SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
เพจหรือสื่อ: กูรู(รู้)คือใคร
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
เพจ vs สื่อ
ประเด็น: คุณค่าข่าว

เนื้อหา รายละเอียด: 5W1H

ให้ข้อมูล: who, what, when, where

ให้บริบทข่าว: why, how

กระบวนการผลิตเนื้อหา (journalism process): ค้นหา-ตรวจ
สอบ-อ้างอิง 

วิธีการนำเสนอ (Storytelling): ลีลาการนำเสนอ ภาษา
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
เพจ vs สื่อ
บล็อกเกอร์ vs สื่อ => เพจ vs สื่อ 

เหมือน: ให้ข้อมูล/ข่าว, มี information/news outlet
แตกต่าง: ไม่ผ่าน/ผ่าน กระบวนการ “วารสารศาสตร์” 

กระบวนการวารศาสตร์ คือ กระบวนการที่จะทำให้
information กลายเป็น news
กระบวนการวารสารศาสตร์ คือ กระบวนการค้นคว้าหาข้อมูล
=> ตรวจสอบข้อมูล => นำเสนอข้อมูล และอ้างอิงข้อมูล
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
เพจ vs สื่อ
บทบาทของ “เพจ” vs “สื่อ” 

ให้ข้อมูล vs ยืนยันข้อมูล (ที่ตรวจสอบแล้วผ่าน
กระบวนการวารสารศาสตร์) 

ทำงานร่วมกัน ได้ เป็น co-creation => ผสานจุดแข็ง +
ขยายฐานผู้รับสารร่วมกัน โดยสมดุลการทำงานระหว่างกัน

สื่อสามารถนำประเด็นจากเพจมา “ต่อยอด” เพจสามารถ
นำการต่อยอดของสื่อไป “นำเสนอ”
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
เพจ vs สื่อ: swot
strength

เพจ: ความไว, followers

สื่อ: ความน่าเชื่อถือ (ผ่าน
กระบวนการวารสารศาสตร์), ความ
สามารถในการเข้าถึงแหล่งข่าว
weakness

เพจ: ความน่าเชื่อถือ (ไม่ผ่าน
กระบวนการวารสารศาสตร์)

สื่อ: ช้า,ความน่าเชื่อถือ (ไม่ผ่าน
กระบวนการวารสารศาสตร์)
opportunity 

เพจ: unsung hero

สื่อ: maintain role
threat

เพจ: การ์ดตก

สื่อ: การ์ดตก

@lekasina 09-04-2016 #UTCC
เทคโนโลยี + ผู้รับสาร
เทคโนโลยี และ พฤติกรรมผู้รับสารเปลี่ยน => เขย่าบทบาทและการทำงานของสื่อ และทำให้เกิดช่องทางในการนำ
เสนอข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ (เพจ/บล็อก)

สื่อต้องปรับวิธีการทำงาน โดยคำนึงถึง “เทคโนโลยี” และ “พฤติกรรมผู้รับสาร” เพื่อรักษาบทบาทในฐานะ “สื่อ” แต่
ยังคงต้องสมดุลระหว่าง “ข่าวที่คนอยากรู้” กับ “ข่าวที่คนต้องรู้” 

“เทคโนโลยี” ทำให้แต้มต่อของการเข้าถึงแหล่งข่าวและแหล่งข้อมูลของสื่อหายไป (มาก) เพราะเทคโนโลยีเอื้อให้ทุก
คนสามารถทำการสืบค้นข้อมูลได้ (เครื่องมือในการค้นหา เข้าถึง และ ตรวจสอบข้อมูล อาทิ Google Facebook
Twitter และอื่นๆ) 

ผู้รับสาร: รับข่าวสารที่ตัวเองสนใจ/ จากกลุ่มเพื่อน/ ไม่สนใจแหล่งที่มา/ ไม่ตั้งคำถาม/ มองข่าวเป็นกึ่งความบันเทิง
[news vs entertainment content] / ต้องการมีส่วนร่วมในข่าวสารผ่านการแชร์และแสดงความคิดเห็น มากกว่าการ
มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข่าวสาร

การตรวจสอบข้อมูล การยืนยันและอ้างอิงแหล่งข้อมูล คือ ทักษะและแก่นของการทำงานของสื่อ ที่ต้องยึดไว้ให้มั่น =>
เร็ว vs ถูกต้อง 

สื่อ ควรมอง “เพจ” และ “ชุมชนข่าวสารบนออนไลน์” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานข่าว ว่า “เพจ” และ “ชุมชน
ข่าวสารบนออนไลน์” เป็นทั้ง “ผู้รับข่าวสาร” “แหล่งข่าว/แหล่งข้อมูล” “ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการทำงานข่าว”
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
1.75 M
1.05 M
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
http://www.zocialrank.com/
Top Facebook Rank
http://www.zocialrank.com/ @lekasina 09-04-2016 #UTCC
Thailand Facebook ranking
http://www.zocialrank.com/ @lekasina 09-04-2016 #UTCC
เพจดังที่ verified page
3.67 M
12.78 M 7.03 M
3.15 M
1.43M 1.39 M
เพจดังที่ไม่ verified page
11.17 M 3.56 M
2.77 M 1.75 M
1.05 M
เพจสื่อไทยที่เป็น 

Verified Pages
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
เพจ (FacebookPage)
Verified Pages เปิดให้บริการตั้งแต่ 2013 ให้กับ
celebrities, journalists, government officials,
popular brands and businesses 

สามารถ Verified Pages ได้ที่ https://
www.facebook.com/help/196050490547892
@lekasina 09-04-2016 #UTCC
เพจ (FacebookPage)
แจ้ง Page ปลอมได้ที่ Facebook Help Center ที่
https://www.facebook.com/help/
167722253287296/
@lekasina 09-04-2016 #UTCC

Mais conteúdo relacionado

Mais de Asina Pornwasin

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมAsina Pornwasin
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAsina Pornwasin
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Asina Pornwasin
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนAsina Pornwasin
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...Asina Pornwasin
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อAsina Pornwasin
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" Asina Pornwasin
 
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"Asina Pornwasin
 
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?Asina Pornwasin
 
Social media and Journalism
Social media and Journalism Social media and Journalism
Social media and Journalism Asina Pornwasin
 

Mais de Asina Pornwasin (20)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
 
Sm4 investigativereport
Sm4 investigativereportSm4 investigativereport
Sm4 investigativereport
 
Convergence Journalism
Convergence JournalismConvergence Journalism
Convergence Journalism
 
Sm4 jr nt
Sm4 jr ntSm4 jr nt
Sm4 jr nt
 
Convergent newsroom
Convergent newsroomConvergent newsroom
Convergent newsroom
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 
Social media4ku
Social media4kuSocial media4ku
Social media4ku
 
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
 
Social media and Journalism
Social media and Journalism Social media and Journalism
Social media and Journalism
 

เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร

  • 2. เพจ vs สื่อ ประเด็น: คุณค่าข่าว เนื้อหา รายละเอียด: 5W1H ให้ข้อมูล: who, what, when, where ให้บริบทข่าว: why, how กระบวนการผลิตเนื้อหา (journalism process): ค้นหา-ตรวจ สอบ-อ้างอิง วิธีการนำเสนอ (Storytelling): ลีลาการนำเสนอ ภาษา @lekasina 09-04-2016 #UTCC
  • 3. เพจ vs สื่อ บล็อกเกอร์ vs สื่อ => เพจ vs สื่อ เหมือน: ให้ข้อมูล/ข่าว, มี information/news outlet แตกต่าง: ไม่ผ่าน/ผ่าน กระบวนการ “วารสารศาสตร์” กระบวนการวารศาสตร์ คือ กระบวนการที่จะทำให้ information กลายเป็น news กระบวนการวารสารศาสตร์ คือ กระบวนการค้นคว้าหาข้อมูล => ตรวจสอบข้อมูล => นำเสนอข้อมูล และอ้างอิงข้อมูล @lekasina 09-04-2016 #UTCC
  • 4. เพจ vs สื่อ บทบาทของ “เพจ” vs “สื่อ” ให้ข้อมูล vs ยืนยันข้อมูล (ที่ตรวจสอบแล้วผ่าน กระบวนการวารสารศาสตร์) ทำงานร่วมกัน ได้ เป็น co-creation => ผสานจุดแข็ง + ขยายฐานผู้รับสารร่วมกัน โดยสมดุลการทำงานระหว่างกัน สื่อสามารถนำประเด็นจากเพจมา “ต่อยอด” เพจสามารถ นำการต่อยอดของสื่อไป “นำเสนอ” @lekasina 09-04-2016 #UTCC
  • 5. เพจ vs สื่อ: swot strength เพจ: ความไว, followers สื่อ: ความน่าเชื่อถือ (ผ่าน กระบวนการวารสารศาสตร์), ความ สามารถในการเข้าถึงแหล่งข่าว weakness เพจ: ความน่าเชื่อถือ (ไม่ผ่าน กระบวนการวารสารศาสตร์) สื่อ: ช้า,ความน่าเชื่อถือ (ไม่ผ่าน กระบวนการวารสารศาสตร์) opportunity เพจ: unsung hero สื่อ: maintain role threat เพจ: การ์ดตก สื่อ: การ์ดตก @lekasina 09-04-2016 #UTCC
  • 6. เทคโนโลยี + ผู้รับสาร เทคโนโลยี และ พฤติกรรมผู้รับสารเปลี่ยน => เขย่าบทบาทและการทำงานของสื่อ และทำให้เกิดช่องทางในการนำ เสนอข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ (เพจ/บล็อก) สื่อต้องปรับวิธีการทำงาน โดยคำนึงถึง “เทคโนโลยี” และ “พฤติกรรมผู้รับสาร” เพื่อรักษาบทบาทในฐานะ “สื่อ” แต่ ยังคงต้องสมดุลระหว่าง “ข่าวที่คนอยากรู้” กับ “ข่าวที่คนต้องรู้” “เทคโนโลยี” ทำให้แต้มต่อของการเข้าถึงแหล่งข่าวและแหล่งข้อมูลของสื่อหายไป (มาก) เพราะเทคโนโลยีเอื้อให้ทุก คนสามารถทำการสืบค้นข้อมูลได้ (เครื่องมือในการค้นหา เข้าถึง และ ตรวจสอบข้อมูล อาทิ Google Facebook Twitter และอื่นๆ) ผู้รับสาร: รับข่าวสารที่ตัวเองสนใจ/ จากกลุ่มเพื่อน/ ไม่สนใจแหล่งที่มา/ ไม่ตั้งคำถาม/ มองข่าวเป็นกึ่งความบันเทิง [news vs entertainment content] / ต้องการมีส่วนร่วมในข่าวสารผ่านการแชร์และแสดงความคิดเห็น มากกว่าการ มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข่าวสาร การตรวจสอบข้อมูล การยืนยันและอ้างอิงแหล่งข้อมูล คือ ทักษะและแก่นของการทำงานของสื่อ ที่ต้องยึดไว้ให้มั่น => เร็ว vs ถูกต้อง สื่อ ควรมอง “เพจ” และ “ชุมชนข่าวสารบนออนไลน์” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานข่าว ว่า “เพจ” และ “ชุมชน ข่าวสารบนออนไลน์” เป็นทั้ง “ผู้รับข่าวสาร” “แหล่งข่าว/แหล่งข้อมูล” “ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการทำงานข่าว” @lekasina 09-04-2016 #UTCC
  • 7. 1.75 M 1.05 M @lekasina 09-04-2016 #UTCC http://www.zocialrank.com/
  • 8. Top Facebook Rank http://www.zocialrank.com/ @lekasina 09-04-2016 #UTCC
  • 10. เพจดังที่ verified page 3.67 M 12.78 M 7.03 M 3.15 M 1.43M 1.39 M
  • 13. เพจ (FacebookPage) Verified Pages เปิดให้บริการตั้งแต่ 2013 ให้กับ celebrities, journalists, government officials, popular brands and businesses สามารถ Verified Pages ได้ที่ https:// www.facebook.com/help/196050490547892 @lekasina 09-04-2016 #UTCC
  • 14. เพจ (FacebookPage) แจ้ง Page ปลอมได้ที่ Facebook Help Center ที่ https://www.facebook.com/help/ 167722253287296/ @lekasina 09-04-2016 #UTCC