานต แตงเที่ยง** *ภาควิชากุมารเวชศาสตร, **ภาควิชารังสิวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ผูปวยเด็กชายไทย อายุ 8 สัปดาห ภูมิลําเนา จ.ปทุมธานี ประวัตไดจากมารดา เชือถือได 90% ิ ่ CC: หายใจเสียงดัง 2 วัน PI: 8 สัปดาห PTA มีเสียงหายใจครืดคราดตั้งแตแรกเกิด ไมหอบ ดูดนมไดดี 2 วัน PTA หายใจเสียงดัง ไอมีเสมหะในคอ ไขต่ําๆ กินไดลดลง ไมซึม PH: คลอดปกติ ครบกําหนด น้ําหนักแรกเกิด 3,900 กรัม apgar 9,10 หายใจครืดคราดตั้งแตเกิด ไมมีประวัติสําลัก ดูดนมดี ไมเหนื่อย ไมสัมพันธกับทานอน อายุ 1 เดือน เปนหวัด อาการหายใจเสียงดังมากขึ้นจนมีอาการเหนื่อยขณะดูดนม หนาอกบุม สงเสียงอือออ สบตา ยิ้ม Vaccination: BCG, HBV1 Nutrition: IF 4 0z x 6 feeds PE: A Thai boy infant, active, mild dyspnea, inspiratory & expiratory stridor, no cyanosis, not pale V/S: RR 40 /min, PR 100 /min , BP90/56 mmHg, BT 37.8OC BW 6,900 gm, Ht 56 cm, HC 38 cm, no dysmorphic feature HEENT: AF 2x2 cm Heart: normal S1S2, no murmur Lung: equal breath sound, good air entry Abdomen: no distension, liver - 1 cm below RCM, spleen - not palpable Extremity: no deformity Skin: no skin lesion Neurologic: motor - gr V all, DTR 2+ all, BBK - plantar response
  • 2. Assessment: Upper airway obstruction ของทารกรายนี้ มีขอสังเกตดังตอไปนี้ - การที่มีอาการหายใจเสียงดังตั้งแตแรกเกิดควรสงสัยความผิดปรกติทางระบบหายใจสวนบนที่ เปนแตกําเนิด - การไมมีเสียงแหบทําใหคิดถึงปญหาที่ vocal cord ลดลง - การไดยนเสียง biphasic stridor ทําใหคิดถึง intrathoracic airway มากขึน ิ ้ - Stridor ไมเปลียนแปลงเมื่อเปลี่ยนทานอน ทําใหคิดถึง laryngomalacia (ซึ่งเปน congenital ่ upper airway anomaly ที่พบบอยที่สุด) นอยลง - ขณะที่มการติดเชื้อในระบบหายใจสวนบน จะเหนื่อยมากขึ้น เปนลักษณะที่พบไดเสมอใน ี ผูปวยที่มี underlying airway obstruction - การเจริญเติบโตปรกติ การดูดนมปรกติในขณะที่ไมมการติดเชื้อระบบหายใจ แสดงใหเห็นวา ี อาการของการอุดกั้นทางเดินหายใจไมรุนแรงจนถึงมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต - การพิจารณาสงตรวจเพิ่มเติมในกรณีที่มีอาการทางเดินหายใจสวนบนอุดกั้นแตกําเนิดขึ้นอยูกับ การดําเนินโรค ถาในกรณีทอาการเขาไดกบ layngomalacia โดยมี inspiratory stridor เปลี่ยนทา ี่ ั นอนแลวดีขึ้น เสียงไมแหบ อาการไมรนแรง ไมรบกวนการเจริญเติบโต ติดตามอาการแลวดี ุ ขึ้นเรื่อยๆ อาจไมจําเปนตองสงตรวจเพิ่มเติม แตถามีอาการไมเหมือน laryngomalacia หรือมี อาการรุนแรง ควรสงตรวจเพิ่มเติม ผูปวยรายนี้มี biphasic stridor เปลียนทาแลวไมดขึ้น ขณะมี  ่ ี การติดเชื้อทางเดินหายใจสวนตน มีปญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจที่มากขึ้นจนตองรับการ  รักษาในโรงพยาบาล จึงควรตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาสาเหตุ Initial investigation CBC: WBC 11,400/mm3, PMN 32%, L 66%, M 2%, Hct 30%, plt 650,000/mm3 UA, electrolytes, BUN, Cr: WNL
  • 3. รูปที่ 1 Chest film: The trachea is not well visualized. Both main bronchi are patent. There is no pulmonary infiltration. รูปที่ 1 รูปที่ 2 Lateral neck: The trachea is diffusely narrow (arrows) รูปที่ 2 Hospital course: ถึงแมวาผูปวยรายนี้ควรไดรบการตรวจเพิมเติมเพื่อหาสาเหตุ แตระยะที่ผูปวยมีอาการมากจาก ั ่ การติดเชื้อ ควรไดรับการรักษาใหผูปวยดีขึ้นกอน  ผูปวยไดรับการรักษา ดวย ampicillin IV, dexamethasone IV (single dose), adrenalin nebulization (p.r.n.) ผูปวยอาการดีขึ้นสามารถกลับบานหลังจากอยูโรงพยาบาล 5 วัน และไดนัดมาเพื่อ  ตรวจเพิ่มเติม Further investigation: Bronchoscope: anterior compression at mid trachea from a left inferior to right superior direction, accompanied by tracheomalacia
  • 4. รูปที่ 3 รูปที่ 3 Esphagography frontal view รูปที่ 4 รูปที่ 4 Lateral view: Normal esophagography. No extraluminal compression in both anteroposterior and lateral view รูปที่ 5-8 CT Angiography of the thoracic aorta รูปที่ 5 รูปที่ 5: The origin of the innominate artery is on the left side of the trachea (arrow).
  • 5. รูปที่ 6 รูปที่ 7 รูปที่ 8 รูปที่ 6 Axial view, รูปที่ 7 Coronal MIP image, และ รูปที่ 8 MIP 3D reconstruction: The innominate artery across the trachea anteriorly and cause anterior indentation to trachea (arrow). รูปที่ 9 รูปที่ 10 Diagnosis: 1. Tracheomalacia 2. Innominate artery compression on the trachea รูปที่ 9 Sagittal MIP image และ รูปที่ 10 MinIP 3D reconstruction: Focal narrowing of trachea at the level that innominate artery across anteriorly. There is also diffuse narrowing of the thrachea, owing to tracheomalacia. Treatment: การรักษาขึ้นกับความรุนแรงของอาการ ในรายนี้อาการนอย ไมมีปญหาการเจริญเติบโต จึงให  การรักษาแบบประคับประคอง แนะนําปองกันการติดเชือทางเดินหายใจ และถามีการติดเชื้อทางเดิน ้ หายใจ ควรรีบใหการรักษา Tracheobronchomalacia (TBM) TBM เปนภาวะที่พบไดนอยในทารกและเด็ก เปนความผิดปรกติของหลอดลมที่ยืดหยุน ผิดปรกติ อาจเปนความผิดปกติอยางเดียว (primary TBM) หรือพบรวมกับความผิดปรกติอน (ตารางที่ ื่
  • 6. 1) ไดแก esophageal atresia, tracheoesophageal fistula (TEF), การกดจากภายนอกเชน หลอดเลือดแดง หรือกอนเนื้อ และสาเหตุที่พบไดนอยมากคือ collagen-like dyschondroplasia หรือ polychondritis และ อาจพบมีความผิดปรกติของ mucociliary clearance รวมดวย ผูปวยสวนใหญสามารถหายไดดี โดยมักจะหายภายใน 1-2 ป ผูปวยที่มอาการรุนแรงจนถึงกับมี  ี การหยุดหายใจ มีปอดบวมเปนซ้ํา หรือไมสามารถหยุดการใชเครื่องชวยหายใจ อาจตองทําผาตัดรักษา พยาธิสรีรวิทยา ่ ในหลอดลมปรกติ จะมีกระดูกออนชวยใหมีการคงรูปแมจะมีการเปลียนความดันจากการ หายใจ หรือขณะความดันในทรวงอกเปลียนแปลง โดยขณะหายใจออกแรงดันในชองทรวงอกเพิมมาก ่ ่ ขึ้นทําใหหลอดลมมีขนาดเล็กลง กระดูกออนที่มีความยืดหยุนมากกวาปรกติใน TBM ทําใหหลอดลม ตีบแคบลงทางดานหนาหลัง (anteroposterior) นอกจากนียังถูกกดจากโครงสรางใกลเคียงได เชน aorta ้ ทางดานหนา หลอดอาหารทางดานหลังไดงาย ทําใหเกิดการตีบแคบมากขึ้น พยาธิวิทยา ในภาวะ primary TBM กระดูกออนของหลอดลมคอ (trachea) เจริญเติบโตนอยกวาคนทั่วไป ความหนาของกระดูกออนลดลง สวนภาวะ secondary TBM มีสมมุติฐานวาหลอดลมคอที่ถูกกดตังแต ้ อยูในครรภ เชน หลอดอาหารทีโปงออกเปนกระเปาะ (dilated esophageal pouch) หลอดเลือดแดงที่ ่ เจริญผิดปรกติ หรือกอนเนื้ออื่น เปนสาเหตุใหกระดูกออนมีการเจริญผิดปรกติ มีขนาดเล็กกวาปรกติ ทํา ใหหลอดลมคอออนตัวไมคงรูป สัดสวน membranous trachea เพิ่มขึ้น เปนผลใหหลอดลมตีบแคบลง ทางดานหนาหลัง ตารางที่ 1 Secondary causes of tracheobronchomalacia 1. Esophageal atresia with TEF 2. การกดจากภายนอก - Vascular causes (innominate artery, aortic arch ring, pulmonary artery sling) - Cardiac causes (enlarged left atrium, enlarged pulmonary arteries, enlarged pulmonary veins) - Cysts (lymphatic malformations, thymic cysts, bronchogenic cysts) - Mediastinal neoplasm (teratoma, lymphoma, neuroblastoma)
  • 7. - การติดเชื้อ (abscess) 3. การคาทอชวยหายใจไวนาน 4. Chondrodysplasias 5. Posttraumatic result (or following tracheoplasty) อาการและอาการแสดง ผูปวย TBM อาจแสดงอาการไดตั้งแตเกิด แตสวนใหญจะมีอาการหลังอายุ 2 เดือน อาการที่ พบมากที่สุดคือ brassy cough และ expiratory stridor อาการรุนแรงที่สุดคือ dying spells หรือ death attacks ซึ่งมักจะเกิดขณะใหอาหารหรือภายใน 10 นาทีหลังมื้ออาหาร ผูปวยจะเขียว หยุดหายใจ และ มักจะมีตวออน เชื่อวาเกิดจากอาหารทําใหหลอดอาหารขยายตัว ไปกดหลอดลมคอทีออนจากทาง ั ่ ดานหลัง และถายังคงใหอาหารตอ อาจเปนมากขึ้นจนถึงปอดและหัวใจหยุดทํางานได นอกจากนียงพบ ้ั การติดเชื้อในระบบหายใจพบไดบอย เนื่องจากมีเสมหะสะสมในหลอดลมสวนปลายเนื่องจาก หลอดลมที่ตีบตอนสิ้นสุดการหายใจออก ซึ่งเปนผลใหเกิดปอดบวมเปนซ้ําได การรักษา ผูปวยเด็กจํานวนมากทีไมจําเปนตองใหการรักษาเฉพาะ เมื่อเด็กโต กระดูกออนหลอดลมคอจะ ่ ตรง และคงรูปมากขึ้น ในเด็กที่มีอาการนอยถึงปานกลางอาการมักจะหายไปภายใน 1-2 ป ดังนั้น แนะนําใหรกษาตามอาการในรายที่มีอาการนอย ซึ่งรวมถึงการรักษาภาวะติดเชื้อในระบบทางเดิน ั หายใจ การใหออกซิเจน การชวยระบายเสมหะ ผูปวยที่อาการไมดีขึ้นเอง หรือมีอาการรุนแรงที่อาจเปน อันตรายถึงชีวต ควรพิจารณาการรักษาเฉพาะ ไดแกการใส tracheotomy tubes ทารกที่จําเปนตองเจาะ ิ คอมีรายงานแตกตางกันตั้งแต 12-62% การใช Continuous positive airway pressure (CPAP) ไดผลดีในการักษา TBM ที่มีอาการปาน กลางถึงรุนแรง เนื่องจากทําใหเกิด “pneumatic stent” ชวยใหหลอดลมไมยุบตัวขณะหายใจ แตการใช  CPAP มีขอเสียเนื่องจากทําใหเริ่มใหอาหารทางปากไดชา ทําใหเริ่มพูดชา พัฒนาการดานภาษาชา และมี แนวโนมที่จะมีพัฒนาการชา
  • 8. ผูปวยที่อาการรุนแรงหรือมีอาการที่อาจรุนแรงถึงขันเสียชีวิต อาจตองพิจารณาทําผาตัด ขอ ้ บงชี้ในการทําผาตัดไดแก ปอดบวมเปนซ้ํา การอุดกั้นทางเดินหายใจรุนแรง ภาวะ dying spells หรือการ ไมสามารถถอดทอหลอดลมคอออกได ผูปวยเปน TBM ที่มีสาเหตุจากความผิดปรกติของหลอดเลือด  การผาตัดใชวธี aortopexy โดยเย็บผนัง aorta ไปติดกับผิวกระดูกอก เพือดึงผนังหลอดลมคอไป ิ ่ ดานหนา ทําใหเพิ่มความกวางดานหนาหลัง แตการทํา aortopexy อาจไมไดผลดีเสมอไป การทําผาตัด แบบอื่นที่อาจทําไดคือ external splinting with autologous materials สวนการใช internal tracheal stent ขอดีคือใชเวลานอย less invasive แตมภาวะแทรกซอนไดแก granulation เอาออกยาก stent หักตอง ี เปลี่ยน stent เลื่อนที่ และเสียชีวิต Anomalous innominate artery Vascular ring เปนความผิดปกติแตกาเนิดของ aortic arch ที่ทําใหมีการกดตอหลอดลมคอ และ ํ หลอดอาหาร โดยการเชื่อมตอกันของบางสวนของ aortic arch และแขนงของ aortic arch พบวา vascular ring เปนเสนเลือดผิดปกติที่สําคัญที่สุดที่เปนสาเหตุของ tracheal obstruction Vascular ring แบงเปน 2 ชนิดคือ double aortic arch และ variant right aortic arch with an aberrant left subclavian artery and ductal remnant Double aortic arch เปนหนึ่งในสองของ vascular ring ที่พบบอยที่สุด และเปนสาเหตุที่พบบอย ที่สุดของที่ทําใหเกิดอาการในทารกและเด็กเล็ก สวน anomalous innominate artery ถือวาเปนความผิด ปกติของหลอดเลือดใน aortic arch ที่พบไดบอยอยางหนึ่ง แตสวนใหญไมทําใหเกิดอาการผิดปกติ พยาธิสรีรวิทยา ในชวงระยะแรกของการสรางตัวออนจะมี pharyngeal arch arteries 6 คูที่เจริญพรอมกับ branchial pouch ตอมาเมื่อตัวออนเจริญเติบโตขึ้น arch คูที่ 1,2,5 และ right dorsal aorta จะสลายไป และ arch คูที่ 3,4,6 และ left dorsal aorta จะเจริญเปน aortic arch และแขนงที่ปกติ โดย arch คูที่ 3 เจริญ เปน common caroitd arteries และ internal carotid arteries, arch คูที่ 4 เจริญเปน aortic arch, arch คูที่ 4 ดานขวาเจริญเปน innominate artery , arch คูที่ 6 สวนปลายดานซายเจริญเปน ductus arteriosus, left dorsal aorta เจริญเปน descending aorta และ intersegmental arteries ทั้งสองขางเจริญเปน subclavian arteries ตารางที่2 แสดงความสัมพันธระหวางตําแหนงของรอยกดรัดบนหลอดลมและหลอดอาหารจาก
  • 9. barium esophagogram กับความผิดปกติของหลอดเลือดที่กดรัด Park: Pediatric Cardiology for Practitioners, 4th ed., Copyright ©2002 Mosby, Inc พยาธิวิทยา ความผิดปกติในตําแหนงของ anomalous innominate artery จะวางออกจากดานซายไป ดานขวา หนาตอหลอดลมคอดังรูป และการกดเบียดทําใหเกิดอาการการอุดกันทางเดินหายใจสวนบน ้ โดยจะมีปญหาในชวงหายใจเขามากกวาชวงหายใจออก ความรุนแรงของการอุดกั้นขึนกับความรุนแรง ้ ของการกดทางเดินหายใจ นอกจากนีภาวะ tracheomalacia ยังทําใหอาการมากขึ้น และพบวาอาการจะดี ้ ขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น เนื่องจากมีการพัฒนาของ aortic arch ทําให innominate artery เลือนมาดานหนาและ ่ ดานขวามากขึน การกดเบียดหลอดลมลดลง สวนปญหาเกี่ยวกับการกลืนจะไมพบใน anomalous ้ innominate artery เนื่องจากไมกดเบียดหลอดอาหาร การตรวจภาพรังสี ภาพรังสีทรวงอก: การวินิจฉัยโดยถายภาพรังสีในทา lateral อาจพบตําแหนงของรอยตีบแคบ อยูหนาตอหลอดลมคอเหนือ carina เล็กนอย แตในเด็กทารกการวินจฉัยอาจทําไดยาก เนื่องจากมีเงา ิ ของตอมไทมัส บริเวณ superior mediastinum รวมดวย Barium esophagogram: ปกติ Bronchoscopy: พบ pulsatile กดจากดานหนาตอหลอดลมคอเหนือ carina 1-2 เซนติเมตร
  • 10. MRI และ CT ถือเปนการตรวจที่ดีที่สุด โดยสามารถใหขอมูลเกียวกับแขนงหลอดเลือดแดง  ่ ตําแหนงของหลอดลมและหลอดอาหารที่โดนกดเบียด และยังสามารถดูความผิดปกติของหัวใจไดดวย นอกจากนั้นการสรางภาพ 3 มิติ ยังเปนประโยชนกับการวางแผนผาตัด การรักษา การรักษาประคับประคอง ในกรณีที่อาการไมรุนแรง การผาตัด ขอบงชี้ขึ้นกับความรุนแรงจากการกดตอทางเดินหายใจและหลอดอาหาร และอาจ พิจารณาในผูปวยที่ตองรับการผาตัดความผิดปกติอยางอื่นในทรวงอก เชนมีความผิดปกติของหัวใจ  หลอดเลือดที่จาเปนตองรับการผาตัด ํ เอกสารอางอิง 1. McLaughlin RB, Wetmore RF, Tavill MA, Gaynor JW, Spray TL. Vascular anomalies causing symptomatic tracheobronchial compression. Laryngoscope 1999;109:312-9. 2. Ahmad SM, Soliman AMS. Congenital anomalies of the larynx. Otolaryngol Clin N Am 2007;40:177-91. 3. Sandu K, Monnier P. Congenital tracheal anomalies. Otolaryngol Clin N Am 2007;40:193-217 4. Kuhn JP. Diseases of the airways and abnormalities of pulmonary aeration. In: Kuhn JP, Slovis TL, Haller JO, editors. Caffey’s Pediatric diagnostic imaging. 10th ed. C.V. Mosby. 2004.p.941-2. 5. Berdon WE. Rings, slings, and other things: vascular compression of the infant trachea updated from the midcentury to the millennium--the legacy of Robert E. Gross, MD, and Edward B. D. Neuhauser, MD. Radiology 2000;216:624-32.