SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
Baixar para ler offline
การลาเลยงอาหารของพช
              ํ ี           ื

  จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพื่อให้ นกเรียนสามารถ
                                   ั
1. สืบค้ นข้ อมูล อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับ
กระบวนการลําเลียงอาหารของพืช
2. วิเคราะห์ และอธิบายทิศทางและกลไกการ
ลําเลียงอาหารของพืชจากการศึกษาของ
นักวิทยาศาสตร์
การลําเลียงอาหารเป็ นกระบวนการที่สําคัญในพืช เพราะ
อาหารที่พืชสร้ างขึ ้นมาจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ส่วนใหญ่จะเกิดขึ ้นที่ใบ ได้ สารอาหาร คือ นํ ้าตาล ซึงจะถูก
                                                     ่
ลําเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อใช้ ในกระบวนการเมแทบอลิ
ซึม และพืชก็จะเปลี่ยนนํ ้าตาลที่เหลือใช้ ไว้ ในรูปของแปง แต่
                                                       ้
พบว่าบริ เวณต่างๆ ของพืชนอกจากใบแล้ วยังมีสารอาหารที่พืช
สร้ างมาในรู ปของนํ ้าตาล แปง และสารประกอบอื่นๆ สะสมอยู่
                              ้
เช่น รากของมันเทศ มันสําปะหลัง เป็ นต้ น ทังๆ ที่รากไม่มีการ
                                                ้
สังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ ้น แสดงว่าต้ องมีการลําเลียงนํ ้าตาลไป
ยังส่วนต่างๆ ของพืช
การที่พืชสามารถลาเลียงอาหารจากดานบนลงล่าง และล่างขึ้นบนได้
                 ํ                ้
การเคลื่อนย้ายสารจากส่ วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหน่ ึงของพช
                                                    ื
เรี ยกว่า translocation of solute
การค้ นคว้ าเกียวกับการลําเลียงอาหารของพืช
                    ่
นักวิทยาศาสตร์ ที่ได้ ทดลองเรื่ องการลําเลียงอาหารของพืช คอ ื
1. มลพิจิ (Malpighi) โดยการควันลําต้ นพืชใบเลี ้ยงคออก
        ั                               ่                ู่
ตังแต่เปลือกไม้ ออกจนถึงชัน แคมเบยม เม่ือปล่อยให้ พืช
  ้                        ้         ี
เจริ ญระยะหนึงพบว่าเปลือกของต้ นไม้ เหนือรอยควันจะพองออก
             ่                                    ่
2. เมสันและมัสเคล (Mason และ Maskell) ได้ ศกษาการ         ึ
ทดลองของมลพิจิ แล้ วมีความเห็นว่าการควันเปลือกไม้ ไม่มีผลต่อ
                 ั                           ่
การคายนํ ้าของพืช เนื่องจากไซเลมยังสามารถลําเลียงนํ ้าได้ สวน
                                                            ่
เปลือกต้ นไม้ ที่อยูเ่ หนือรอยควันพองออก เนื่องจากมีการสะสมของ
                                 ่
นํ ้าตาลที่ไม่สามารถลําเลียงผ่านมายังด้ านล่างของลําต้ นได้ ส่วน
บริ เวณที่อยูด้านล่างรอยควันสารละลายนํ ้าตาลก็จะเบาบางลง
               ่              ่
เรื่ อยๆ เมื่อเวลาผ่านไป ลําต้ นบริ เวณเหนือรอยควันจะเจริ ญกว่า
                                                  ่
บริ เวณ ใต้ รอยควัน แสดงว่า นํ ้าตาลถูกลําเลียงจากใบลงมา
                       ่
ด้ านล่างนันเอง
             ่
3. มีผ้ ศกษาการลําเลียงนํ ้าตาลในพืชโดยใช้ ธาตุกมมันตภาพรังสี
           ู ึ                                       ั
ซ่งได้ แก่ 14C ที่เป็ นองค์ประกอบของคาร์ บอนไดออกไซด์
  ึ
โดยเตรี ยมคาร์ บอนไดออกไซด์ในรูปของสารละลาย แล้ วตอมา        ่
คาร์ บอนไดออกไซด์ ก็จะระเหยเป็ นแก๊ ส ซึ่งพืชจะดูดนําไปใช้ ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
            หลังจากการทดลองให้ ได้ รับแสงเป็ นเวลา 35 นาที แล้ วนํา
เนื ้อเยื่ อต่างๆ มาทําให้ แห้ งโดยการแช่แข็ง และตัดเป็ นแผ่นบางๆ
นําไปวางบนแผ่นฟิ ลม์ถ่ายรูปในห้ องมืด เพื่อตรวจสอบนํ ้าตาลที่มี
     14C
จากการทดลอง ก. พบนํ ้าตาลที่มี 14C ที่สวนล่างของพืช
                                                     ่
การทดลอง ข. จะพบ 14C ที่สวนยอดของพืช สวนการทดลอง ค.
                               ่                   ่
พบ 14C ที่สวนบนและส่วนล่างของพืช หรื อทุกส่วนของพืช ส่วน
           ่
ใหญ่จะพบ 14C ในซีฟทิวบ์ จากการทดลอง พืชใช้
คาร์ บอนไดออกไซด์ ที่รับเข้ ามาทางปากใบเพื่อใช้ ในการสร้าง
อาหาร อาหารที่พืชสร้ างขึ ้นจะมีการลําเลียงไปยังแหล่งที่สร้ างได้
น้อย เช่น ยอด หรื อแหล่งที่สร้ างไม่ได้ เช่น ราก
การลําเลียงจะลําเลียงทางโฟลเอม มีทิศทางทังขึ ้นและลง แตกต่าง
                                   ็             ้
จากการลําเลียงนํ ้าและธาตุอาหารที่ลําเลียงทางไซเลม และมี
ทิศทางลําเลียงขึ ้นจากรากไปสูยอดและใบ
                                 ่
4. ซมเมอร์แมน (M.H. Zimmerman) ได้ ทําการทดลองโดย
     ิ
ใช้ เพลี ้ยอ่อน ให้ เพลี ้ยอ่อนแทงงวงเข้ าไปดูดของเหลวจากโฟลเอม
                                                              ็
ของพืช พบว่ามีของเหลวไหลมาออกทางก้ นของเพลี ้ยอ่อน
จากนัน ซมเมอร์แมนก็ได้ วางยาสลบ และตัดหัวของเพลี ้ยอ่อนออก
       ้ ิ
ของเหลวจาก โฟลเอมก็ยงคงไหลออกมาตามงวงของเพลี ้ยอ่อนอยู่
                       ็ ั
เมื่อเอาของเหลวที่ไหลออกจากงวงไปวิเคราะห์พบว่า ส่วนใหญ่
เป็ น นํ ้าตาลซูโครส และสารอื่นๆ เช่น กรดอะมิโน ฮอร์ โมน และธาตุ
อาหาร
ถ้าใช้ซูโครสท่ มี C เป็ นองค์ ประกอบ แล้ วให้ เพลย
                      ี                                ี้
อ่ อนแทงงวงเข้ าไปที่ท่อโฟลเอ็มตาแหน่งต่าง ๆ สามารถหา
                                    ํ
อตราการเคล่ ือนท่ ของนําตาลในโฟลเอ็มได้ พบว่านําตาล
   ั              ี      ้                           ้
ในโฟลเอ็มเคล่ ือนท่ ี มีความเร็วประมาณ 100 เซนติเมตร
เพราะเหตุที่นํ ้าตาลในโฟลเอ็มเคลื่อนที่ด้วยความเร็ ว จึงมี
ผ้ สงสัยว่า การเคลื่อนที่ของนํ ้าตาลในโฟลเอ็มนันคงไม่ใช่การ
   ู                                             ้
แพร่แบบธรรมดา และไม่ใช่การไหลเวียนของไซโทพลาซม         ึ
สําหรับกลไกของการลําเลียงอาหารทาง โฟลเอมนัน อาจอธิบาย
                                               ็ ้
ได้ ตาม สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow
hypothesis)
1. สมมติฐานการไหลของมวลสาร หรือสมมติฐานของมน ช์         ึ
สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis)
เป็ นสมมติฐานที่เสนอโดย มึนซ์ (Munch) นักสรี รวิทยาพืช
ชาวเยอรมนได้ เสนอสมมติฐานการลําเลียงอาหารในโฟลเอ็มวา
           ั                                                   ่
เกิดจากความแตกต่างของแรงดัน โดยเซลล์ของใบ ซ่งทําการ   ึ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้ นํ ้าตาล ทําให้ มีความเข้ มข้ นของนํ ้าตาลสูง
นํ ้าตาลจึงถูกลําเลียงไปเซลล์ข้างเคยง
                                   ี
ทําให้ มีความเข้ มข้ นของนํ ้าตาลสูงตามไปด้ วยอย่างรวดเร็ ว และจะ
มีการลําเลียงนํ ้าตาลไปยังเซลล์ตอๆ ไปจนถงโฟลเอม แล้ วเกิด
                                   ่         ึ       ็
แรงดันให้ โมเลกุลนํ ้าตาลเคลื่อนไปตามโฟลเอ็ม ไปยงเนื ้อเย่ือท่ีมี
                                                       ั
ความเข้ มข้ นของนํ ้าตาลน้ อยกว่า เช่น เซลล์ที่ราก ลําต้ น หรื อ
ปลายยอด นํ ้าตาลยังคงเคลื่อนที่ตอไปได้ ตราบใดที่ความเข้ มข้ น
                                     ่
ของนํ ้าตาลยังแตกต่างกันอยู่
แสดงการทดลองของมนซ์ (Munch)
                ึ
แสดงแบบจาลองการลาเลยงของมนซ์ (Munch)
        ํ       ํ ี      ึ
สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass-flow
hypothesis หรือ Bulk flow hypothesis) หรือการ
หลเนื่องจากแรงดัน เป็ นสมมติฐานที่ใช้ อธิบายการลําเลียง
สารอาหารผ่าน โฟลเอ็ม โดยมีการทดลองที่สนับสนุนสมมติฐานนี ้
ได้ การไหลของสารอาหารใน โฟลเอ็มจากแหล่งผลิตหรื อแหล่ง
สร้ าง (Source) ไปยังแหล่งรับ หรื อแหล่งใช้ (Sink)
แหล่งผลิตในพืช หมายถึงใบหรื อส่วนของพืชที่สร้ างอาหาร
แหล่งรับ หมายถึงส่วนของพืชที่ใช้ และสะสมอาหาร ได้ แก่ ราก
ยอด ลําต้ น ผล ท่ีชนมีโซฟิ ลล์ของใบพืชเกิดกระบวนการ
                    ั้
    สังเคราะห์ด้วยแสงได้ นํ ้าตาลกลูโคส
การลําเลียงอาหารในโฟลเอม เกิดจากความแตกต่างของ
                                 ็
แรงดันนํ ้า หรื อแรงดันเต่งหรื อแรงดัน ออสโมติก ระหว่างต้ นทาง
หรือแหล่งผลิต กับปลายทางหรื อแหล่งรับ พืชมีทอสําหรับลําเลียง
                                                   ่
นํ ้าและแร่ธาตุ กับอาหารที่พืชสร้ างขึ ้น แยกกันโดยนํ ้าและแร่ธาตุ
ส่งไปตามไซเลม อาหารส่งไปตามโฟลเอม ส่วนทางด้ านข้ างนันทัง้
                                           ็                   ้
สอง มีเรย์(Ray) ส่งออกไปเลี ้ยงเซลล์ที่อยูข้าง ๆได้ ทําให้ พืชมี
                                             ่
การเจริ ญเติบโตออกไปได้ ทงทางด้ านบน ด้ านล่าง และด้ านข้ าง
                             ั้
สารละลายในซีฟทิวบ์เคลื่อนผ่านซีฟทิวบ์ที่เรี ยงติดกันจาก
แผ่นใบ เข้ าสูก้านใบ กิ่ง และ ลําต้ นของพืชตามลําดับ
               ่
สารอาหารที่ผลิตได้ จะเคลื่อนตัวจากใบไปยังส่วนต่างๆ เพื่อใช้ หรือ
สะสม เช่น สะสมที่ราก ดังนันที่ใบจึงมีความเข้ มข้ นของ
                                ้
สารอาหารสูงกว่าบริ เวณราก การลําเลียงจึงเกิดขึ ้นอย่างตอเน่ือง  ่
จากใบสูราก ที่เซลล์รากมีการเปลี่ยนนํ ้าตาลเป็ นแปงซึงไม่ละลาย
          ่                                            ้ ่
นํ ้า ดังนันปริ มาณนํ ้าตาลในรากจึงตํ่าอยูเ่ สมอ การลําเลียง
            ้
สารอาหารจึงเกิดขึ ้นได้ เรื่ อยๆ ส่วนนํ ้าที่ลําเลียงมาด้ วยก็จะแพร่
จากซีฟทิวบ์เข้ าสไซเลมหรื อเซลล์ข้างๆ ได้
                  ู่
แผนภาพแสดงการลาเลยงอาหารในรูปซูโครสจากเซลล์ต้นทาง
              ํ ี
               ไปยงเซลล์ปลายทาง
                  ั
ความเร็ วของการลําเลียงขึ ้นอยูกบแรงดันภายในท่อต้ นทาง
                                       ่ ั
คือ ที่ใบ และ ท่อปลายทาง คือ ที่ราก ถ้าที่ใบมีแรงดันภายในโฟล
เอมมาก(สังเคราะห์ด้วยแสงมากสร้ างนํ ้าตาลมาก) และท่ีรากมี
   ็
แรงดันภายในโฟลเอ็มน้อย (มีการใช้ นํ ้าตาล และสะสมแปงมาก)
                                                      ้
การลําเลียงอาหารก็จะเกิดขึ ้นได้ เร็ว
         นอกจากนี ้ อณหภมิท่ีพอเหมาะ แก๊ สออกซิเจน แก๊ ส
                     ุ ู
คาร์ บอนไดออกไซด์ นํ ้า และแสงสวาง กเป็นปัจจยสาคญในการ
                                     ่ ็        ั ํ ั
ลําเลียงสารอาหารของพชด้ วย
                        ื
การเกิดแคลโลส (callose) ซึงเป็ นพอลิกแซกคาไรด์ของกลูโคส
                                ่
เกาะผนังของซีฟทิวบ์ทําให้ ช่องลําเลียงแคบลง ก็ทําให้ การลําเลียง
อาหารช้ าลงด้ วย ปกติภายในซีฟทิวบ์ มีเส้ นใยโปรตีนที่เรี ยงตัว
ตามแนวยาวจากปลายด้ านหนึงไปยังปลายอีกด้ านหนึงทําให้
                              ่                      ่
สารอาหารเคลื่อนย้ ายสะดวก เพราะเส้ นใยโปรตีนเรี ยงตัวอย่างมี
ระเบียบ
สรุปแบบจาลองการลาเลียงสารอาหาร
                         ํ           ํ
    ในใบพืชเป็ นแหล่งสร้ างนํ ้าตาลกลูโคสจากกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง แล้ วนํ ้าตาลกลูโคสถูกลําเลียงออกมาในไซ
โทพลาซึม แล้ วเปลี่ยนเป็ นนํ ้าตาลซูโครสก่อนเข้ าสูโฟลเอ็ม
                                                    ่
จากนันนํ ้าตาลซูโครสเคลื่อนย้ ายไปในซีฟทิวบ์ของโฟลเอ็ม โดย
        ้
วิธีการลําเลียงแบบใช้ พลังงาน(active transport) ทําให้
ความเข้มข้นของสารละลายในซีฟทิวบ์ต้นทางสูงขึ ้น นํ ้าจากเซลล์
ข้ างเคียงออสโมซสเข้ ามา ทําให้ ซีฟทิวบ์มีแรงดันเพิ่มขึ ้น ซึงจะไปดัน
                 ิ                                           ่
ให้ สารละลายนํ ้าตาลซูโครสลําเลียงไปตามท่อโฟลเอมจนถึงซฟ
                                                      ็         ี
ทิวบ์ปลายทาง
นํ ้าตาลซูโครสก็จะลําเลียงออกจากซีฟทิวบ์ปลายทางไปยังเนื ้อเยื่อ
ต่างๆ ที่ต้องการใช้ หรื อแหล่งรับทําให้ ความเข้ มข้ นของสารละลาย
นํ ้าตาลซูโครสในซีฟทิวบ์ปลายทางลดลง นํ ้าจากซีฟทิวบ์ปลายทาง
แพร่ออกสูเ่ ซลล์ข้างเคียง ซีฟทิวบ์ปลายทางมีแรงดันน้ อยกว่า
ซีฟทิวบ์ต้นทาง การลําเลียงอาหารจึงเกิดขึ ้นตลอดเวลาที่ใบพืชมี
การสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนภาพแสดงการลาเลยงอาหารในรูปซูโครสจากเซลล์ต้นทาง
              ํ ี
               ไปยงเซลล์ปลายทาง
                  ั
โฟลเอ็ม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 

Mais procurados (20)

ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 

Destaque

การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Anana Anana
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
Anana Anana
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
พัน พัน
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
Oui Nuchanart
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
Tiew Yotakong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Nokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 

Destaque (18)

การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Semelhante a การลำเลียงอาหารของพืช

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Wan Ngamwongwan
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
Nokko Bio
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
Peangjit Chamnan
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
Sumarin Sanguanwong
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
วิศิษฏ์ ชูทอง
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
Angel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
Angel Jang
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
Oui Nuchanart
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
prapassri
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
supreechafkk
 

Semelhante a การลำเลียงอาหารของพืช (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
4
44
4
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 

Mais de Anana Anana

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
Anana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Anana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
Anana Anana
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
Anana Anana
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
Anana Anana
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
Anana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
Anana Anana
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
Anana Anana
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
Anana Anana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
Anana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
Anana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 

Mais de Anana Anana (15)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

การลำเลียงอาหารของพืช

  • 1. การลาเลยงอาหารของพช ํ ี ื จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพื่อให้ นกเรียนสามารถ ั 1. สืบค้ นข้ อมูล อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับ กระบวนการลําเลียงอาหารของพืช 2. วิเคราะห์ และอธิบายทิศทางและกลไกการ ลําเลียงอาหารของพืชจากการศึกษาของ นักวิทยาศาสตร์
  • 2. การลําเลียงอาหารเป็ นกระบวนการที่สําคัญในพืช เพราะ อาหารที่พืชสร้ างขึ ้นมาจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนใหญ่จะเกิดขึ ้นที่ใบ ได้ สารอาหาร คือ นํ ้าตาล ซึงจะถูก ่ ลําเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อใช้ ในกระบวนการเมแทบอลิ ซึม และพืชก็จะเปลี่ยนนํ ้าตาลที่เหลือใช้ ไว้ ในรูปของแปง แต่ ้ พบว่าบริ เวณต่างๆ ของพืชนอกจากใบแล้ วยังมีสารอาหารที่พืช สร้ างมาในรู ปของนํ ้าตาล แปง และสารประกอบอื่นๆ สะสมอยู่ ้ เช่น รากของมันเทศ มันสําปะหลัง เป็ นต้ น ทังๆ ที่รากไม่มีการ ้ สังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ ้น แสดงว่าต้ องมีการลําเลียงนํ ้าตาลไป ยังส่วนต่างๆ ของพืช
  • 3. การที่พืชสามารถลาเลียงอาหารจากดานบนลงล่าง และล่างขึ้นบนได้ ํ ้ การเคลื่อนย้ายสารจากส่ วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหน่ ึงของพช ื เรี ยกว่า translocation of solute
  • 4. การค้ นคว้ าเกียวกับการลําเลียงอาหารของพืช ่ นักวิทยาศาสตร์ ที่ได้ ทดลองเรื่ องการลําเลียงอาหารของพืช คอ ื 1. มลพิจิ (Malpighi) โดยการควันลําต้ นพืชใบเลี ้ยงคออก ั ่ ู่ ตังแต่เปลือกไม้ ออกจนถึงชัน แคมเบยม เม่ือปล่อยให้ พืช ้ ้ ี เจริ ญระยะหนึงพบว่าเปลือกของต้ นไม้ เหนือรอยควันจะพองออก ่ ่
  • 5.
  • 6. 2. เมสันและมัสเคล (Mason และ Maskell) ได้ ศกษาการ ึ ทดลองของมลพิจิ แล้ วมีความเห็นว่าการควันเปลือกไม้ ไม่มีผลต่อ ั ่ การคายนํ ้าของพืช เนื่องจากไซเลมยังสามารถลําเลียงนํ ้าได้ สวน ่ เปลือกต้ นไม้ ที่อยูเ่ หนือรอยควันพองออก เนื่องจากมีการสะสมของ ่ นํ ้าตาลที่ไม่สามารถลําเลียงผ่านมายังด้ านล่างของลําต้ นได้ ส่วน บริ เวณที่อยูด้านล่างรอยควันสารละลายนํ ้าตาลก็จะเบาบางลง ่ ่ เรื่ อยๆ เมื่อเวลาผ่านไป ลําต้ นบริ เวณเหนือรอยควันจะเจริ ญกว่า ่ บริ เวณ ใต้ รอยควัน แสดงว่า นํ ้าตาลถูกลําเลียงจากใบลงมา ่ ด้ านล่างนันเอง ่
  • 7. 3. มีผ้ ศกษาการลําเลียงนํ ้าตาลในพืชโดยใช้ ธาตุกมมันตภาพรังสี ู ึ ั ซ่งได้ แก่ 14C ที่เป็ นองค์ประกอบของคาร์ บอนไดออกไซด์ ึ โดยเตรี ยมคาร์ บอนไดออกไซด์ในรูปของสารละลาย แล้ วตอมา ่ คาร์ บอนไดออกไซด์ ก็จะระเหยเป็ นแก๊ ส ซึ่งพืชจะดูดนําไปใช้ ใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง หลังจากการทดลองให้ ได้ รับแสงเป็ นเวลา 35 นาที แล้ วนํา เนื ้อเยื่ อต่างๆ มาทําให้ แห้ งโดยการแช่แข็ง และตัดเป็ นแผ่นบางๆ นําไปวางบนแผ่นฟิ ลม์ถ่ายรูปในห้ องมืด เพื่อตรวจสอบนํ ้าตาลที่มี 14C
  • 8.
  • 9. จากการทดลอง ก. พบนํ ้าตาลที่มี 14C ที่สวนล่างของพืช ่ การทดลอง ข. จะพบ 14C ที่สวนยอดของพืช สวนการทดลอง ค. ่ ่ พบ 14C ที่สวนบนและส่วนล่างของพืช หรื อทุกส่วนของพืช ส่วน ่ ใหญ่จะพบ 14C ในซีฟทิวบ์ จากการทดลอง พืชใช้ คาร์ บอนไดออกไซด์ ที่รับเข้ ามาทางปากใบเพื่อใช้ ในการสร้าง อาหาร อาหารที่พืชสร้ างขึ ้นจะมีการลําเลียงไปยังแหล่งที่สร้ างได้ น้อย เช่น ยอด หรื อแหล่งที่สร้ างไม่ได้ เช่น ราก การลําเลียงจะลําเลียงทางโฟลเอม มีทิศทางทังขึ ้นและลง แตกต่าง ็ ้ จากการลําเลียงนํ ้าและธาตุอาหารที่ลําเลียงทางไซเลม และมี ทิศทางลําเลียงขึ ้นจากรากไปสูยอดและใบ ่
  • 10. 4. ซมเมอร์แมน (M.H. Zimmerman) ได้ ทําการทดลองโดย ิ ใช้ เพลี ้ยอ่อน ให้ เพลี ้ยอ่อนแทงงวงเข้ าไปดูดของเหลวจากโฟลเอม ็ ของพืช พบว่ามีของเหลวไหลมาออกทางก้ นของเพลี ้ยอ่อน จากนัน ซมเมอร์แมนก็ได้ วางยาสลบ และตัดหัวของเพลี ้ยอ่อนออก ้ ิ ของเหลวจาก โฟลเอมก็ยงคงไหลออกมาตามงวงของเพลี ้ยอ่อนอยู่ ็ ั เมื่อเอาของเหลวที่ไหลออกจากงวงไปวิเคราะห์พบว่า ส่วนใหญ่ เป็ น นํ ้าตาลซูโครส และสารอื่นๆ เช่น กรดอะมิโน ฮอร์ โมน และธาตุ อาหาร
  • 11. ถ้าใช้ซูโครสท่ มี C เป็ นองค์ ประกอบ แล้ วให้ เพลย ี ี้ อ่ อนแทงงวงเข้ าไปที่ท่อโฟลเอ็มตาแหน่งต่าง ๆ สามารถหา ํ อตราการเคล่ ือนท่ ของนําตาลในโฟลเอ็มได้ พบว่านําตาล ั ี ้ ้ ในโฟลเอ็มเคล่ ือนท่ ี มีความเร็วประมาณ 100 เซนติเมตร
  • 12. เพราะเหตุที่นํ ้าตาลในโฟลเอ็มเคลื่อนที่ด้วยความเร็ ว จึงมี ผ้ สงสัยว่า การเคลื่อนที่ของนํ ้าตาลในโฟลเอ็มนันคงไม่ใช่การ ู ้ แพร่แบบธรรมดา และไม่ใช่การไหลเวียนของไซโทพลาซม ึ สําหรับกลไกของการลําเลียงอาหารทาง โฟลเอมนัน อาจอธิบาย ็ ้ ได้ ตาม สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis)
  • 13. 1. สมมติฐานการไหลของมวลสาร หรือสมมติฐานของมน ช์ ึ สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis) เป็ นสมมติฐานที่เสนอโดย มึนซ์ (Munch) นักสรี รวิทยาพืช ชาวเยอรมนได้ เสนอสมมติฐานการลําเลียงอาหารในโฟลเอ็มวา ั ่ เกิดจากความแตกต่างของแรงดัน โดยเซลล์ของใบ ซ่งทําการ ึ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ นํ ้าตาล ทําให้ มีความเข้ มข้ นของนํ ้าตาลสูง นํ ้าตาลจึงถูกลําเลียงไปเซลล์ข้างเคยง ี
  • 14. ทําให้ มีความเข้ มข้ นของนํ ้าตาลสูงตามไปด้ วยอย่างรวดเร็ ว และจะ มีการลําเลียงนํ ้าตาลไปยังเซลล์ตอๆ ไปจนถงโฟลเอม แล้ วเกิด ่ ึ ็ แรงดันให้ โมเลกุลนํ ้าตาลเคลื่อนไปตามโฟลเอ็ม ไปยงเนื ้อเย่ือท่ีมี ั ความเข้ มข้ นของนํ ้าตาลน้ อยกว่า เช่น เซลล์ที่ราก ลําต้ น หรื อ ปลายยอด นํ ้าตาลยังคงเคลื่อนที่ตอไปได้ ตราบใดที่ความเข้ มข้ น ่ ของนํ ้าตาลยังแตกต่างกันอยู่
  • 17. สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass-flow hypothesis หรือ Bulk flow hypothesis) หรือการ หลเนื่องจากแรงดัน เป็ นสมมติฐานที่ใช้ อธิบายการลําเลียง สารอาหารผ่าน โฟลเอ็ม โดยมีการทดลองที่สนับสนุนสมมติฐานนี ้ ได้ การไหลของสารอาหารใน โฟลเอ็มจากแหล่งผลิตหรื อแหล่ง สร้ าง (Source) ไปยังแหล่งรับ หรื อแหล่งใช้ (Sink) แหล่งผลิตในพืช หมายถึงใบหรื อส่วนของพืชที่สร้ างอาหาร แหล่งรับ หมายถึงส่วนของพืชที่ใช้ และสะสมอาหาร ได้ แก่ ราก ยอด ลําต้ น ผล ท่ีชนมีโซฟิ ลล์ของใบพืชเกิดกระบวนการ ั้ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ นํ ้าตาลกลูโคส
  • 18. การลําเลียงอาหารในโฟลเอม เกิดจากความแตกต่างของ ็ แรงดันนํ ้า หรื อแรงดันเต่งหรื อแรงดัน ออสโมติก ระหว่างต้ นทาง หรือแหล่งผลิต กับปลายทางหรื อแหล่งรับ พืชมีทอสําหรับลําเลียง ่ นํ ้าและแร่ธาตุ กับอาหารที่พืชสร้ างขึ ้น แยกกันโดยนํ ้าและแร่ธาตุ ส่งไปตามไซเลม อาหารส่งไปตามโฟลเอม ส่วนทางด้ านข้ างนันทัง้ ็ ้ สอง มีเรย์(Ray) ส่งออกไปเลี ้ยงเซลล์ที่อยูข้าง ๆได้ ทําให้ พืชมี ่ การเจริ ญเติบโตออกไปได้ ทงทางด้ านบน ด้ านล่าง และด้ านข้ าง ั้
  • 19. สารละลายในซีฟทิวบ์เคลื่อนผ่านซีฟทิวบ์ที่เรี ยงติดกันจาก แผ่นใบ เข้ าสูก้านใบ กิ่ง และ ลําต้ นของพืชตามลําดับ ่ สารอาหารที่ผลิตได้ จะเคลื่อนตัวจากใบไปยังส่วนต่างๆ เพื่อใช้ หรือ สะสม เช่น สะสมที่ราก ดังนันที่ใบจึงมีความเข้ มข้ นของ ้ สารอาหารสูงกว่าบริ เวณราก การลําเลียงจึงเกิดขึ ้นอย่างตอเน่ือง ่ จากใบสูราก ที่เซลล์รากมีการเปลี่ยนนํ ้าตาลเป็ นแปงซึงไม่ละลาย ่ ้ ่ นํ ้า ดังนันปริ มาณนํ ้าตาลในรากจึงตํ่าอยูเ่ สมอ การลําเลียง ้ สารอาหารจึงเกิดขึ ้นได้ เรื่ อยๆ ส่วนนํ ้าที่ลําเลียงมาด้ วยก็จะแพร่ จากซีฟทิวบ์เข้ าสไซเลมหรื อเซลล์ข้างๆ ได้ ู่
  • 21. ความเร็ วของการลําเลียงขึ ้นอยูกบแรงดันภายในท่อต้ นทาง ่ ั คือ ที่ใบ และ ท่อปลายทาง คือ ที่ราก ถ้าที่ใบมีแรงดันภายในโฟล เอมมาก(สังเคราะห์ด้วยแสงมากสร้ างนํ ้าตาลมาก) และท่ีรากมี ็ แรงดันภายในโฟลเอ็มน้อย (มีการใช้ นํ ้าตาล และสะสมแปงมาก) ้ การลําเลียงอาหารก็จะเกิดขึ ้นได้ เร็ว นอกจากนี ้ อณหภมิท่ีพอเหมาะ แก๊ สออกซิเจน แก๊ ส ุ ู คาร์ บอนไดออกไซด์ นํ ้า และแสงสวาง กเป็นปัจจยสาคญในการ ่ ็ ั ํ ั ลําเลียงสารอาหารของพชด้ วย ื
  • 22. การเกิดแคลโลส (callose) ซึงเป็ นพอลิกแซกคาไรด์ของกลูโคส ่ เกาะผนังของซีฟทิวบ์ทําให้ ช่องลําเลียงแคบลง ก็ทําให้ การลําเลียง อาหารช้ าลงด้ วย ปกติภายในซีฟทิวบ์ มีเส้ นใยโปรตีนที่เรี ยงตัว ตามแนวยาวจากปลายด้ านหนึงไปยังปลายอีกด้ านหนึงทําให้ ่ ่ สารอาหารเคลื่อนย้ ายสะดวก เพราะเส้ นใยโปรตีนเรี ยงตัวอย่างมี ระเบียบ
  • 23. สรุปแบบจาลองการลาเลียงสารอาหาร ํ ํ ในใบพืชเป็ นแหล่งสร้ างนํ ้าตาลกลูโคสจากกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง แล้ วนํ ้าตาลกลูโคสถูกลําเลียงออกมาในไซ โทพลาซึม แล้ วเปลี่ยนเป็ นนํ ้าตาลซูโครสก่อนเข้ าสูโฟลเอ็ม ่ จากนันนํ ้าตาลซูโครสเคลื่อนย้ ายไปในซีฟทิวบ์ของโฟลเอ็ม โดย ้ วิธีการลําเลียงแบบใช้ พลังงาน(active transport) ทําให้ ความเข้มข้นของสารละลายในซีฟทิวบ์ต้นทางสูงขึ ้น นํ ้าจากเซลล์ ข้ างเคียงออสโมซสเข้ ามา ทําให้ ซีฟทิวบ์มีแรงดันเพิ่มขึ ้น ซึงจะไปดัน ิ ่ ให้ สารละลายนํ ้าตาลซูโครสลําเลียงไปตามท่อโฟลเอมจนถึงซฟ ็ ี ทิวบ์ปลายทาง
  • 24. นํ ้าตาลซูโครสก็จะลําเลียงออกจากซีฟทิวบ์ปลายทางไปยังเนื ้อเยื่อ ต่างๆ ที่ต้องการใช้ หรื อแหล่งรับทําให้ ความเข้ มข้ นของสารละลาย นํ ้าตาลซูโครสในซีฟทิวบ์ปลายทางลดลง นํ ้าจากซีฟทิวบ์ปลายทาง แพร่ออกสูเ่ ซลล์ข้างเคียง ซีฟทิวบ์ปลายทางมีแรงดันน้ อยกว่า ซีฟทิวบ์ต้นทาง การลําเลียงอาหารจึงเกิดขึ ้นตลอดเวลาที่ใบพืชมี การสังเคราะห์ด้วยแสง