SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Baixar para ler offline
บทที่ 1
                             การแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร
                                                                          อาจารยสมพร จันทมัตตุการ

            วิทยาศาสตรเปนความรูที่ไดมาโดยวิธีการที่เริ่มตนดวยการสังเกต และการทดลองที่เปน
ระเบี ย บมีขั้ น ตอนโดยปราศจากอคติ แล ว มีก ารเปรี ย บเทีย บจัด หมวดหมู ส รุ ปตั้ ง เป น กฎเกณฑ ข้ึ น
ตอจากนั้นอาจจะใชทฤษฎีนี้เปนหลักสําหรับการสังเกตหรือทดลองตอไป ถาผลที่ไดไมเปนไปตาม
ทฤษฎีที่ตั้งไวก็จะเปลี่ยนแปลงทฤษฎีใหม แลวนําไปใชกับการสังเกตอีกครั้งหนึ่ง ทําอยางนี้จนหมดขอ
ขัดแยง
ความหมายของวิทยาศาสตร
           วิทยาศาสตร หมายถึง ความรู ที่ทดลองหรื อพิสูจ นไ ดว าถูกตองตรงความจริง จัดไวเปน
หมวดหมู มีระเบียบและขั้นตอน สรุปไดเปนกฎเกณฑสากล
           วิทยาศาสตรโดยทั่วไปแบงออกเปนวิทยาศาสตรบริสุทธิ์และวิทยาศาสตรประยุกต
           1. วิทยาศาสตรบริสุทธิ์ (Pure science) เปนวิทยาศาสตรที่บรรยายถึงกฎเกณฑตาง ๆ ของ
ธรรมชาติ ซึ่งไมเกี่ยวของกับการเอาไปใชประโยชนในชีวิตและอุตสาหกรรม อาจแบงออกเปนสาขา
ตาง ๆ เชน สาขาเคมี ฟสิกส ชีววิทยา
           2. วิทยาศาสตรประยุกต (Applied science) เปนการนําเอาวิทยาศาสตรบริสุทธิ์แตละสาขาไป
ใชในชีวิตประจําวันและอุตสาหกรรมตาง ๆ ไดแก ดานการเกษตร การปศุสัตว การประมง เพื่อผลิต
อาหารและวัตถุดิบอุตสาหกรรม เปนตน
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเกี่ยวกับวิทยาศาสตร
            ในการศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร สิ่งที่ควรเขาใจซึ่งเปนความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตรโดยทั่วไป ไดแก วิทยาศาสตรศึกษาอะไร สิ่งที่เปนวิทยาศาสตรแตกตางจากสิ่งที่ไมใช
วิทยาศาสตรอยางไร ลักษณะของความกาวหนาในวิทยาศาสตรเปนอยางไร วิทยาศาสตรมีขอบเขตและ
วงจํากัดอยางไร และวิทยาศาสตรมีลักษณะอยางไร
            1. วิทยาศาสตรศึกษาอะไร
               วิทยาศาสตรเปน วิชาที่ศกษาหาความรูความเขาใจเรื่องของธรรมชาติแสวงหากฎเกณฑ
                                       ึ          
ของธรรมชาติ ดวยความอยากรูของนักวิทยาศาสตร และดวยความเชื่อวา ธรรมชาติมีระเบียบหรือ
กฎเกณฑ สิ่งทีวทยาศาสตรเนนมากในการศึกษาคือเรื่องของวัตถุซึ่งรวมทั้งสสารและพลังงาน สวนเรื่อง
                ่ิ
เกี่ยวกับจิตใจนั้นวิทยาศาสตรศึกษานอยมาก
2

               2. สิ่งที่เปนวิทยาศาสตรและสิ่งที่ไมใชวิทยาศาสตร
                   ความรูหรือขอความที่ถือวาเปนวิทยาศาสตร ไดแก ความรูหรือขอความของความรูท่ี
สามารถตรวจสอบไดวา “ผิด” หรือ “ไมผิด” เชนขอความ “น้ําไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ํา” “อากาศมี
แรงดัน” ขอความเหลานี้ เราสามารถพิสูจนตรวจสอบไดวาผิดหรือไมผิด อาจทําได 2 วิธี คือ
               การใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ โดยการสังเกตและการทดลอง และกระทําโดยวิธีการทาง
ตรรกวิทยา
               ส ว นความรู ห รื อ ข อ ความที่ ไ ม เ ป น วิ ท ยาศาสตร คื อ ความรู ห รื อ ข อ ความที่ ไ ม ส ามารถ
ตรวจสอบไดวา “ผิด” หรือ “ไมผิด” เชนขอความ “มนุษยเมื่อตายแลว ถายังไมเกิดใหมก็จะเปนวิญญาณ
ทองเที่ยวไปเรื่อย ๆ” ขอความนี้เราไมสามารถพิสูจนไดวาผิดหรือไมผิด จึงไมถือวาเปนวิทยาศาสตร
               3. ลักษณะของความกาวหนาในวิทยาศาสตร
                   บุคคลที่ศึกษาทางดานวิทยาศาสตร จะทําใหมีความกาวหนาในวิทยาศาสตรมี 2 ลักษณะคือ
                  3.1 ลักษณะของการขยายความรู กลาวคือ มีลักษณะเปนการเพิ่มพูนและการสะสมความรู
ขึ้นเรื่อย ๆ ในปจจุบันความรูทางวิทยาศาสตรมีมากกวา 300 ป ในแตละยุคแตละสมัยของพัฒนาการ
ทางวิทยาศาสตรก็จะมีการตรวจสอบความรูสมัยกอน ๆ กําจัดขอบกพรอง และเพิ่มเติมความรูใหม
ขึ้นมาเรื่อย ๆ
                3.2 ลักษณะของการเปลี่ยนโลกทรรศน ในกรณีเชนนี้ความรูใหมอาจไมจริงกวาความรูเกา
แต ไ ด รั บ การยอมรั บ ว า เหมาะสมด ว ยเหตุ ผ ลอย า งอื่ น ตั ว อย า งเช น ความรู เ รื่ อ งระบบสุ ริ ย ะมี ก าร
เปลี่ยนแปลงจากแนวความคิดของโทเลมีมาใชของโคเปอรนิคัส การเปลี่ยนแปลงในลักษณะนี้เปนการ
เปลี่ยนจากวิธีมองอยางหนึ่งไปเปนอีกอยางหนึ่ง
               4. ขอจํากัดและขอบเขตของวิทยาศาสตร
                   วิทยาศาสตรมีขอบเขตและวงจํากัด ยังไมสามารถศึกษาหรือไมไดศึกษาหลายสิ่งหลาย
อยาง ดวยเหตุผลดังนี้
                  4.1 จํากัดดวยวิธีการหาความรู ที่เรียกวา วิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งจะตองมีพ้นฐานมาจาก
                                                                                                         ื
การสังเกต การสังเกตจะตองใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งความสามารถของประสาทสัมผัสของมนุษยเรา
มีขอบเขตจํากัด
                  4.2 จํากัดดวยเทคโนโลยีและเครื่องมือ ที่จะใชชวยขยายขีดความสามารถของประสาท
สัมผัส ดังนั้น สิ่งที่อยูนอกเหนือขีดความสามารถของประสาทสัมผัส แมวาจะมีเครื่องมือชวยขยาย
ขอบเขตความสามารถของประสาทสัมผัสแลวก็ตาม จึงอยูนอกขอบเขตของวิทยาศาสตร
3

            5. ลักษณะของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรมลักษณะที่สําคัญดังตอไปนี้
                                                         ี
               5.1 มีลักษณะเปนปรนัย (Objective) กลาวคือ การสังเกตหรือการทดสอบภายใตเงื่อนไข
หรือสภาวะแวดลอมอยางเดียวกัน จะปรากฏผลอยางเดียวกัน ทั้งนี้ไมจํากัดตัวบุคคลที่กระทํา เวลา และ
สถานที่ เชน น้ํายอมไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ําเสมอ
               5.2 วิทยาศาสตรไดจากประสบการณ และทดสอบดวยประสบการณ ความรูที่เกิดจาก
ประสบการณ เรียกวา ความรูเชิงประจักษหรือความรูเชิงประสบ (Empirical knowledge) ซึ่งไดจาก
ประสาทสัมผัสนั่นเอง
                   วิทยาศาสตรอาศัยประสาทสัมผัสเปนพื้นฐาน โดยเฉพาะการสังเกต ซึ่งเปนสิ่งที่ขาด
ไมได และวิทยาศาสตรก็ตองอาศัยวิธีการอุปนัยเพื่อลงขอสรุปทั่วไป (Generalization) ใหไดความรู
ออกมา ถาปราศจากขอมูลจากประสาทสัมผัส นักวิทยาศาสตรก็จะไมมีวัตถุดิบใด ๆ ที่จะทําใหเกิด
กระบวนการอุปนัยเกิดขึ้น
              5.3 วิทยาศาสตรมีลักษณะสากล กลาวคือ มีลักษณะทั่วไป วิทยาศาสตรจะพยามยามขยาย
ความรูใหมีความหมายทั่วไปใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ความรูที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงมีความหมาย
นอย ลักษณะความเปนสากลมีระดับมากนอยตางกัน ดังตัวอยางตอไปนี้
                   ก. เหล็กแทงนี้ตกลงสูพื้น เพราะแรงดึงดูดของโลก
                   ข. เหล็กทุกแทงตกลงสูพื้น เพราะแรงดึงดูดของโลก
                   ค. วัตถุที่มีความหนาแนนมากกวาอากาศตกลงสูพื้น เพราะแรงดึงดูดของโลก
จะเห็นวา ขอ ก. เปนความจริงเฉพาะเหล็กแทงนั้น ขอ ข. เปนความจริงสากลมากขึ้น เพราะพูดถึงเหล็ก
แทงอื่นๆ ดวย สวน ขอ ค. มีลักษณะสากลมากที่สุด เพราะพูดถึงทุกสิ่งที่หนักกวาอากาศ ซึ่งเหล็กก็เปน
สิ่งหนึ่งในบรรดาสิ่งเหลานั้น
              5.4 วิทยาศาสตรมีความเปนสาธารณะ กลาวคือ ความจริงที่วิทยาศาสตรคนพบนั้นจะตอง
แสดงหรื อ ทดลองใหทุก คนเห็ น ได เ หมื อ นกั น ถ า แสดงหรื อ ทดลองใหทุ ก คนเห็น ไม ไ ด ก็ไ ม อยู ใ น
ขอบเขตของวิทยาศาสตร ความรูวิทยาศาสตรไมใชของสวนตัวแตเปนสาธารณะ กลาวคือ ผูอื่นอาจรู
หรือเห็นอยางเดียวกับผูคนพบได เชน
                            
                  อารคิมีดีส (Archimedes) คนพบวาน้ําหนักของวัตถุที่หายไปเมื่อชั่งในน้ํา จะเทากับ
ปริมาตรของน้ําที่วัตถุน้ันแทนที่ กฎนี้เปนกฎเกี่ยวกับการหาความหนาแนนของวัตถุใด ๆ โดยการ
แทนที่นํ้า เขาสามารถอธิบายและทําใหคนอื่นเห็นจริงดวย กรณีเชนนี้แตกตางจากการที่ใครสักคนหนึ่ง
บอกวาผีมีจริงและเขาเคยพบเห็นมากอน ซึ่งเขาไมสามารถจะแสดงใหคนอื่นเห็นเชนเดียวกับเขาได
              5.5 วิทยาศาสตรมีลักษณะพลวัต (Dynamic) กลาวคือ ขอความรูที่วิทยาศาสตรคนพบอาจ
เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาตอไปได เมื่อมีขอมูลประจักษพยานเปลี่ยนแปลงไปหรือเพิ่มมากขึ้น หรือมี
เครื่องมือที่ใชตรวจสอบปรากฏการณที่ดีขึ้นกวาเดิม ทําใหไดรับขอมูลใหมที่เที่ยงตรงกวาเดิม ความรู
ทางวิทยาศาสตรจงไมใชความรูคงที่ หรือไมใชความรูที่จริงแทแนนอนไมเปลี่ยนแปลงตลอดกาล
                    ึ
4

            5.6 วิทยาศาสตรตองชวยในการคาดหมายอนาคตได ความเปนสากลหรือลักษณะที่ใชได
ทั่ว ๆ ไปของวิทยาศาสตรทําใหเราคาดหมายสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได เชน
                ความรูที่วา “ถานําน้ําบริสุทธิ์มาตมที่ระดับน้ําทะเล น้ําจะเดือดที่อุณหภูมิ 100 องศา
เซลเซียส” เปนความรูที่ไดจากการทดลองในอดีต แตความรูนี้ชวยใหเราทราบวา ถาเราตองการน้ําเดือด
ในอนาคต เราจะตองทําอยางไร การศึกษาคนควาทางวิทยาศาสตรก็เพื่อแสวงหากฎเกณฑที่จะชวยใน
การคาดหมายอนาคตหรือแสวงหาเงื่อนไขที่จะทําใหสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น หรือไมเกิดขึ้นในอนาคต
ความรูทางวิทยาศาสตร
            ความรู ท างวิ ท ยาศาสตร เ ป น ผลิ ต ผล (Product)         ที่ ไ ด จ ากการค น คว า แสวงหาของ
นักวิทยาศาสตร ความรูที่ถือวาเปนความรูทางวิทยาศาสตรจะตองสามารถทดสอบยืนยันไดวาไมผิดจาก
การทดสอบหลาย ๆ ครั้ง ถาหากการทดสอบครั้งใด พบวาความรูนั้นไมถูกตองนักวิทยาศาสตรก็ตองหา
ขอมูลเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงความรูนั้นเสียใหม ถากระทําไมได ความรูดังกลาวก็จะถูกยกเลิกไป ไมอาจ
ถือวาเปนความรูทางวิทยาศาสตร ดังนั้นความรูทางวิทยาศาสตรจะตองคงทนตอการพิสูจนอยูเสมอ
            ความรูท่ถือวาเปนความรูทางวิทยาศาสตร อาจแบงออกไดเปน 6 ประเภทคือ
                      ี
            1. ขอเท็จจริง (Fact)
                ขอเท็จจริงนั้นจะตองเปนสิ่งที่สังเกตไดโดยตรง และจะตองคงความจริงโดยการทดสอบ
ไดผลเหมือนกันทุกครั้ง เชน “ไฮโดรเจนเปนกาซที่ติดไฟ” “น้ํามะนาวมีรสเปรี้ยว” “มดแดงมีลําตัวเปน
ปลองและมีขา 6 ขา” เปนตน
                ขอเท็จจริงแตละอยางมีความหมายนอยมาก แตถานําขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกันหลาย ๆ
ขอเท็จจริงมารวมกันเขา ก็จะมีความหมายมากขึ้น ขอเท็จจริงเดี่ยวทั้งหลายเปรียบเสมือนชิ้นสวนของ
ภาพปริ ศ นาภาพหนึ่ ง เมื่ อ นํ า ชิ้ น ส ว นเหล า นั้ น มาประกอบกั น เข า อย า งเหมาะสมก็ จ ะได ภ าพที่ มี
ความหมายขึ้น ทําใหเราทราบวาภาพนั้นคืออะไร ก็จะเกิดเปนความคิดรวบยอด
            2. ความคิดรวบยอด (Concept)
                ความคิดรวบยอด บางคนใชคําวา “มโนมติ” “มโนทัศน” หรือ “สังกัป” เกิดจากการนําเอา
ขอเท็จจริงหลาย ๆ ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกันมาผสมผสานกันจนเกิดรูปแบบใหม รูปแบบใหมนี้เรียกวา
ความคิดรวบยอดของสิ่งนั้น ดังนั้นความคิดรวบยอดของสิ่งใดก็คือ ความคิดโดยสรุปตอสิ่งนั้น
            เมื่อเราพบปรากฏการณใดปรากฏการณหนึ่ง ถาตองการทราบวาเรามีความคิดรวบยอดตอมัน
หรือไม มีขอพิจารณาวาเรามีอยางใดอยางหนึ่งใน 3 อยางตอไปนี้หรือไม
             
            1) มองเห็นคุณสมบัติรวมของสิ่งตาง ๆ ในปรากฏการณนั้น
            2) มองเห็นความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ในปรากฏการณนั้น
            3) มองเห็นแนวโนมของสิ่งตาง ๆ ในปรากฏการณนน         ั้
            ถาเรามีอยางใดอยางหนึ่ง ก็แสดงวาเรามีความคิดรวบยอดของสิ่งนั้น
5

               กลาวสรุป ความคิดรวบยอด หมายถึง ความเขาใจโดยสรุปเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกิดจาก
การสังเกตหรือไดรับประสบการณเกี่ยวกับสิ่งนั้น แลวนําคุณลักษณะตาง ๆ ของสิ่งนั้นมาประมวลกัน
เขาเปนความคิดโดยสรุปของสิ่ง ๆ นั้น เชน “แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา” “แมลงคือสัตวที่มีลําตัวเปน
ปลองและมีขา 6 ขา” “กรดคือสารที่มีรสเปรี้ยว”
            3. หลักการ (Principle)
               หลักการ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ความจริงหลัก” คือ ความจริงที่สามารถใชเปนหลักใน
การอางอิงได ไดจากการนําความคิดรวบยอดที่เกี่ยวของสัมพันธกันมาผสมผสานกัน ดังนั้นหลักการจึง
เปนกลุมของความคิดรวบยอด คุณสมบัติของหลักการคือ จะตองเปนความจริงที่สามารถทดลองพิสูจน
ได และไดผลเหมือนเดิมทุกครั้ง เชน “ขั้วแมเหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน ขั้วแมเหล็กตางกันจะดูดกัน”
“เมื่อสารไดรับความรอนจะขยายตัว” เปนตน
            4. สมมุติฐาน (Hypothesis)
               บางคนอาจไมยอมรับวาสมมุติฐานเปนความรูวิทยาศาสตรอยางหนึ่ง เพราะเปนความรูที่
ยังไมไดรับการทดสอบหรือรับรอง แตสมมุติฐานก็เปนความจริงชั่วคราวที่อาจกลายเปนกฎ หลักการ
หรือทฤษฎีตอไปได เมื่อไดรับการทดสอบยืนยันแลว เชน สมมุติฐานของอาโวกาโดร (Avogadro,s
hypothesis) ที่มีช่ือเสียงไดเปลี่ยนสถานะเปนกฎของอาโวกาโดรเนื่องจากไดทดสอบหลายครั้งแลววา
ไมผิด
               สมมุติฐานเปนคําอธิบายหรือคําตอบลวงหนาที่อาจเปนไปไดของปญหาที่นักวิทยาศาสตร
กําลังศึกษาหรือสนใจ นักวิทยาศาสตรตั้งสมมุติฐานขึ้นโดยอาศัยขอมูล ประสบการณ และความรูเดิม
เปนพื้นฐาน ขอความของสมมุติฐานเปนการคาดคะเนคําตอบลวงหนากอนที่จะดําเนินการทดสอบความ
ถูกตอง เฮมเพล (Hempel) ไดใหความหมายของสมมุติฐานวา “สมมุติฐาน หมายถึง ขอความใด ๆ ก็
ตามที่กําลังถูกทดสอบ ไมวาขอความนั้นจะหมายถึงขอเท็จจริง หรือเหตุการณเฉพาะ หรือเปนกฎทั่วไป
หรือเปนขอความอื่นที่ซับซอนยิ่งขึ้น”
               จะเห็นไดวาสมมุติฐานไมวาจะมีลักษณะใด ก็จะตองเปนขอความที่ถูกทดสอบ ขอความที่
ถูกทดสอบแลวและไมถูกทดสอบอีก เพราะเปนที่ยอมรับกันแลวจะไมเปนสมมุติฐานอีกตอไป
               ในการทดสอบสมมุติฐาน กระทําไดโดยการสังเกตโดยตรง และ/หรือทดลอง ถาพบวาผล
การสังเกตและ/หรือทดลองเปนไปตามที่คาดไว เราก็คงสมมุติฐานไว แตถาไมเปนไปตามที่คาดไว
สมมุติฐานนั้นก็ผิด ตองทิ้งไป หรือตองแกไขปรับปรุงใหม
               ตัวอยางของสมมุติฐาน ไดแก “เพนิซิลลิน” เปนยาปฏิชีวนะสําหรับรักษาโรคตาง ๆ ได
มากมายหลายชนิด เนื่องจากเซอรอะเล็กซานเดอร เฟลมิง (Sir Alexander Fleming) ไดตั้งสมมุติฐานวา
“เชื้อรา Penicillium notatum ผลิตสารซึ่งมีฤทธิ์ตานและทําลายแบคทีเรีย” ลุย ปาสเตอร (Louis Pasteur)
ไดตั้งสมมุติฐานวา “ตัวการสําคัญที่กอใหเกิดการหมัก คือจุลินทรียซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก ผลที่
ไดจากการหมักจะเปนเชนไรขึ้นอยูกับชนิดของจุลินทรียที่มีปรากฏอยูในระหวางกรรมวิธีการหมัก” ทํา
6

ใหแกปญหาใหกับผูผลิตเหลาองุนที่ประสบปญหา คือ เหลาองุนที่ผลิตไดมีรสเปรี้ยวแทนที่จะมีรส
หวานเหลานี้ เปนตน
           5. ทฤษฎี (Theory)
              ทฤษฎี คือความรูที่เปนหลักการกวาง ๆ ทฤษฎีเปนสิ่งที่นักวิทยาศาสตรสรางขึ้นมาเอง มี
ลักษณะเปนขอความที่ใชอธิบายหรือทํานายปรากฏการณตาง ๆ ที่อยูในขอบเขตของทฤษฎีนั้น ๆ
จุดมุงหมายของการสรางทฤษฎีก็คือ เพื่ออธิบายปรากฏการณของธรรมชาติ และทํานายปรากฏการณ
ของธรรมชาติ
             การที่จะยอมรับทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ง อยูในเงื่อนไข 3 ประการคือ
             1) ทฤษฎีนั้นจะตองอธิบายกฎ หลักการ และขอเท็จจริงตาง ๆ ของเรื่องราวที่อยูใน
ขอบเขตของทฤษฎีได
             2) ทฤษฎีนั้นจะตองนิรนัยออกไปเปนกฎหรือหลักการบางอยางได
             3) ทฤษฎีนั้นจะตองทํานายปรากฏการณที่อาจเกิดตามมาได
             ตัวอยางของทฤษฎี ไดแก ทฤษฎีโมเลกุลของแมเหล็ก กลาววา “สารแมเหล็กทุกชนิดจะมี
โมเลกุลเล็ก ๆ ที่มีอํานาจแมเหล็กอยูแลว เมื่อยังไมแสดงอํานาจแมเหล็กออกมาเปนเพราะโมเลกุล
แมเหล็กของมันเรียงตัวกันระเกะระกะไมเปนระเบียบ เมื่อแสดงอํานาจแมเหล็ก โมเลกุลแมเหล็กของ
มันจะเรียงตัวกันเปนระเบียบ เอาขั้วเหนือชี้ไปปลายขางหนึ่ง ขั้วใตชี้ไปปลายอีกขางหนึ่ง ดังนั้นอํานาจ
แมเหล็กจึงไมทําลายกัน และจะมีขั้วอิสระที่ปลายทั้งสองขาง” จากขอความของทฤษฎี จะสังเกตไดวา มี
ลักษณะเปนการอธิบายปรากฏการณธรรมชาติ โดยมีขอความที่กลาวถึงสิ่งหรือกระบวนการที่อยู
ซอนเรน หรืออยูเบื้องหลังของปรากฏการณนั้น ๆซึ่งอาจทดสอบดวยการสังเกตหรือทดลองได ตัวอยาง
การตรวจสอบทฤษฎีโมเลกุลของแมเหล็ก เชน
              เราสามารถทําเหล็กใหเปนแมเหล็กได โดยการนําแมเหล็กแทงหนึ่งมาถูแทงเหล็ก โดยถู
ไปทางเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งเปนการทดสอบทฤษฎีดวยการจัดระเบียบของโมเลกุลแมเหล็ก
              การหักหรือการตัดแมเหล็กแทงหนึ่งออกเปนทอน ๆ แลวทดสอบดูวาแมเหล็กแตละทอน
ยังแสดงอํ า นาจแม เ หล็ ก หรื อไม ถ า แม เ หล็ ก แตละทอนยั งคงสามารถดูด สารแมเ หล็ ก ได เนื่อ งจาก
โมเลกุลแมเหล็กยังคงเรียงตัวกันเปนระเบียบอยู ก็แสดงวาทฤษฎีโมเลกุลของแมเหล็กยังคงใชได
              ถาตรวจสอบตอไปอีกโดยพยายามทําลายการจัดระเบียบของโมเลกุลแมเหล็กภายใน
แมเหล็กแทงหนึ่ง ดวยการเผาหรือเคาะแทงแมเหล็กนั้นหลาย ๆ ครั้ง และตรวจสอบดูวาอํานาจของ
แมเหล็กแทงนั้นเสื่อมถอยลงไปหรือไม ถาพบวาอํานาจแมเหล็กหมดไปหรือลดนอยลง ทฤษฎีดังกลาว
ก็ไดรบการสนับสนุนยืนยันอีกครั้งหนึ่ง
       ั
              ในการตรวจสอบทฤษฎีนั้น สามารถทดสอบทฤษฎีใดวา “ผิด” หรือ “ไมผิด” ได แตจะ
7

ทดสอบวา “ถูก” ไมได เพราะแมวาทฤษฎีใดจะไดรับการทดสอบวาถูกตองหมื่นครั้ง ก็ไมอาจแนใจได
รอยเปอรเซ็นตวา ถาทําการทดสอบตอไปดวยวิธการและเครื่องมือตาง ๆ อีกแสนครั้งจะยังคงถูกทุกครั้ง
                                                ี
เราจึงพูดไดแตเพียงวาผลการทดสอบยืนยันหรือสนับสนุนทฤษฎีนั้น ๆ แตเรามีทางเพิ่มความนาเชื่อถือ
ของทฤษฎีไดดวยการใหทฤษฎีนั้น ๆ ไปทํานายปรากฏการณตาง ๆ ใหไดหลาย ๆ ปรากฏการณ และ
ทดสอบวาผลการทํานายดังกลาวถูกตองทุกครั้ง ทฤษฎีนั้น ๆ ก็มีความนาเชื่อถือมากขึ้นทุกที ๆ
          6. กฎ (Law)
             กฎ คือหลักการอยางหนึ่ง แตเปนขอความที่เนนความสัมพันธระหวางเหตุกับผล เปน
ขอความที่สามารถแปลงเปนรูป “ถา…ดังนั้น…” ได ดังนั้น จึงอาจเขียนในรูปของสมการแทนได เพราะ
สมการเป นข อความทางคณิ ตศาสตรที่ แสดงความสั มพั น ธร ะหวางตัว แปรตาง ๆ เนื่องจากกฎเปน
หลักการอยางหนึ่ง ดังนั้นจึ งมีความจริงในตัว ของมันเอง สามารถทดลองไดผลเหมือนเดิมทุกครั้ง
กฎเปนขอความที่ไดผานการทดสอบมาบางแลววาไมผิด กฎจะยิ่งมีสถานะดีขึ้นถายิ่งผานการทดสอบมา
มาก แมวากฎจะเปนขอความที่แสดงความสัมพันธระหวางเหตุกับผล แตกฎก็ไมสามารถอธิบายใหเรา
ทราบวา เหตุใดความสัมพันธจึงเปนเชนนั้น สิ่งที่จะบอกความสัมพันธในกฎไดก็คือ “ทฤษฎี” เชน
กฎของบอยลที่กลาววา “ถาอุณหภูมิคงที่ ปริมาตรของกาซจะเปนสัดสวนอยางผกผันกับความดัน” กฎ
การเคลื่อนที่ของนิวตันที่กลาววา “วัตถุจะรักษาสภาวะอยูนิ่ง หรือสภาวะการเคลื่อนที่เปนเสนตรงเสมอ
หรือจะเปลี่ยนแปลงความเร็วจะตองมีแรงภายนอกมากระทํา”
กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร
           วิทยาศาสตรเปนความรูเกี่ยวสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ และกระบวนการคนควาหาความรูทาง
วิทยาศาสตรนั้นมีขั้นตอน มีระเบียบแบบแผน วิทยาศาสตรมีขอบขายกวางขวางครอบคลุมถึงสิ่งที่
มนุษยพยายามอธิบาย เพื่อใหเขาใจปรากฏการณธรรมชาติ ตั้งแตใกลตัวที่สุดจนถึงไกลตัวที่สุด จาก
เรื่องระดับงายที่สด ไปถึงระดับที่ซับซอนที่สุด
                   ุ
           การทํ า งานของนั ก วิ ท ยาศาสตร ใ นการแสวงหาความรู ท างวิ ท ยาศาสตร นั้ น ต อ งอาศั ย
กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งกระบวนการนี้เปรียบเสมือนเครื่องมือของชาง ถาชาง
ขาดเครื่องมือก็คงจะซอมหรือสรางอะไรไมได ในทํานองเดียวกัน ถานักวิทยาศาสตรไมมีกระบวนการ
แสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ก็จะไมสามารถคนควาหาความรูทางธรรมชาติได
           กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ประกอบดวยกระบวนการตาง ๆ ดังตอไปนี้คือ
           1. วิธีการทางวิทยาศาสตร
           2. เจตคติทางวิทยาศาสตร
           3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
8

          ผูเรียนจะไดศึกษารายละเอียดดังตอไปนี้
          1. วิธีการทางวิทยาศาสตร (Science method)
               วิธีการทางวิทยาศาสตร จึงเปนยุทธวิธีที่เอื้อประโยชนตอการแกปญหาที่นักวิทยาศาสตรใช
เปนเครื่องมือเพื่อคนหาความจริงของปรากฏการณตางๆที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ในการแสวงหาความรู
นั้นแมวา
นักวิทยาศาสตรแตละคนตางก็คนควา และทํางานแกปญหาตามวิธีของตนเองก็ตามโดยหลักกวาง ๆ
นาจะเปนรูปแบบวิธีการที่เปนสากล ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตรมี 5 ขั้นตอนดังนี้
                 1.1 ขั้นการกําหนดปญหา การกําหนดปญหาหรือการตั้งปญหา คือ การวิเคราะห
สถานการณเพื่อตองการที่จะแยกประเด็นที่เปนปญหา และทําความเขาใจในปญหานั้นใหเดนชัดที่สด       ุ
                 การสังเกตจึงเปนขั้นแรกที่สําคัญนําไปสูขอเท็จจริงบางประการ และมีสวนทําใหเกิดปญหา
                                                                                      
การสังเกตจึงควรสังเกตอยางรอบคอบ ละเอียดถี่ถวน ดังนั้นในการตั้งปญหาที่ดี ควรจะอยูในลักษณะที่
นาจะเปนไปได สามารถตรวจสอบหาคําตอบไดงาย และยึดขอเท็จจริงตาง ๆ ที่รวบรวมมา
                 1.2 ขั้นการตังสมมุติฐาน สมมุติฐานเปนคําตอบที่อาจเปนไปได และคําตอบที่ยอมรับวา
                              ้
ถูกตองเชื่อถือได เมื่อมีการพิสจน หรือตรวจสอบหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะสมมุติฐานที่ดควรมีลักษณะดังนี้
                                 ู                                                  ี
                     1) เปนสมมุติฐานที่เขาใจไดงาย
                     2) เปนสมมุติฐานที่แนะลูทางที่จะตรวจสอบได
                     3) เปนสมมุติฐานที่จะตรวจไดโดยการทดลอง
                     4) เปนสมมุตฐานที่สอดคลอง และอยูในขอบเขตของขอเท็จจริงที่ไดจากการสังเกต
                                   ิ                        
และสัมพันธกบปญหาที่ตั้งไว
                  ั
                 การตั้งสมมุติฐานตองยึดปญหาเปนหลักเสมอ ควรตั้งหลาย ๆ สมมุติฐานเพื่อมีแนวทางของ
คําตอบหลาย ๆ อยาง แตไมยึดมั่นสมมุติฐานใด สมมุติฐานหนึ่ง เปนคําตอบ กอนที่จะพิสูจนตรวจสอบ
สมมุติฐานหลาย ๆ วิธี และหลาย ๆ ครั้ง
                 1.3 ขั้นการตรวจสอบสมมุติฐานและการเก็บรวบรวมขอมูล เมื่อตั้งสมมุติฐานแลว หรือ
คาดเดาคําตอบหลาย ๆ คําตอบไวแลว กระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นตอไป คือขั้นการตรวจสอบ
สมมุติฐาน ในการตรวจสอบสมมุติฐานจะตองยึดขอกําหนดสมมุติฐานไวเปนหลักเสมอ เนื่องจาก
สมมุติฐานที่ดี ไดแนะลูทางการตรวจสอบและการออกแบบการตรวจสอบไวแลว
              วิธีการตรวจสอบสมมุติ ฐาน ไดแ ก การสังเกต และรวบรวมขอเท็จ จริงตาง ๆ ที่เ กิด จาก
ปรากฏการณธรรมชาติ อีกวิธีหนึ่งโดยการทดลอง ซึ่งเปนวิธีการที่นิยมใชมากที่สุด เพื่อทําการคนควา
หาขอมูล รวบรวมขอมูลเพื่อตรวจสอบดูวา สมมุติฐานขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองที่สุด ในขั้นตอนนี้
จะตองมีการบันทึกขอมูลที่ไดจากการสังเกตหรือการทดลองไวดวย         
9

            1.4 ขั้นการวิเคราะหขอมูล เปนขั้นการนําขอมูลที่ไดจากการสังเกต การคนควา การทดลอง
หรือการรวบรวมขอมูลมาวิเคราะหผล อธิบายความหมายของขอเท็จจริง แลวนําไปเปรียบเทียบกับ
สมมุติฐานที่ตั้งไว วาสอดคลองกับสมมุติฐานเพียงใด
            1.5 ขั้นการสรุป เปนการสรุปผลที่ไดจากการทดลอง การคนควารวบรวมขอมูล สรุปขอมูล
ที่ไดจากการสังเกตหรือการทดลองวา สมมุติฐานขอใดถูก พรอมทั้งสรางทฤษฎีที่จะใชเปนแนวทาง
สําหรับอธิบายปรากฏการณอื่น ๆ ที่คลายกัน และนําไปใชปรับปรุงชีวิตความเปนอยูของมนุษยใหดีขึ้น
          2. เจตคติทางวิทยาศาสตร (Scientific attitude)
             ในการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งนักวิทยาศาสตรจะใชวิธีการทางวิทยาศาสตร
หรือวิธีการแกปญหาอื่น ๆ เพื่อศึกษาหาความรูใหไดผลดีนั้น ขึ้นอยูกับการคิดการกระทําที่อาจเปน
อุปนิสัยของนักวิทยาศาสตรผูนั้น ความรูสึกนึกคิดดังกลาวจัดเปนเจตคติทางวิทยาศาสตร และผูที่มีเจต
คติทางวิทยาศาสตร ควรมีคุณสมบัติดังนี้
            2.1 ความอยากรูอยากเห็น             นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับ
ปรากฏการณธรรมชาติเพื่อแสวงหาคําตอบที่มีเหตุผลในขอปญหาตาง ๆ และจะมีความยินดีมากที่ได
พบความรูใหม
            2.2 ความเพียรพยายาม นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีความเพียรพยายาม ไมทอถอยเมื่อเกิด
อุปสรรคหรือมีความลมเหลวในการทําการทดลอง มีความตั้งใจแนวแนตอการเสาะแสวงหาความรู เมื่อ
ไดคําตอบที่ไมถูกตองก็จะไดทราบวา วิธีการเดิมใชไมได ตองหาแนวทางในการแกปญหาใหมและ
ความลมเหลวที่เกิดขึ้นนั้นถือวาเปนขอมูลที่ตองบันทึกไว
            2.3 ความมีเหตุผล นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีเหตุผล ยอมรับในคําอธิบายเมื่อมีหลักฐาน
หรือขอมูลมาสนับสนุนอยางเพียงพอ อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล หาความสัมพันธของ
เหตุและผลที่เกิดขึ้น ตรวจสอบความถูกตองสมเหตุสมผลของแนวคิดตาง ๆ กับแหลงขอมูลที่เชื่อถือได
แสวงหาหลักฐานและขอมูลจากการสังเกตหรือการทดลอง เพื่อสนับสนุนหรือคิดคนหาคําอธิบาย มี
หลักฐานขอมูลเพียงพอเสมอกอนจะสรุปผล เห็นคุณคาในการใชเหตุผล ยินดีใหมีการพิสูจนตามเหตุผล
และขอเท็จจริง
            2.4 ความซื่อสัตย นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีความซื่อสัตย บันทึกผลการทดลองหรือ
ขอมูลตามความเปนจริงดวยความละเอียดถูกตอง ผูอื่นสามารถตรวจสอบในภายหลังไดเห็นคุณคา ใน
การเสนอขอมูลตามความเปนจริง
            2.5 ความมีระเบียบและรอบคอบ นักวิทยาศาสตรตองเปนผูเห็นคุณคาของความมีระเบียบ
และรอบคอบ และยอมรับถึงประโยชนในการวางแผนการทํางานและจัดระบบการทํางาน นําวิธีการ
หลาย ๆ วิธีมาตรวจสอบผลการทดลองหรือวิธีการทดลอง ไตรตรอง พินิจพิเคราะห ละเอียด ถี่ถวนใน
การทํางาน ทํางานอยางมีระเบียบเรียบรอย มีความละเอียดรอบคอบกอนการตัดสินใจ
10

            2.6 ความใจกวาง นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีใจกวาง ที่จะรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รับ
ฟงคําวิพากษวิจารณ ขอโตแยงหรือขอคิดเห็นที่มีเหตุผลของผูอื่นโดยไมยึดมั่นในความคิดเห็นของ
ตนเองฝายเดียว ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ยอมพิจารณาขอมูลหรือความคิดที่ยังสรุปไมได และพรอมที่
จะหาขอมูลเพิ่มเติม
          3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science process skills)
             วิ ทยาศาสตร เ ป น วิชาที่ ประกอบด ว ยความรูแ ละกระบวนการแสวงหาความรู ในการ
แสวงหาความรูทางวิทยาศาสตรนั้น นักวิทยาศาสตรไดใชวิธีการทางวิทยาศาสตร และตองมีเจตคติทาง
วิท ยาศาสตร ด ว ย นั ก วิท ยาศาสตร ที่ ทํ า งานตามขั้น ตอนของวิ ธีก ารทางวิ ท ยาศาสตรนั้น จะประสบ
ความสําเร็จหรือความลมเหลว ขึ้นอยูกับความสามารถและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ
นักวิทยาศาสตรแตละคน พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติและฝกฝนความคิดอยางเปนระบบนี้ เรียกวา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ซึ่งเปนกระบวนการทางปญญา (Intellectual skills)
             นักวิทยาศาสตรไดกําหนดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ไวทั้งหมด 13 ทักษะ
ประกอบดวยทักษะขั้นพื้นฐาน (Basic science process skills) 8 ทักษะ และทักษะขั้นผสม หรือขั้น
บูรณาการ (Integrated science process skills) 5 ทักษะดังนี้
            ทักษะขั้นพื้นฐาน
            1. ทักษะการสังเกต
            2. ทักษะการวัด
            3. ทักษะการคํานวณ
            4. ทักษะการจําแนกประเภท
            5. ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา
            6. ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
            7. ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล
            8. ทักษะการพยากรณ
            ทักษะขั้นผสมหรือขั้นบูรณาการ
            9. ทักษะการตั้งสมมุติฐาน
            10. ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
            11. ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร
            12. ทักษะการทดลอง
            13. ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
11

           1. ทักษะการสังเกต
               ทักษะการสังเกต (Observing) หมายถึง ความชํานาญในการใชประสาทสัมผัสอยางใด
อย างหนึ่ง หรือหลายอยางรวมกัน ไดแ ก ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เข าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุห รือ
ปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติ โดยไมเพิ่มความคิดเห็นของผูสังเกตลงไป
               พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการสังเกต จะตองแสดงความสามารถดังนี้
              1) ชี้บงและบรรยายสมบัติของวัตถุได โดยใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย
อยางรวมกันได
               2) บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุไดโดยการกะประมาณได เชน น้ําหนัก ขนาด
อุณหภูมิ ปริมาตร ความสูง เปนตน
               3) บรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่ไดสังเกตได เชน ลําดับขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง
หรือลักษณะของสถานการณที่ทาใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
                                 ํ
         2. ทักษะการวัด
            ทักษะการวัด (Measuring) หมายถึง ความชํานาญในการแสดงจํานวนของวัตถุหรือสารใช
เชิงปริมาณที่มีหนวยแสดง เชน เมตร กรัม ลิตร และมีความชํานาญในการเลือกใชเครื่องมือมาตรฐานที่
เหมาะสม เชน ไมเมตร ไมบรรทัด เครื่องชั่ง และความสามารถในการอานคาที่ไดจากการวัดออกเปน
ตัวเลขไดถูกตองรวดเร็วและใกลเคียงกับความเปนจริงพรอมทั้งมีหนวยกํากับเสมอ
              ดังนั้นการวัดมีองคประกอบ 3 อยางคือ
              1) การเลือกเครื่องมือใหเหมาะสมกับสิ่งที่วัด
              2) ตัวเลขที่ไดจากการวัดตองเปนตัวเลขที่แนนอน
              3) ระบุหนวยใหเหมาะสม
             พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการวัด จะตองแสดงความสามารถดังนี้
              1) เลือกเครื่องมือไดเหมาะสมกับสิ่งที่จะวัด
              2) บอกเหตุผลในการเลือกเครื่องมือได
              3) บอกวิธวัดและวิธีใชเครื่องมือไดถูกตอง
                         ี
              4) ทําการวัดหาน้ําหนัก ปริมาตร อุณหภูมิ และอื่น ๆ ไดถูกตอง
              5) ระบุหนวยของตัวเลขที่ไดจากการวัดได
         3. ทักษะการคํานวณ
            ทักษะการคํานวณหรือทักษะการใชตัวเลข (Using numbers) หมายถึง ความชํานาญในการ
นับจํานวนของวัตถุ และการนําตัวเลขแสดงจํานวนที่นับไดมาคิดคํานวณโดยวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร
หาคาเฉลี่ย หรือการใชตัวเลขคํานวณกับสูตรทางวิทยาศาสตรได
12

              พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการคํานวณจะตองแสดงความสามารถดังนี้
               1) นับจํานวนสิ่งของไดถูกตอง
               2) ใชตัวเลขแสดงจํานวนทีนบได่ ั
               3) บอกวิธีคํานวณได
               4) คิดคํานวณไดถูกตอง
               5) แสดงวิธีคิดคํานวณได
          4. ทักษะการจําแนกประเภท
             ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) หมายถึง ความชํานาญในการจําแนกหรือเรียงลําดับ
วัตถุ หรือสิ่งที่อยูในปรากฏการณตาง ๆ ออกเปนหมวดหมู โดยมีเกณฑในการจําแนกเกณฑดังกลาวอาจ
ใชความเหมือน ความแตกตาง และสมบัติบางประการนั้นเปนเกณฑ
            พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการจําแนกประเภท จะตองแสดงความสามารถดังนี้
               1) เรียงลําดับหรือแบงพวกสิ่งตาง ๆ จากเกณฑที่ผูอื่นกําหนดใหได
               2) เรียงลําดับหรือแบงพวกสิ่งตาง ๆ โดยใชเกณฑของตนเองได
               3) บอกเกณฑที่ผูอื่นเรียงลําดับหรือแบงพวกได
          5. ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา
           ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Space / space
relationships and space / time relationships ) หมายถึง ความชํานาญที่จะบอกรูปรางของวัตถุ หรือหา
ตําแหนงของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง หรือการเปลี่ยนที่อยูของวัตถุกับเวลาที่เปลี่ยนไป
           พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการใชความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา
จะตองแสดงความสามารถดังนี้
               1) บอกชื่อของรูปและรูปทรงทางเรขาคณิตได
               2) ชี้บงรูป 2 มิติ และรูปทรง 3 มิติ ที่กําหนดใหได
               3) บอกความสัมพันธระหวางรูป 2 มิติ กับรูป 3 มิติได
               4) บอกตําแหนงและทิศทางของวัตถุได
               5) บอกความสัมพันธของสิ่งที่อยูหนากระจกเงา กับภาพที่ปรากฏในกระจกเงาได
               6) บอกความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนตําแหนง เปลี่ยนขนาด หรือปริมาณของวัตถุกับ
เวลาได
          6. ทักษะการจัดกระทําขอมูลและสื่อความหมายขอมูล
             ทักษะการจัดกระทําขอมูลและสื่อความหมายขอมูล (Organizing data and communication)
หมายถึง ความชํานาญในการนําขอมูลที่ไดจากการวัด การทดลอง และจากแหลงอื่น ๆ มาเสนอในรูปที่
ทําใหผอื่นเขาใจไดดีย่งขึ้น การสื่อความหมายขอมูลอาจอยูในรูปของการวาดรูป แผนภาพ แผนที่ ตาราง
        ู                 ิ
กราฟ หรือการใชภาษาเขียน ภาษาพูด
13

                                      การจัดกระทําขอมูล                      การสื่อความขอมูล
                                      - เรียงลําดับ                           - แผนภาพ
         ขอมูลเดิม                   - จัดกลุม                              - แผนที่
                                      - หาความถี่                             - ตาราง
                                      - แยกประเภท                             - กราฟ
                                      - คํานวณ                                - ภาษาเขียน
                                      ฯลฯ                                     ฯลฯ



            พฤติ ก รรมที่ แ สดงว า เกิ ด การจั ด กระทํ า ข อ มู ล และสื่ อ ความหมายข อ มู ล จะต อ งแสดง
ความสามารถดังนี้
                1) ใชขอมูลในการบรรยายได หมายถึง ขอความที่รัดกุม ชัดเจน ทีแสดงความสัมพันธระหวาง
                                                                                 ่
ขอมูลที่ตองการสื่อความหมาย เชน เมื่ออุณหภูมิและมวลคงที่ ปริมาตรของแกส จะแปรผกผันกับความดัน
                2) ใชสญลักษณได หมายถึง ตัวอักษรหรือเครื่องหมายที่ตกลงกันไวแทนขอความบางอยาง
                         ั
ทั้งนี้เพือใหรัดกุม สะดวกและเขาใจตรงกัน เชน He หมายถึง ธาตุฮีเลียม, H2SO4 หมายถึงกรดซัลฟวริก
          ่
เปนตน
                3) ใชสมการหรือสูตรทางวิทยาศาสตรเปนการแสดงสรุปความสัมพันธของตัวแปรซึ่ง
สามารถสื่อความหมายไดรัดกุม เที่ยงตรง เขาใจไดงาย เชน ขอความใน (ขอที่ 1) สามารถเขียนแทนดวย
สมการหรือสูตรไดดังนี้ P1V1 = P2V2
                4) ใชตารางแสดงขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัดหรือการทดลอง ขอมูลดังกลาวใหเขียน
ลงในตารางได เพื่อสะดวกในการสังเกตและงายตอการตีความหมายขอมูล
                5) ใชแผนสถิติ เปนกราฟ เสนอขอมูลที่เปนตัวเลข เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปร
ที่ศึกษา กราฟมีหลายรูปแบบ ไดแก แบบแทง แบบกง แบบเสน เปนตน
             7. ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล
                 ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล (Inferring) หมายถึง ความชํานาญในการอธิบายเกิน
ขอบเขตของขอมูลจากการสังเกตโดยใชความรูเดิมประสบการณเดิมและเหตุผล หรือเพิ่มเติมความ
คิดเห็นสวนตัวลงไปดวย
                                                       ความรูเดิมและประสบการณเดิม หรือ
     ขอมูลที่ไดจากการสังเกต
                                              +        เพิ่มเติมความคิดเห็นสวนตัว


                         การลงความคิดเห็นจากขอมูล
14

                 พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล จะตองแสดงความสามารถ
ดังนี้
             อธิบายหรือสรุปโดยเพิ่มความคิดเห็นใหกับขอมูลที่ไดจากการสังเกต โดยใชความรูหรือ
ประสบการณเดิมมาชวย
          8. ทักษะการพยากรณ
             ทักษะการพยากรณ (Prediction) หมายถึง ความชํานาญในการทํานายหรือคาดคะเน
เหตุการณ หรือสถานการณที่จะเกิดขึ้นลวงหนาจากขอมูล โดยอาศัยการสังเกตปรากฏการณที่เกิดขึ้นซ้ํา
ๆ บนพื้นฐานของหลักการ กฎ หรือทฤษฎีในเรื่องนั้นมาชวยในการทํานาย การทํานายอาจทําไดภายใน
ขอบเขตของขอมูล (Interpolating) และภายนอกขอบเขตของขอมูล (Extrapolating)
                              การวัด



                                                ประสบการณ                ทํานายสิ่งที่จะเกิดขึ้น
         การสังเกต              ขอมูล     +       ที่มอยู
                                                       ี                   (การพยากรณ)




                         การหาความสัมพันธ
                         ของตัวแปรตาง ๆ


            พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการพยากรณ จะตองแสดงความสามารถดังนี้
               1) ทํานายผลทีเ่ กิดขึ้นจากขอมูลที่เปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยูได
               2) ทํานายผลทีเ่ กิดขึ้นภายในขอบเขตของขอมูลเชิงปริมาณที่มีอยูได
               3) ทํานายผลทีเ่ กิดขึ้นภายนอกขอบเขตของขอมูลเชิงปริมาณที่มีอยูได
            9. ทักษะการตั้งสมมุติฐาน
               ทักษะการตั้งสมมุติฐาน (Formulating hypothesis) หมายถึง ความชํานาญในการคิดหา
คําตอบลวงหนากอนการทดลอง โดยการกําหนดขอความเพื่ออธิบายเหตุการณและสามารถทดลอง
พิสูจนได ซึ่งตองอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน คําตอบที่คดลวงหนานั้น เปนสิ่ง
                                                                                    ิ
ที่ยังไมทราบหรือไมเปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมากอน
            สมมุ ติ ฐ านเป น เครื่ อ งมื อ กํ า หนดแนวทางในการออกแบบการทดลอง เพื่ อ ตรวจสอบว า
สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นนั้นเปนที่ยอมรับหรือไมยอมรับ สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นอาจจะถูกหรือผิดก็ได ซึ่งทราบ
ภายหลังจากการทดลองหาคําตอบแลว ในสถานการณทดลองหนึ่งอาจมีหนึ่งสมมุติฐาน หรือหลาย
สมมุติฐานได การตั้งสมมุติฐานมักนิยมเขียนในรูป “ถา………….ดังนั้น……….”
15

           พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการตั้งสมมุติฐาน จะตองแสดงความสามารถดังนี้
             1) หาคําตอบลวงหนากอนการทดลองโดยอาศัยการสังเกต ความรู และประสบการณเดิม
             2) หาคําตอบลวงหนาโดยอาศัยความสัมพันธระหวางตัวแปรตนและตัวแปรตาม
           10. ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบติการั
                ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึง ความชํานาญใน
การกําหนดความหมายและขอบเขตของคํา หรือตัวแปรตาง ๆ ใหเขาใจตรงกัน และสามารถสังเกตได
วัดได และทดลองได
                พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการนิยามเชิงปฏิบัติการ จะตองแสดงความสามารถในการ
กําหนดความหมายและขอบเขตของคําหรือตัวแปรตาง ๆ ใหสังเกตไดและวัดได
         11. ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร
             ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง
ความชํานาญในการชี้บงตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ (Independent variable) ตัวแปรตาม (Dependent
variable) และตัวแปรควบคุม (Controlled variable) ที่มีในระบบ ในการปฏิบัติทดลองหนึ่ง ๆ จะตอง
เลือกตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ (ตัวแปรควบคุม) และจัดตัวแปรที่ตองการศึกษาใหแตกตางกัน
(ตัวแปรอิสระ) เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นจากการทดลอง (ตัวแปรตาม)
         พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร จะตองแสดงความสามารถใน
การชี้บง และกําหนดตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมได
         12. ทักษะการทดลอง
             ทักษะการทดลอง (Experimenting) หมายถึง ความชํานาญในการดําเนินกระบวนการ
ปฏิบัติการทดลองกับตัวแปรตาง ๆ เพื่อหาคําตอบหรือตรวจสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว
             กระบวนการทดลองประกอบดวยกิจกรรมหลัก 3 ขั้นตอนคือ
            1. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนกอนลงมือปฏิบัติจริง การออกแบบการ
ทดลองจะตองสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว และครอบคลุมถึงวิธีการควบคุมตัวแปร รวมถึงการ
เลือกใชวัสดุอปกรณและสารเคมี โดยสรุปแลวการออกแบบการทดลองจะประกอบดวยสวนประกอบที่
              ุ
สําคัญ 2 ประการคือ
                1.1. วิธีการทดลอง เปนขั้นตอนตั้งแตเริ่มตนจนครบตามขั้นตอนที่จะไดมาซึ่งขอมูลที่
ละเอียดและถูกตอง ซึ่งจะเกียวของกับการกําหนดและควบคุมตัวแปร
                             ่
                1.2. วัสดุอุปกรณและสารเคมี ที่ใชในการทดลอง
            2. การปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติการทดลองจริง ๆ ซึ่งจะดําเนินไปตาม
ขั้นตอนและการใชวัสดุอุปกรณไดอยางถูกตองเหมาะสม
            3. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกขอมูลที่ไดจากการทดลอง ซึ่งอาจจะเปน
ผลจากการสังเกต การวัดหรืออื่น ๆ ไดอยางรวดเร็วถูกตอง
16

          พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการทดลอง จะตองแสดงความสามารถดังนี้
             1) กําหนดวิธีการทดลองไดถูกตองและเหมาะสม โดยคํานึงถึงตัวแปรตาง ๆ
             2) ระบุอุปกรณหรือสารเคมีที่ใชในการทดลองได
             3) ปฏิบัติการทดลองและใชอุปกรณไดถูกตองเหมาะสม
             4) บันทึกผลการทดลองไดรวดเร็วและถูกตองเหมาะสม
          13. ทักษะการตีความหมายและลงขอสรุป
              ทักษะการตีความหมายและลงขอสรุป (Interpretting data and conclusion)
              การตีความหมาย หมายถึง ความชํานาญในการแปลความหมายหรือการบรรยายลักษณะ
และสมบัติของขอมูลที่มีอยูดวยตาราง กราฟ แผนภูมิ รูปภาพตาง ๆ ไดอยางถูกตองละเอียดถี่ถวนและ
เขาใจตรงกัน
              การลงขอสรุป หมายถึง ความชํานาญในการบอกความสัมพันธของขอมูลทั้งหมดได
              พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการตีความหมายและลงขอสรุป จะตองแสดงความสามารถ
ดังนี้
            1) แปลความหมายหรือบรรยายลักษณะและสมบัติของขอมูลได (ทักษะการตีความหมาย
ขอมูล)
            2) บอกความสัมพันธของขอมูลที่มีอยูได (ทักษะการลงขอสรุป)
        การลงขอสรุปรวมทั่วไปโดยวิธีอุปนัยมีรูปแบบดังนี้
        (F1)
        (F2)
        (F3)                     (G) ขอสรุปรวมทั่วไปอันหนึ่ง = หลักการทั่วไป(ความรูใหม)
        (F4)
        (Fn)                     (F = fact , G = generalization)
17

โครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
         การศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยผูเรียนเปนผูลงมือ
ปฏิบัติและศึกษาคนควาดวยตนเองโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร ภายใตการดูแลของ อาจารยที่
ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นคอยใหการแนะนํา ตั้งแตการเลือกหัวขอที่จะศึกษาคนควา ดําเนินการ
วางแผน ออกแบบ ประดิษฐ สํารวจ ทดลอง เก็บรวบรวมขอมูล การแปรผลสรุปและการเสนอผลงาน
กลาวอีกนัยหนึ่งโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะตองประกอบดวยองคประกอบตอไปนี้
         1. เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
         2. ผูเรียนเปนผูริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตามความสนใจ และระดับ
ความรูความสามารถ
         3. เปนกิจกรรมที่มีการใชวิธการทางวิทยาศาสตรไปชวยในการศึกษาคนควาเพื่อหาคําตอบ
                                      ี
ปญหาที่สงสัย
         4. ผูเรียนเปนผูวางแผนในการศึกษาคนควา ตลอดจนดําเนินการปฏิบัตทดลองเก็บรวบรวม
                                                                              ิ
ขอมูล หรือประดิษฐคดคน รวมทั้งแปรผล สรุปผล และเสนอผลการศึกษาคนควาดวยตนเอง โดย
                         ิ
อาจารยที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญในเรื่องนันคอยใหการแนะนํา
                                            ้
คุณคาของการโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
           จุดมุงหมายสําคัญของการทําโครงงานไมไดอยูที่การสงเขาประกวดเพื่อรับรางวัล แตเปน
โอกาสที่ผูเรียนจะไดมีประสบการณตรงในการใชวิธีการทางวิทยาศาสตรในการแกปญหา ประดิษฐ
คิดคน หรือคนควาหาความรูตาง ๆ ตลอดจนการแสดงผลงานของตนใหเพื่อนผูเรียนและผูสนใจไดชม
ผลงานเมื่อมีการจัดนิทรรศการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
         การทําโครงงานและการจัดงานแสดงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นอกจากมีคุณคาทางดานการ
ฝกฝนใหผูเรียนมีความรู ความชํานาญ และมีความมั่นใจในการนําเอาวิธีการทางวิทยาศาสตรไปใชใน
การแกปญหา ประดิษฐ คิดคน หรือคนควาหาความรูตาง ๆ ดวยตนเอง ดังที่ไดกลาวมาแลวยังมีคณคาใน
                                                                                               ุ
ดานอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งสรุปไดดังนี้
           1. สรางความสํานึกและรับผิดชอบในการศึกษาคนควาหาความรูตาง ๆ ดวยตนเอง
           2. เปดโอกาสใหกับผูเรียนทุกคนไดพัฒนา และแสดงความสามารถตามศักยภาพของ
ตนเอง
           3. เปดโอกาสใหกับผูเรียนไดศึกษา คนควา และเรียนรูในเรื่องที่ตนสนใจไดลึกซึ้งไปกวาการ
เรียนในหลักสูตรปกติ
           4. ผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษจะไดมีโอกาสแสดงความสามารถของตนเอง
           5. ชวยกระตุนใหผูเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร และมีความสนใจที่จะ
ประกอบอาชีพทางวิทยาศาสตรมากขึ้น
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
อรุณศรี
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
CUPress
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
Padvee Academy
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 

Mais procurados (19)

การสังเกต Sn
การสังเกต Snการสังเกต Sn
การสังเกต Sn
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Isระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 

Semelhante a Unit1

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
supreechafkk
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
korakate
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
itedu355
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
Naree50
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
Laongphan Phan
 

Semelhante a Unit1 (20)

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 

Unit1

  • 1. บทที่ 1 การแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร อาจารยสมพร จันทมัตตุการ วิทยาศาสตรเปนความรูที่ไดมาโดยวิธีการที่เริ่มตนดวยการสังเกต และการทดลองที่เปน ระเบี ย บมีขั้ น ตอนโดยปราศจากอคติ แล ว มีก ารเปรี ย บเทีย บจัด หมวดหมู ส รุ ปตั้ ง เป น กฎเกณฑ ข้ึ น ตอจากนั้นอาจจะใชทฤษฎีนี้เปนหลักสําหรับการสังเกตหรือทดลองตอไป ถาผลที่ไดไมเปนไปตาม ทฤษฎีที่ตั้งไวก็จะเปลี่ยนแปลงทฤษฎีใหม แลวนําไปใชกับการสังเกตอีกครั้งหนึ่ง ทําอยางนี้จนหมดขอ ขัดแยง ความหมายของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตร หมายถึง ความรู ที่ทดลองหรื อพิสูจ นไ ดว าถูกตองตรงความจริง จัดไวเปน หมวดหมู มีระเบียบและขั้นตอน สรุปไดเปนกฎเกณฑสากล วิทยาศาสตรโดยทั่วไปแบงออกเปนวิทยาศาสตรบริสุทธิ์และวิทยาศาสตรประยุกต 1. วิทยาศาสตรบริสุทธิ์ (Pure science) เปนวิทยาศาสตรที่บรรยายถึงกฎเกณฑตาง ๆ ของ ธรรมชาติ ซึ่งไมเกี่ยวของกับการเอาไปใชประโยชนในชีวิตและอุตสาหกรรม อาจแบงออกเปนสาขา ตาง ๆ เชน สาขาเคมี ฟสิกส ชีววิทยา 2. วิทยาศาสตรประยุกต (Applied science) เปนการนําเอาวิทยาศาสตรบริสุทธิ์แตละสาขาไป ใชในชีวิตประจําวันและอุตสาหกรรมตาง ๆ ไดแก ดานการเกษตร การปศุสัตว การประมง เพื่อผลิต อาหารและวัตถุดิบอุตสาหกรรม เปนตน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเกี่ยวกับวิทยาศาสตร ในการศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร สิ่งที่ควรเขาใจซึ่งเปนความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ วิทยาศาสตรโดยทั่วไป ไดแก วิทยาศาสตรศึกษาอะไร สิ่งที่เปนวิทยาศาสตรแตกตางจากสิ่งที่ไมใช วิทยาศาสตรอยางไร ลักษณะของความกาวหนาในวิทยาศาสตรเปนอยางไร วิทยาศาสตรมีขอบเขตและ วงจํากัดอยางไร และวิทยาศาสตรมีลักษณะอยางไร 1. วิทยาศาสตรศึกษาอะไร วิทยาศาสตรเปน วิชาที่ศกษาหาความรูความเขาใจเรื่องของธรรมชาติแสวงหากฎเกณฑ ึ  ของธรรมชาติ ดวยความอยากรูของนักวิทยาศาสตร และดวยความเชื่อวา ธรรมชาติมีระเบียบหรือ กฎเกณฑ สิ่งทีวทยาศาสตรเนนมากในการศึกษาคือเรื่องของวัตถุซึ่งรวมทั้งสสารและพลังงาน สวนเรื่อง ่ิ เกี่ยวกับจิตใจนั้นวิทยาศาสตรศึกษานอยมาก
  • 2. 2 2. สิ่งที่เปนวิทยาศาสตรและสิ่งที่ไมใชวิทยาศาสตร ความรูหรือขอความที่ถือวาเปนวิทยาศาสตร ไดแก ความรูหรือขอความของความรูท่ี สามารถตรวจสอบไดวา “ผิด” หรือ “ไมผิด” เชนขอความ “น้ําไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ํา” “อากาศมี แรงดัน” ขอความเหลานี้ เราสามารถพิสูจนตรวจสอบไดวาผิดหรือไมผิด อาจทําได 2 วิธี คือ การใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ โดยการสังเกตและการทดลอง และกระทําโดยวิธีการทาง ตรรกวิทยา ส ว นความรู ห รื อ ข อ ความที่ ไ ม เ ป น วิ ท ยาศาสตร คื อ ความรู ห รื อ ข อ ความที่ ไ ม ส ามารถ ตรวจสอบไดวา “ผิด” หรือ “ไมผิด” เชนขอความ “มนุษยเมื่อตายแลว ถายังไมเกิดใหมก็จะเปนวิญญาณ ทองเที่ยวไปเรื่อย ๆ” ขอความนี้เราไมสามารถพิสูจนไดวาผิดหรือไมผิด จึงไมถือวาเปนวิทยาศาสตร 3. ลักษณะของความกาวหนาในวิทยาศาสตร บุคคลที่ศึกษาทางดานวิทยาศาสตร จะทําใหมีความกาวหนาในวิทยาศาสตรมี 2 ลักษณะคือ 3.1 ลักษณะของการขยายความรู กลาวคือ มีลักษณะเปนการเพิ่มพูนและการสะสมความรู ขึ้นเรื่อย ๆ ในปจจุบันความรูทางวิทยาศาสตรมีมากกวา 300 ป ในแตละยุคแตละสมัยของพัฒนาการ ทางวิทยาศาสตรก็จะมีการตรวจสอบความรูสมัยกอน ๆ กําจัดขอบกพรอง และเพิ่มเติมความรูใหม ขึ้นมาเรื่อย ๆ 3.2 ลักษณะของการเปลี่ยนโลกทรรศน ในกรณีเชนนี้ความรูใหมอาจไมจริงกวาความรูเกา แต ไ ด รั บ การยอมรั บ ว า เหมาะสมด ว ยเหตุ ผ ลอย า งอื่ น ตั ว อย า งเช น ความรู เ รื่ อ งระบบสุ ริ ย ะมี ก าร เปลี่ยนแปลงจากแนวความคิดของโทเลมีมาใชของโคเปอรนิคัส การเปลี่ยนแปลงในลักษณะนี้เปนการ เปลี่ยนจากวิธีมองอยางหนึ่งไปเปนอีกอยางหนึ่ง 4. ขอจํากัดและขอบเขตของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรมีขอบเขตและวงจํากัด ยังไมสามารถศึกษาหรือไมไดศึกษาหลายสิ่งหลาย อยาง ดวยเหตุผลดังนี้ 4.1 จํากัดดวยวิธีการหาความรู ที่เรียกวา วิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งจะตองมีพ้นฐานมาจาก ื การสังเกต การสังเกตจะตองใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งความสามารถของประสาทสัมผัสของมนุษยเรา มีขอบเขตจํากัด 4.2 จํากัดดวยเทคโนโลยีและเครื่องมือ ที่จะใชชวยขยายขีดความสามารถของประสาท สัมผัส ดังนั้น สิ่งที่อยูนอกเหนือขีดความสามารถของประสาทสัมผัส แมวาจะมีเครื่องมือชวยขยาย ขอบเขตความสามารถของประสาทสัมผัสแลวก็ตาม จึงอยูนอกขอบเขตของวิทยาศาสตร
  • 3. 3 5. ลักษณะของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรมลักษณะที่สําคัญดังตอไปนี้ ี 5.1 มีลักษณะเปนปรนัย (Objective) กลาวคือ การสังเกตหรือการทดสอบภายใตเงื่อนไข หรือสภาวะแวดลอมอยางเดียวกัน จะปรากฏผลอยางเดียวกัน ทั้งนี้ไมจํากัดตัวบุคคลที่กระทํา เวลา และ สถานที่ เชน น้ํายอมไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ําเสมอ 5.2 วิทยาศาสตรไดจากประสบการณ และทดสอบดวยประสบการณ ความรูที่เกิดจาก ประสบการณ เรียกวา ความรูเชิงประจักษหรือความรูเชิงประสบ (Empirical knowledge) ซึ่งไดจาก ประสาทสัมผัสนั่นเอง วิทยาศาสตรอาศัยประสาทสัมผัสเปนพื้นฐาน โดยเฉพาะการสังเกต ซึ่งเปนสิ่งที่ขาด ไมได และวิทยาศาสตรก็ตองอาศัยวิธีการอุปนัยเพื่อลงขอสรุปทั่วไป (Generalization) ใหไดความรู ออกมา ถาปราศจากขอมูลจากประสาทสัมผัส นักวิทยาศาสตรก็จะไมมีวัตถุดิบใด ๆ ที่จะทําใหเกิด กระบวนการอุปนัยเกิดขึ้น 5.3 วิทยาศาสตรมีลักษณะสากล กลาวคือ มีลักษณะทั่วไป วิทยาศาสตรจะพยามยามขยาย ความรูใหมีความหมายทั่วไปใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ความรูที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงมีความหมาย นอย ลักษณะความเปนสากลมีระดับมากนอยตางกัน ดังตัวอยางตอไปนี้ ก. เหล็กแทงนี้ตกลงสูพื้น เพราะแรงดึงดูดของโลก ข. เหล็กทุกแทงตกลงสูพื้น เพราะแรงดึงดูดของโลก ค. วัตถุที่มีความหนาแนนมากกวาอากาศตกลงสูพื้น เพราะแรงดึงดูดของโลก จะเห็นวา ขอ ก. เปนความจริงเฉพาะเหล็กแทงนั้น ขอ ข. เปนความจริงสากลมากขึ้น เพราะพูดถึงเหล็ก แทงอื่นๆ ดวย สวน ขอ ค. มีลักษณะสากลมากที่สุด เพราะพูดถึงทุกสิ่งที่หนักกวาอากาศ ซึ่งเหล็กก็เปน สิ่งหนึ่งในบรรดาสิ่งเหลานั้น 5.4 วิทยาศาสตรมีความเปนสาธารณะ กลาวคือ ความจริงที่วิทยาศาสตรคนพบนั้นจะตอง แสดงหรื อ ทดลองใหทุก คนเห็ น ได เ หมื อ นกั น ถ า แสดงหรื อ ทดลองใหทุ ก คนเห็น ไม ไ ด ก็ไ ม อยู ใ น ขอบเขตของวิทยาศาสตร ความรูวิทยาศาสตรไมใชของสวนตัวแตเปนสาธารณะ กลาวคือ ผูอื่นอาจรู หรือเห็นอยางเดียวกับผูคนพบได เชน  อารคิมีดีส (Archimedes) คนพบวาน้ําหนักของวัตถุที่หายไปเมื่อชั่งในน้ํา จะเทากับ ปริมาตรของน้ําที่วัตถุน้ันแทนที่ กฎนี้เปนกฎเกี่ยวกับการหาความหนาแนนของวัตถุใด ๆ โดยการ แทนที่นํ้า เขาสามารถอธิบายและทําใหคนอื่นเห็นจริงดวย กรณีเชนนี้แตกตางจากการที่ใครสักคนหนึ่ง บอกวาผีมีจริงและเขาเคยพบเห็นมากอน ซึ่งเขาไมสามารถจะแสดงใหคนอื่นเห็นเชนเดียวกับเขาได 5.5 วิทยาศาสตรมีลักษณะพลวัต (Dynamic) กลาวคือ ขอความรูที่วิทยาศาสตรคนพบอาจ เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาตอไปได เมื่อมีขอมูลประจักษพยานเปลี่ยนแปลงไปหรือเพิ่มมากขึ้น หรือมี เครื่องมือที่ใชตรวจสอบปรากฏการณที่ดีขึ้นกวาเดิม ทําใหไดรับขอมูลใหมที่เที่ยงตรงกวาเดิม ความรู ทางวิทยาศาสตรจงไมใชความรูคงที่ หรือไมใชความรูที่จริงแทแนนอนไมเปลี่ยนแปลงตลอดกาล ึ
  • 4. 4 5.6 วิทยาศาสตรตองชวยในการคาดหมายอนาคตได ความเปนสากลหรือลักษณะที่ใชได ทั่ว ๆ ไปของวิทยาศาสตรทําใหเราคาดหมายสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได เชน ความรูที่วา “ถานําน้ําบริสุทธิ์มาตมที่ระดับน้ําทะเล น้ําจะเดือดที่อุณหภูมิ 100 องศา เซลเซียส” เปนความรูที่ไดจากการทดลองในอดีต แตความรูนี้ชวยใหเราทราบวา ถาเราตองการน้ําเดือด ในอนาคต เราจะตองทําอยางไร การศึกษาคนควาทางวิทยาศาสตรก็เพื่อแสวงหากฎเกณฑที่จะชวยใน การคาดหมายอนาคตหรือแสวงหาเงื่อนไขที่จะทําใหสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น หรือไมเกิดขึ้นในอนาคต ความรูทางวิทยาศาสตร ความรู ท างวิ ท ยาศาสตร เ ป น ผลิ ต ผล (Product) ที่ ไ ด จ ากการค น คว า แสวงหาของ นักวิทยาศาสตร ความรูที่ถือวาเปนความรูทางวิทยาศาสตรจะตองสามารถทดสอบยืนยันไดวาไมผิดจาก การทดสอบหลาย ๆ ครั้ง ถาหากการทดสอบครั้งใด พบวาความรูนั้นไมถูกตองนักวิทยาศาสตรก็ตองหา ขอมูลเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงความรูนั้นเสียใหม ถากระทําไมได ความรูดังกลาวก็จะถูกยกเลิกไป ไมอาจ ถือวาเปนความรูทางวิทยาศาสตร ดังนั้นความรูทางวิทยาศาสตรจะตองคงทนตอการพิสูจนอยูเสมอ ความรูท่ถือวาเปนความรูทางวิทยาศาสตร อาจแบงออกไดเปน 6 ประเภทคือ ี 1. ขอเท็จจริง (Fact) ขอเท็จจริงนั้นจะตองเปนสิ่งที่สังเกตไดโดยตรง และจะตองคงความจริงโดยการทดสอบ ไดผลเหมือนกันทุกครั้ง เชน “ไฮโดรเจนเปนกาซที่ติดไฟ” “น้ํามะนาวมีรสเปรี้ยว” “มดแดงมีลําตัวเปน ปลองและมีขา 6 ขา” เปนตน ขอเท็จจริงแตละอยางมีความหมายนอยมาก แตถานําขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกันหลาย ๆ ขอเท็จจริงมารวมกันเขา ก็จะมีความหมายมากขึ้น ขอเท็จจริงเดี่ยวทั้งหลายเปรียบเสมือนชิ้นสวนของ ภาพปริ ศ นาภาพหนึ่ ง เมื่ อ นํ า ชิ้ น ส ว นเหล า นั้ น มาประกอบกั น เข า อย า งเหมาะสมก็ จ ะได ภ าพที่ มี ความหมายขึ้น ทําใหเราทราบวาภาพนั้นคืออะไร ก็จะเกิดเปนความคิดรวบยอด 2. ความคิดรวบยอด (Concept) ความคิดรวบยอด บางคนใชคําวา “มโนมติ” “มโนทัศน” หรือ “สังกัป” เกิดจากการนําเอา ขอเท็จจริงหลาย ๆ ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกันมาผสมผสานกันจนเกิดรูปแบบใหม รูปแบบใหมนี้เรียกวา ความคิดรวบยอดของสิ่งนั้น ดังนั้นความคิดรวบยอดของสิ่งใดก็คือ ความคิดโดยสรุปตอสิ่งนั้น เมื่อเราพบปรากฏการณใดปรากฏการณหนึ่ง ถาตองการทราบวาเรามีความคิดรวบยอดตอมัน หรือไม มีขอพิจารณาวาเรามีอยางใดอยางหนึ่งใน 3 อยางตอไปนี้หรือไม  1) มองเห็นคุณสมบัติรวมของสิ่งตาง ๆ ในปรากฏการณนั้น 2) มองเห็นความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ในปรากฏการณนั้น 3) มองเห็นแนวโนมของสิ่งตาง ๆ ในปรากฏการณนน ั้ ถาเรามีอยางใดอยางหนึ่ง ก็แสดงวาเรามีความคิดรวบยอดของสิ่งนั้น
  • 5. 5 กลาวสรุป ความคิดรวบยอด หมายถึง ความเขาใจโดยสรุปเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกิดจาก การสังเกตหรือไดรับประสบการณเกี่ยวกับสิ่งนั้น แลวนําคุณลักษณะตาง ๆ ของสิ่งนั้นมาประมวลกัน เขาเปนความคิดโดยสรุปของสิ่ง ๆ นั้น เชน “แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา” “แมลงคือสัตวที่มีลําตัวเปน ปลองและมีขา 6 ขา” “กรดคือสารที่มีรสเปรี้ยว” 3. หลักการ (Principle) หลักการ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ความจริงหลัก” คือ ความจริงที่สามารถใชเปนหลักใน การอางอิงได ไดจากการนําความคิดรวบยอดที่เกี่ยวของสัมพันธกันมาผสมผสานกัน ดังนั้นหลักการจึง เปนกลุมของความคิดรวบยอด คุณสมบัติของหลักการคือ จะตองเปนความจริงที่สามารถทดลองพิสูจน ได และไดผลเหมือนเดิมทุกครั้ง เชน “ขั้วแมเหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน ขั้วแมเหล็กตางกันจะดูดกัน” “เมื่อสารไดรับความรอนจะขยายตัว” เปนตน 4. สมมุติฐาน (Hypothesis) บางคนอาจไมยอมรับวาสมมุติฐานเปนความรูวิทยาศาสตรอยางหนึ่ง เพราะเปนความรูที่ ยังไมไดรับการทดสอบหรือรับรอง แตสมมุติฐานก็เปนความจริงชั่วคราวที่อาจกลายเปนกฎ หลักการ หรือทฤษฎีตอไปได เมื่อไดรับการทดสอบยืนยันแลว เชน สมมุติฐานของอาโวกาโดร (Avogadro,s hypothesis) ที่มีช่ือเสียงไดเปลี่ยนสถานะเปนกฎของอาโวกาโดรเนื่องจากไดทดสอบหลายครั้งแลววา ไมผิด สมมุติฐานเปนคําอธิบายหรือคําตอบลวงหนาที่อาจเปนไปไดของปญหาที่นักวิทยาศาสตร กําลังศึกษาหรือสนใจ นักวิทยาศาสตรตั้งสมมุติฐานขึ้นโดยอาศัยขอมูล ประสบการณ และความรูเดิม เปนพื้นฐาน ขอความของสมมุติฐานเปนการคาดคะเนคําตอบลวงหนากอนที่จะดําเนินการทดสอบความ ถูกตอง เฮมเพล (Hempel) ไดใหความหมายของสมมุติฐานวา “สมมุติฐาน หมายถึง ขอความใด ๆ ก็ ตามที่กําลังถูกทดสอบ ไมวาขอความนั้นจะหมายถึงขอเท็จจริง หรือเหตุการณเฉพาะ หรือเปนกฎทั่วไป หรือเปนขอความอื่นที่ซับซอนยิ่งขึ้น” จะเห็นไดวาสมมุติฐานไมวาจะมีลักษณะใด ก็จะตองเปนขอความที่ถูกทดสอบ ขอความที่ ถูกทดสอบแลวและไมถูกทดสอบอีก เพราะเปนที่ยอมรับกันแลวจะไมเปนสมมุติฐานอีกตอไป ในการทดสอบสมมุติฐาน กระทําไดโดยการสังเกตโดยตรง และ/หรือทดลอง ถาพบวาผล การสังเกตและ/หรือทดลองเปนไปตามที่คาดไว เราก็คงสมมุติฐานไว แตถาไมเปนไปตามที่คาดไว สมมุติฐานนั้นก็ผิด ตองทิ้งไป หรือตองแกไขปรับปรุงใหม ตัวอยางของสมมุติฐาน ไดแก “เพนิซิลลิน” เปนยาปฏิชีวนะสําหรับรักษาโรคตาง ๆ ได มากมายหลายชนิด เนื่องจากเซอรอะเล็กซานเดอร เฟลมิง (Sir Alexander Fleming) ไดตั้งสมมุติฐานวา “เชื้อรา Penicillium notatum ผลิตสารซึ่งมีฤทธิ์ตานและทําลายแบคทีเรีย” ลุย ปาสเตอร (Louis Pasteur) ไดตั้งสมมุติฐานวา “ตัวการสําคัญที่กอใหเกิดการหมัก คือจุลินทรียซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก ผลที่ ไดจากการหมักจะเปนเชนไรขึ้นอยูกับชนิดของจุลินทรียที่มีปรากฏอยูในระหวางกรรมวิธีการหมัก” ทํา
  • 6. 6 ใหแกปญหาใหกับผูผลิตเหลาองุนที่ประสบปญหา คือ เหลาองุนที่ผลิตไดมีรสเปรี้ยวแทนที่จะมีรส หวานเหลานี้ เปนตน 5. ทฤษฎี (Theory) ทฤษฎี คือความรูที่เปนหลักการกวาง ๆ ทฤษฎีเปนสิ่งที่นักวิทยาศาสตรสรางขึ้นมาเอง มี ลักษณะเปนขอความที่ใชอธิบายหรือทํานายปรากฏการณตาง ๆ ที่อยูในขอบเขตของทฤษฎีนั้น ๆ จุดมุงหมายของการสรางทฤษฎีก็คือ เพื่ออธิบายปรากฏการณของธรรมชาติ และทํานายปรากฏการณ ของธรรมชาติ การที่จะยอมรับทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ง อยูในเงื่อนไข 3 ประการคือ 1) ทฤษฎีนั้นจะตองอธิบายกฎ หลักการ และขอเท็จจริงตาง ๆ ของเรื่องราวที่อยูใน ขอบเขตของทฤษฎีได 2) ทฤษฎีนั้นจะตองนิรนัยออกไปเปนกฎหรือหลักการบางอยางได 3) ทฤษฎีนั้นจะตองทํานายปรากฏการณที่อาจเกิดตามมาได ตัวอยางของทฤษฎี ไดแก ทฤษฎีโมเลกุลของแมเหล็ก กลาววา “สารแมเหล็กทุกชนิดจะมี โมเลกุลเล็ก ๆ ที่มีอํานาจแมเหล็กอยูแลว เมื่อยังไมแสดงอํานาจแมเหล็กออกมาเปนเพราะโมเลกุล แมเหล็กของมันเรียงตัวกันระเกะระกะไมเปนระเบียบ เมื่อแสดงอํานาจแมเหล็ก โมเลกุลแมเหล็กของ มันจะเรียงตัวกันเปนระเบียบ เอาขั้วเหนือชี้ไปปลายขางหนึ่ง ขั้วใตชี้ไปปลายอีกขางหนึ่ง ดังนั้นอํานาจ แมเหล็กจึงไมทําลายกัน และจะมีขั้วอิสระที่ปลายทั้งสองขาง” จากขอความของทฤษฎี จะสังเกตไดวา มี ลักษณะเปนการอธิบายปรากฏการณธรรมชาติ โดยมีขอความที่กลาวถึงสิ่งหรือกระบวนการที่อยู ซอนเรน หรืออยูเบื้องหลังของปรากฏการณนั้น ๆซึ่งอาจทดสอบดวยการสังเกตหรือทดลองได ตัวอยาง การตรวจสอบทฤษฎีโมเลกุลของแมเหล็ก เชน เราสามารถทําเหล็กใหเปนแมเหล็กได โดยการนําแมเหล็กแทงหนึ่งมาถูแทงเหล็ก โดยถู ไปทางเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งเปนการทดสอบทฤษฎีดวยการจัดระเบียบของโมเลกุลแมเหล็ก การหักหรือการตัดแมเหล็กแทงหนึ่งออกเปนทอน ๆ แลวทดสอบดูวาแมเหล็กแตละทอน ยังแสดงอํ า นาจแม เ หล็ ก หรื อไม ถ า แม เ หล็ ก แตละทอนยั งคงสามารถดูด สารแมเ หล็ ก ได เนื่อ งจาก โมเลกุลแมเหล็กยังคงเรียงตัวกันเปนระเบียบอยู ก็แสดงวาทฤษฎีโมเลกุลของแมเหล็กยังคงใชได ถาตรวจสอบตอไปอีกโดยพยายามทําลายการจัดระเบียบของโมเลกุลแมเหล็กภายใน แมเหล็กแทงหนึ่ง ดวยการเผาหรือเคาะแทงแมเหล็กนั้นหลาย ๆ ครั้ง และตรวจสอบดูวาอํานาจของ แมเหล็กแทงนั้นเสื่อมถอยลงไปหรือไม ถาพบวาอํานาจแมเหล็กหมดไปหรือลดนอยลง ทฤษฎีดังกลาว ก็ไดรบการสนับสนุนยืนยันอีกครั้งหนึ่ง ั ในการตรวจสอบทฤษฎีนั้น สามารถทดสอบทฤษฎีใดวา “ผิด” หรือ “ไมผิด” ได แตจะ
  • 7. 7 ทดสอบวา “ถูก” ไมได เพราะแมวาทฤษฎีใดจะไดรับการทดสอบวาถูกตองหมื่นครั้ง ก็ไมอาจแนใจได รอยเปอรเซ็นตวา ถาทําการทดสอบตอไปดวยวิธการและเครื่องมือตาง ๆ อีกแสนครั้งจะยังคงถูกทุกครั้ง ี เราจึงพูดไดแตเพียงวาผลการทดสอบยืนยันหรือสนับสนุนทฤษฎีนั้น ๆ แตเรามีทางเพิ่มความนาเชื่อถือ ของทฤษฎีไดดวยการใหทฤษฎีนั้น ๆ ไปทํานายปรากฏการณตาง ๆ ใหไดหลาย ๆ ปรากฏการณ และ ทดสอบวาผลการทํานายดังกลาวถูกตองทุกครั้ง ทฤษฎีนั้น ๆ ก็มีความนาเชื่อถือมากขึ้นทุกที ๆ 6. กฎ (Law) กฎ คือหลักการอยางหนึ่ง แตเปนขอความที่เนนความสัมพันธระหวางเหตุกับผล เปน ขอความที่สามารถแปลงเปนรูป “ถา…ดังนั้น…” ได ดังนั้น จึงอาจเขียนในรูปของสมการแทนได เพราะ สมการเป นข อความทางคณิ ตศาสตรที่ แสดงความสั มพั น ธร ะหวางตัว แปรตาง ๆ เนื่องจากกฎเปน หลักการอยางหนึ่ง ดังนั้นจึ งมีความจริงในตัว ของมันเอง สามารถทดลองไดผลเหมือนเดิมทุกครั้ง กฎเปนขอความที่ไดผานการทดสอบมาบางแลววาไมผิด กฎจะยิ่งมีสถานะดีขึ้นถายิ่งผานการทดสอบมา มาก แมวากฎจะเปนขอความที่แสดงความสัมพันธระหวางเหตุกับผล แตกฎก็ไมสามารถอธิบายใหเรา ทราบวา เหตุใดความสัมพันธจึงเปนเชนนั้น สิ่งที่จะบอกความสัมพันธในกฎไดก็คือ “ทฤษฎี” เชน กฎของบอยลที่กลาววา “ถาอุณหภูมิคงที่ ปริมาตรของกาซจะเปนสัดสวนอยางผกผันกับความดัน” กฎ การเคลื่อนที่ของนิวตันที่กลาววา “วัตถุจะรักษาสภาวะอยูนิ่ง หรือสภาวะการเคลื่อนที่เปนเสนตรงเสมอ หรือจะเปลี่ยนแปลงความเร็วจะตองมีแรงภายนอกมากระทํา” กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนความรูเกี่ยวสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ และกระบวนการคนควาหาความรูทาง วิทยาศาสตรนั้นมีขั้นตอน มีระเบียบแบบแผน วิทยาศาสตรมีขอบขายกวางขวางครอบคลุมถึงสิ่งที่ มนุษยพยายามอธิบาย เพื่อใหเขาใจปรากฏการณธรรมชาติ ตั้งแตใกลตัวที่สุดจนถึงไกลตัวที่สุด จาก เรื่องระดับงายที่สด ไปถึงระดับที่ซับซอนที่สุด ุ การทํ า งานของนั ก วิ ท ยาศาสตร ใ นการแสวงหาความรู ท างวิ ท ยาศาสตร นั้ น ต อ งอาศั ย กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งกระบวนการนี้เปรียบเสมือนเครื่องมือของชาง ถาชาง ขาดเครื่องมือก็คงจะซอมหรือสรางอะไรไมได ในทํานองเดียวกัน ถานักวิทยาศาสตรไมมีกระบวนการ แสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ก็จะไมสามารถคนควาหาความรูทางธรรมชาติได กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ประกอบดวยกระบวนการตาง ๆ ดังตอไปนี้คือ 1. วิธีการทางวิทยาศาสตร 2. เจตคติทางวิทยาศาสตร 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
  • 8. 8 ผูเรียนจะไดศึกษารายละเอียดดังตอไปนี้ 1. วิธีการทางวิทยาศาสตร (Science method) วิธีการทางวิทยาศาสตร จึงเปนยุทธวิธีที่เอื้อประโยชนตอการแกปญหาที่นักวิทยาศาสตรใช เปนเครื่องมือเพื่อคนหาความจริงของปรากฏการณตางๆที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ในการแสวงหาความรู นั้นแมวา นักวิทยาศาสตรแตละคนตางก็คนควา และทํางานแกปญหาตามวิธีของตนเองก็ตามโดยหลักกวาง ๆ นาจะเปนรูปแบบวิธีการที่เปนสากล ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตรมี 5 ขั้นตอนดังนี้ 1.1 ขั้นการกําหนดปญหา การกําหนดปญหาหรือการตั้งปญหา คือ การวิเคราะห สถานการณเพื่อตองการที่จะแยกประเด็นที่เปนปญหา และทําความเขาใจในปญหานั้นใหเดนชัดที่สด ุ การสังเกตจึงเปนขั้นแรกที่สําคัญนําไปสูขอเท็จจริงบางประการ และมีสวนทําใหเกิดปญหา  การสังเกตจึงควรสังเกตอยางรอบคอบ ละเอียดถี่ถวน ดังนั้นในการตั้งปญหาที่ดี ควรจะอยูในลักษณะที่ นาจะเปนไปได สามารถตรวจสอบหาคําตอบไดงาย และยึดขอเท็จจริงตาง ๆ ที่รวบรวมมา 1.2 ขั้นการตังสมมุติฐาน สมมุติฐานเปนคําตอบที่อาจเปนไปได และคําตอบที่ยอมรับวา ้ ถูกตองเชื่อถือได เมื่อมีการพิสจน หรือตรวจสอบหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะสมมุติฐานที่ดควรมีลักษณะดังนี้ ู ี 1) เปนสมมุติฐานที่เขาใจไดงาย 2) เปนสมมุติฐานที่แนะลูทางที่จะตรวจสอบได 3) เปนสมมุติฐานที่จะตรวจไดโดยการทดลอง 4) เปนสมมุตฐานที่สอดคลอง และอยูในขอบเขตของขอเท็จจริงที่ไดจากการสังเกต ิ  และสัมพันธกบปญหาที่ตั้งไว ั การตั้งสมมุติฐานตองยึดปญหาเปนหลักเสมอ ควรตั้งหลาย ๆ สมมุติฐานเพื่อมีแนวทางของ คําตอบหลาย ๆ อยาง แตไมยึดมั่นสมมุติฐานใด สมมุติฐานหนึ่ง เปนคําตอบ กอนที่จะพิสูจนตรวจสอบ สมมุติฐานหลาย ๆ วิธี และหลาย ๆ ครั้ง 1.3 ขั้นการตรวจสอบสมมุติฐานและการเก็บรวบรวมขอมูล เมื่อตั้งสมมุติฐานแลว หรือ คาดเดาคําตอบหลาย ๆ คําตอบไวแลว กระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นตอไป คือขั้นการตรวจสอบ สมมุติฐาน ในการตรวจสอบสมมุติฐานจะตองยึดขอกําหนดสมมุติฐานไวเปนหลักเสมอ เนื่องจาก สมมุติฐานที่ดี ไดแนะลูทางการตรวจสอบและการออกแบบการตรวจสอบไวแลว วิธีการตรวจสอบสมมุติ ฐาน ไดแ ก การสังเกต และรวบรวมขอเท็จ จริงตาง ๆ ที่เ กิด จาก ปรากฏการณธรรมชาติ อีกวิธีหนึ่งโดยการทดลอง ซึ่งเปนวิธีการที่นิยมใชมากที่สุด เพื่อทําการคนควา หาขอมูล รวบรวมขอมูลเพื่อตรวจสอบดูวา สมมุติฐานขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองที่สุด ในขั้นตอนนี้ จะตองมีการบันทึกขอมูลที่ไดจากการสังเกตหรือการทดลองไวดวย 
  • 9. 9 1.4 ขั้นการวิเคราะหขอมูล เปนขั้นการนําขอมูลที่ไดจากการสังเกต การคนควา การทดลอง หรือการรวบรวมขอมูลมาวิเคราะหผล อธิบายความหมายของขอเท็จจริง แลวนําไปเปรียบเทียบกับ สมมุติฐานที่ตั้งไว วาสอดคลองกับสมมุติฐานเพียงใด 1.5 ขั้นการสรุป เปนการสรุปผลที่ไดจากการทดลอง การคนควารวบรวมขอมูล สรุปขอมูล ที่ไดจากการสังเกตหรือการทดลองวา สมมุติฐานขอใดถูก พรอมทั้งสรางทฤษฎีที่จะใชเปนแนวทาง สําหรับอธิบายปรากฏการณอื่น ๆ ที่คลายกัน และนําไปใชปรับปรุงชีวิตความเปนอยูของมนุษยใหดีขึ้น 2. เจตคติทางวิทยาศาสตร (Scientific attitude) ในการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งนักวิทยาศาสตรจะใชวิธีการทางวิทยาศาสตร หรือวิธีการแกปญหาอื่น ๆ เพื่อศึกษาหาความรูใหไดผลดีนั้น ขึ้นอยูกับการคิดการกระทําที่อาจเปน อุปนิสัยของนักวิทยาศาสตรผูนั้น ความรูสึกนึกคิดดังกลาวจัดเปนเจตคติทางวิทยาศาสตร และผูที่มีเจต คติทางวิทยาศาสตร ควรมีคุณสมบัติดังนี้ 2.1 ความอยากรูอยากเห็น นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับ ปรากฏการณธรรมชาติเพื่อแสวงหาคําตอบที่มีเหตุผลในขอปญหาตาง ๆ และจะมีความยินดีมากที่ได พบความรูใหม 2.2 ความเพียรพยายาม นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีความเพียรพยายาม ไมทอถอยเมื่อเกิด อุปสรรคหรือมีความลมเหลวในการทําการทดลอง มีความตั้งใจแนวแนตอการเสาะแสวงหาความรู เมื่อ ไดคําตอบที่ไมถูกตองก็จะไดทราบวา วิธีการเดิมใชไมได ตองหาแนวทางในการแกปญหาใหมและ ความลมเหลวที่เกิดขึ้นนั้นถือวาเปนขอมูลที่ตองบันทึกไว 2.3 ความมีเหตุผล นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีเหตุผล ยอมรับในคําอธิบายเมื่อมีหลักฐาน หรือขอมูลมาสนับสนุนอยางเพียงพอ อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล หาความสัมพันธของ เหตุและผลที่เกิดขึ้น ตรวจสอบความถูกตองสมเหตุสมผลของแนวคิดตาง ๆ กับแหลงขอมูลที่เชื่อถือได แสวงหาหลักฐานและขอมูลจากการสังเกตหรือการทดลอง เพื่อสนับสนุนหรือคิดคนหาคําอธิบาย มี หลักฐานขอมูลเพียงพอเสมอกอนจะสรุปผล เห็นคุณคาในการใชเหตุผล ยินดีใหมีการพิสูจนตามเหตุผล และขอเท็จจริง 2.4 ความซื่อสัตย นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีความซื่อสัตย บันทึกผลการทดลองหรือ ขอมูลตามความเปนจริงดวยความละเอียดถูกตอง ผูอื่นสามารถตรวจสอบในภายหลังไดเห็นคุณคา ใน การเสนอขอมูลตามความเปนจริง 2.5 ความมีระเบียบและรอบคอบ นักวิทยาศาสตรตองเปนผูเห็นคุณคาของความมีระเบียบ และรอบคอบ และยอมรับถึงประโยชนในการวางแผนการทํางานและจัดระบบการทํางาน นําวิธีการ หลาย ๆ วิธีมาตรวจสอบผลการทดลองหรือวิธีการทดลอง ไตรตรอง พินิจพิเคราะห ละเอียด ถี่ถวนใน การทํางาน ทํางานอยางมีระเบียบเรียบรอย มีความละเอียดรอบคอบกอนการตัดสินใจ
  • 10. 10 2.6 ความใจกวาง นักวิทยาศาสตรตองเปนผูมีใจกวาง ที่จะรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รับ ฟงคําวิพากษวิจารณ ขอโตแยงหรือขอคิดเห็นที่มีเหตุผลของผูอื่นโดยไมยึดมั่นในความคิดเห็นของ ตนเองฝายเดียว ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ยอมพิจารณาขอมูลหรือความคิดที่ยังสรุปไมได และพรอมที่ จะหาขอมูลเพิ่มเติม 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science process skills) วิ ทยาศาสตร เ ป น วิชาที่ ประกอบด ว ยความรูแ ละกระบวนการแสวงหาความรู ในการ แสวงหาความรูทางวิทยาศาสตรนั้น นักวิทยาศาสตรไดใชวิธีการทางวิทยาศาสตร และตองมีเจตคติทาง วิท ยาศาสตร ด ว ย นั ก วิท ยาศาสตร ที่ ทํ า งานตามขั้น ตอนของวิ ธีก ารทางวิ ท ยาศาสตรนั้น จะประสบ ความสําเร็จหรือความลมเหลว ขึ้นอยูกับความสามารถและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักวิทยาศาสตรแตละคน พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติและฝกฝนความคิดอยางเปนระบบนี้ เรียกวา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ซึ่งเปนกระบวนการทางปญญา (Intellectual skills) นักวิทยาศาสตรไดกําหนดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ไวทั้งหมด 13 ทักษะ ประกอบดวยทักษะขั้นพื้นฐาน (Basic science process skills) 8 ทักษะ และทักษะขั้นผสม หรือขั้น บูรณาการ (Integrated science process skills) 5 ทักษะดังนี้ ทักษะขั้นพื้นฐาน 1. ทักษะการสังเกต 2. ทักษะการวัด 3. ทักษะการคํานวณ 4. ทักษะการจําแนกประเภท 5. ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา 6. ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล 7. ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล 8. ทักษะการพยากรณ ทักษะขั้นผสมหรือขั้นบูรณาการ 9. ทักษะการตั้งสมมุติฐาน 10. ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 11. ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร 12. ทักษะการทดลอง 13. ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
  • 11. 11 1. ทักษะการสังเกต ทักษะการสังเกต (Observing) หมายถึง ความชํานาญในการใชประสาทสัมผัสอยางใด อย างหนึ่ง หรือหลายอยางรวมกัน ไดแ ก ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เข าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุห รือ ปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติ โดยไมเพิ่มความคิดเห็นของผูสังเกตลงไป พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการสังเกต จะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) ชี้บงและบรรยายสมบัติของวัตถุได โดยใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย อยางรวมกันได 2) บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุไดโดยการกะประมาณได เชน น้ําหนัก ขนาด อุณหภูมิ ปริมาตร ความสูง เปนตน 3) บรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่ไดสังเกตได เชน ลําดับขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง หรือลักษณะของสถานการณที่ทาใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ํ 2. ทักษะการวัด ทักษะการวัด (Measuring) หมายถึง ความชํานาญในการแสดงจํานวนของวัตถุหรือสารใช เชิงปริมาณที่มีหนวยแสดง เชน เมตร กรัม ลิตร และมีความชํานาญในการเลือกใชเครื่องมือมาตรฐานที่ เหมาะสม เชน ไมเมตร ไมบรรทัด เครื่องชั่ง และความสามารถในการอานคาที่ไดจากการวัดออกเปน ตัวเลขไดถูกตองรวดเร็วและใกลเคียงกับความเปนจริงพรอมทั้งมีหนวยกํากับเสมอ ดังนั้นการวัดมีองคประกอบ 3 อยางคือ 1) การเลือกเครื่องมือใหเหมาะสมกับสิ่งที่วัด 2) ตัวเลขที่ไดจากการวัดตองเปนตัวเลขที่แนนอน 3) ระบุหนวยใหเหมาะสม พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการวัด จะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) เลือกเครื่องมือไดเหมาะสมกับสิ่งที่จะวัด 2) บอกเหตุผลในการเลือกเครื่องมือได 3) บอกวิธวัดและวิธีใชเครื่องมือไดถูกตอง ี 4) ทําการวัดหาน้ําหนัก ปริมาตร อุณหภูมิ และอื่น ๆ ไดถูกตอง 5) ระบุหนวยของตัวเลขที่ไดจากการวัดได 3. ทักษะการคํานวณ ทักษะการคํานวณหรือทักษะการใชตัวเลข (Using numbers) หมายถึง ความชํานาญในการ นับจํานวนของวัตถุ และการนําตัวเลขแสดงจํานวนที่นับไดมาคิดคํานวณโดยวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร หาคาเฉลี่ย หรือการใชตัวเลขคํานวณกับสูตรทางวิทยาศาสตรได
  • 12. 12 พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการคํานวณจะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) นับจํานวนสิ่งของไดถูกตอง 2) ใชตัวเลขแสดงจํานวนทีนบได่ ั 3) บอกวิธีคํานวณได 4) คิดคํานวณไดถูกตอง 5) แสดงวิธีคิดคํานวณได 4. ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) หมายถึง ความชํานาญในการจําแนกหรือเรียงลําดับ วัตถุ หรือสิ่งที่อยูในปรากฏการณตาง ๆ ออกเปนหมวดหมู โดยมีเกณฑในการจําแนกเกณฑดังกลาวอาจ ใชความเหมือน ความแตกตาง และสมบัติบางประการนั้นเปนเกณฑ พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการจําแนกประเภท จะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) เรียงลําดับหรือแบงพวกสิ่งตาง ๆ จากเกณฑที่ผูอื่นกําหนดใหได 2) เรียงลําดับหรือแบงพวกสิ่งตาง ๆ โดยใชเกณฑของตนเองได 3) บอกเกณฑที่ผูอื่นเรียงลําดับหรือแบงพวกได 5. ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Space / space relationships and space / time relationships ) หมายถึง ความชํานาญที่จะบอกรูปรางของวัตถุ หรือหา ตําแหนงของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง หรือการเปลี่ยนที่อยูของวัตถุกับเวลาที่เปลี่ยนไป พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการใชความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา จะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) บอกชื่อของรูปและรูปทรงทางเรขาคณิตได 2) ชี้บงรูป 2 มิติ และรูปทรง 3 มิติ ที่กําหนดใหได 3) บอกความสัมพันธระหวางรูป 2 มิติ กับรูป 3 มิติได 4) บอกตําแหนงและทิศทางของวัตถุได 5) บอกความสัมพันธของสิ่งที่อยูหนากระจกเงา กับภาพที่ปรากฏในกระจกเงาได 6) บอกความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนตําแหนง เปลี่ยนขนาด หรือปริมาณของวัตถุกับ เวลาได 6. ทักษะการจัดกระทําขอมูลและสื่อความหมายขอมูล ทักษะการจัดกระทําขอมูลและสื่อความหมายขอมูล (Organizing data and communication) หมายถึง ความชํานาญในการนําขอมูลที่ไดจากการวัด การทดลอง และจากแหลงอื่น ๆ มาเสนอในรูปที่ ทําใหผอื่นเขาใจไดดีย่งขึ้น การสื่อความหมายขอมูลอาจอยูในรูปของการวาดรูป แผนภาพ แผนที่ ตาราง ู ิ กราฟ หรือการใชภาษาเขียน ภาษาพูด
  • 13. 13 การจัดกระทําขอมูล การสื่อความขอมูล - เรียงลําดับ - แผนภาพ ขอมูลเดิม - จัดกลุม - แผนที่ - หาความถี่ - ตาราง - แยกประเภท - กราฟ - คํานวณ - ภาษาเขียน ฯลฯ ฯลฯ พฤติ ก รรมที่ แ สดงว า เกิ ด การจั ด กระทํ า ข อ มู ล และสื่ อ ความหมายข อ มู ล จะต อ งแสดง ความสามารถดังนี้ 1) ใชขอมูลในการบรรยายได หมายถึง ขอความที่รัดกุม ชัดเจน ทีแสดงความสัมพันธระหวาง  ่ ขอมูลที่ตองการสื่อความหมาย เชน เมื่ออุณหภูมิและมวลคงที่ ปริมาตรของแกส จะแปรผกผันกับความดัน 2) ใชสญลักษณได หมายถึง ตัวอักษรหรือเครื่องหมายที่ตกลงกันไวแทนขอความบางอยาง ั ทั้งนี้เพือใหรัดกุม สะดวกและเขาใจตรงกัน เชน He หมายถึง ธาตุฮีเลียม, H2SO4 หมายถึงกรดซัลฟวริก ่ เปนตน 3) ใชสมการหรือสูตรทางวิทยาศาสตรเปนการแสดงสรุปความสัมพันธของตัวแปรซึ่ง สามารถสื่อความหมายไดรัดกุม เที่ยงตรง เขาใจไดงาย เชน ขอความใน (ขอที่ 1) สามารถเขียนแทนดวย สมการหรือสูตรไดดังนี้ P1V1 = P2V2 4) ใชตารางแสดงขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัดหรือการทดลอง ขอมูลดังกลาวใหเขียน ลงในตารางได เพื่อสะดวกในการสังเกตและงายตอการตีความหมายขอมูล 5) ใชแผนสถิติ เปนกราฟ เสนอขอมูลที่เปนตัวเลข เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปร ที่ศึกษา กราฟมีหลายรูปแบบ ไดแก แบบแทง แบบกง แบบเสน เปนตน 7. ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล (Inferring) หมายถึง ความชํานาญในการอธิบายเกิน ขอบเขตของขอมูลจากการสังเกตโดยใชความรูเดิมประสบการณเดิมและเหตุผล หรือเพิ่มเติมความ คิดเห็นสวนตัวลงไปดวย ความรูเดิมและประสบการณเดิม หรือ ขอมูลที่ไดจากการสังเกต + เพิ่มเติมความคิดเห็นสวนตัว การลงความคิดเห็นจากขอมูล
  • 14. 14 พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล จะตองแสดงความสามารถ ดังนี้ อธิบายหรือสรุปโดยเพิ่มความคิดเห็นใหกับขอมูลที่ไดจากการสังเกต โดยใชความรูหรือ ประสบการณเดิมมาชวย 8. ทักษะการพยากรณ ทักษะการพยากรณ (Prediction) หมายถึง ความชํานาญในการทํานายหรือคาดคะเน เหตุการณ หรือสถานการณที่จะเกิดขึ้นลวงหนาจากขอมูล โดยอาศัยการสังเกตปรากฏการณที่เกิดขึ้นซ้ํา ๆ บนพื้นฐานของหลักการ กฎ หรือทฤษฎีในเรื่องนั้นมาชวยในการทํานาย การทํานายอาจทําไดภายใน ขอบเขตของขอมูล (Interpolating) และภายนอกขอบเขตของขอมูล (Extrapolating) การวัด ประสบการณ ทํานายสิ่งที่จะเกิดขึ้น การสังเกต ขอมูล + ที่มอยู ี (การพยากรณ) การหาความสัมพันธ ของตัวแปรตาง ๆ พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการพยากรณ จะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) ทํานายผลทีเ่ กิดขึ้นจากขอมูลที่เปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยูได 2) ทํานายผลทีเ่ กิดขึ้นภายในขอบเขตของขอมูลเชิงปริมาณที่มีอยูได 3) ทํานายผลทีเ่ กิดขึ้นภายนอกขอบเขตของขอมูลเชิงปริมาณที่มีอยูได 9. ทักษะการตั้งสมมุติฐาน ทักษะการตั้งสมมุติฐาน (Formulating hypothesis) หมายถึง ความชํานาญในการคิดหา คําตอบลวงหนากอนการทดลอง โดยการกําหนดขอความเพื่ออธิบายเหตุการณและสามารถทดลอง พิสูจนได ซึ่งตองอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน คําตอบที่คดลวงหนานั้น เปนสิ่ง ิ ที่ยังไมทราบหรือไมเปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมากอน สมมุ ติ ฐ านเป น เครื่ อ งมื อ กํ า หนดแนวทางในการออกแบบการทดลอง เพื่ อ ตรวจสอบว า สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นนั้นเปนที่ยอมรับหรือไมยอมรับ สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นอาจจะถูกหรือผิดก็ได ซึ่งทราบ ภายหลังจากการทดลองหาคําตอบแลว ในสถานการณทดลองหนึ่งอาจมีหนึ่งสมมุติฐาน หรือหลาย สมมุติฐานได การตั้งสมมุติฐานมักนิยมเขียนในรูป “ถา………….ดังนั้น……….”
  • 15. 15 พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการตั้งสมมุติฐาน จะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) หาคําตอบลวงหนากอนการทดลองโดยอาศัยการสังเกต ความรู และประสบการณเดิม 2) หาคําตอบลวงหนาโดยอาศัยความสัมพันธระหวางตัวแปรตนและตัวแปรตาม 10. ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบติการั ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึง ความชํานาญใน การกําหนดความหมายและขอบเขตของคํา หรือตัวแปรตาง ๆ ใหเขาใจตรงกัน และสามารถสังเกตได วัดได และทดลองได พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการนิยามเชิงปฏิบัติการ จะตองแสดงความสามารถในการ กําหนดความหมายและขอบเขตของคําหรือตัวแปรตาง ๆ ใหสังเกตไดและวัดได 11. ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง ความชํานาญในการชี้บงตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ (Independent variable) ตัวแปรตาม (Dependent variable) และตัวแปรควบคุม (Controlled variable) ที่มีในระบบ ในการปฏิบัติทดลองหนึ่ง ๆ จะตอง เลือกตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ (ตัวแปรควบคุม) และจัดตัวแปรที่ตองการศึกษาใหแตกตางกัน (ตัวแปรอิสระ) เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นจากการทดลอง (ตัวแปรตาม) พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร จะตองแสดงความสามารถใน การชี้บง และกําหนดตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมได 12. ทักษะการทดลอง ทักษะการทดลอง (Experimenting) หมายถึง ความชํานาญในการดําเนินกระบวนการ ปฏิบัติการทดลองกับตัวแปรตาง ๆ เพื่อหาคําตอบหรือตรวจสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว กระบวนการทดลองประกอบดวยกิจกรรมหลัก 3 ขั้นตอนคือ 1. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนกอนลงมือปฏิบัติจริง การออกแบบการ ทดลองจะตองสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว และครอบคลุมถึงวิธีการควบคุมตัวแปร รวมถึงการ เลือกใชวัสดุอปกรณและสารเคมี โดยสรุปแลวการออกแบบการทดลองจะประกอบดวยสวนประกอบที่ ุ สําคัญ 2 ประการคือ 1.1. วิธีการทดลอง เปนขั้นตอนตั้งแตเริ่มตนจนครบตามขั้นตอนที่จะไดมาซึ่งขอมูลที่ ละเอียดและถูกตอง ซึ่งจะเกียวของกับการกําหนดและควบคุมตัวแปร ่ 1.2. วัสดุอุปกรณและสารเคมี ที่ใชในการทดลอง 2. การปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติการทดลองจริง ๆ ซึ่งจะดําเนินไปตาม ขั้นตอนและการใชวัสดุอุปกรณไดอยางถูกตองเหมาะสม 3. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกขอมูลที่ไดจากการทดลอง ซึ่งอาจจะเปน ผลจากการสังเกต การวัดหรืออื่น ๆ ไดอยางรวดเร็วถูกตอง
  • 16. 16 พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการทดลอง จะตองแสดงความสามารถดังนี้ 1) กําหนดวิธีการทดลองไดถูกตองและเหมาะสม โดยคํานึงถึงตัวแปรตาง ๆ 2) ระบุอุปกรณหรือสารเคมีที่ใชในการทดลองได 3) ปฏิบัติการทดลองและใชอุปกรณไดถูกตองเหมาะสม 4) บันทึกผลการทดลองไดรวดเร็วและถูกตองเหมาะสม 13. ทักษะการตีความหมายและลงขอสรุป ทักษะการตีความหมายและลงขอสรุป (Interpretting data and conclusion) การตีความหมาย หมายถึง ความชํานาญในการแปลความหมายหรือการบรรยายลักษณะ และสมบัติของขอมูลที่มีอยูดวยตาราง กราฟ แผนภูมิ รูปภาพตาง ๆ ไดอยางถูกตองละเอียดถี่ถวนและ เขาใจตรงกัน การลงขอสรุป หมายถึง ความชํานาญในการบอกความสัมพันธของขอมูลทั้งหมดได พฤติกรรมที่แสดงวาเกิดทักษะการตีความหมายและลงขอสรุป จะตองแสดงความสามารถ ดังนี้ 1) แปลความหมายหรือบรรยายลักษณะและสมบัติของขอมูลได (ทักษะการตีความหมาย ขอมูล) 2) บอกความสัมพันธของขอมูลที่มีอยูได (ทักษะการลงขอสรุป) การลงขอสรุปรวมทั่วไปโดยวิธีอุปนัยมีรูปแบบดังนี้ (F1) (F2) (F3) (G) ขอสรุปรวมทั่วไปอันหนึ่ง = หลักการทั่วไป(ความรูใหม) (F4) (Fn) (F = fact , G = generalization)
  • 17. 17 โครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยผูเรียนเปนผูลงมือ ปฏิบัติและศึกษาคนควาดวยตนเองโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร ภายใตการดูแลของ อาจารยที่ ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นคอยใหการแนะนํา ตั้งแตการเลือกหัวขอที่จะศึกษาคนควา ดําเนินการ วางแผน ออกแบบ ประดิษฐ สํารวจ ทดลอง เก็บรวบรวมขอมูล การแปรผลสรุปและการเสนอผลงาน กลาวอีกนัยหนึ่งโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะตองประกอบดวยองคประกอบตอไปนี้ 1. เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2. ผูเรียนเปนผูริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตามความสนใจ และระดับ ความรูความสามารถ 3. เปนกิจกรรมที่มีการใชวิธการทางวิทยาศาสตรไปชวยในการศึกษาคนควาเพื่อหาคําตอบ ี ปญหาที่สงสัย 4. ผูเรียนเปนผูวางแผนในการศึกษาคนควา ตลอดจนดําเนินการปฏิบัตทดลองเก็บรวบรวม  ิ ขอมูล หรือประดิษฐคดคน รวมทั้งแปรผล สรุปผล และเสนอผลการศึกษาคนควาดวยตนเอง โดย ิ อาจารยที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญในเรื่องนันคอยใหการแนะนํา ้ คุณคาของการโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จุดมุงหมายสําคัญของการทําโครงงานไมไดอยูที่การสงเขาประกวดเพื่อรับรางวัล แตเปน โอกาสที่ผูเรียนจะไดมีประสบการณตรงในการใชวิธีการทางวิทยาศาสตรในการแกปญหา ประดิษฐ คิดคน หรือคนควาหาความรูตาง ๆ ตลอดจนการแสดงผลงานของตนใหเพื่อนผูเรียนและผูสนใจไดชม ผลงานเมื่อมีการจัดนิทรรศการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การทําโครงงานและการจัดงานแสดงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นอกจากมีคุณคาทางดานการ ฝกฝนใหผูเรียนมีความรู ความชํานาญ และมีความมั่นใจในการนําเอาวิธีการทางวิทยาศาสตรไปใชใน การแกปญหา ประดิษฐ คิดคน หรือคนควาหาความรูตาง ๆ ดวยตนเอง ดังที่ไดกลาวมาแลวยังมีคณคาใน ุ ดานอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งสรุปไดดังนี้ 1. สรางความสํานึกและรับผิดชอบในการศึกษาคนควาหาความรูตาง ๆ ดวยตนเอง 2. เปดโอกาสใหกับผูเรียนทุกคนไดพัฒนา และแสดงความสามารถตามศักยภาพของ ตนเอง 3. เปดโอกาสใหกับผูเรียนไดศึกษา คนควา และเรียนรูในเรื่องที่ตนสนใจไดลึกซึ้งไปกวาการ เรียนในหลักสูตรปกติ 4. ผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษจะไดมีโอกาสแสดงความสามารถของตนเอง 5. ชวยกระตุนใหผูเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร และมีความสนใจที่จะ ประกอบอาชีพทางวิทยาศาสตรมากขึ้น