SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
ใบความรู้ที่ 3.2
Storyboard
การเขียน Story Board เป็นขั้นตอนของการเตรียมการนาเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้ง สื่อในรูปของ
มัลติมีเดียต่างๆ ลงในกระดาษ เพื่อให้การนาเสนอข้อความ และสื่อในรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่าง
เหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป ขณะที่ผังงานนาเสนอลาดับ และขั้นตอนของการตัดสินใจ Story
Board นาเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนาเสนอ ขั้นตอน การสร้าง Story Board รวมไปถึงการเขียน
สคริปต์ (ซึ่งสคริปต์ในที่นี้ คือ เนื้อหา) ที่ผู้ใช้จะได้เห็นบนหน้าจอซึ่งได้แก่ เนื้อหา ข้อมูล คาถาม ผลป้อนกลับ
คาแนะนา คาชี้แจง ข้อความเรียกความสนใจ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ
Storyboard คือ การเขียนภาพนิ่งเพื่อสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหวในรูปของสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia)
หรือสื่อประสมหลายแบบ เป็นการใช้สื่อในหลายรูปแบบ ทั้งข้อความ เสียง รูปภาพหรือภาพเคลื่อนไหว เพื่อ
กาหนดแนวทางให้ทีมผู้ผลิตเกิดความเข้าใจไปในแนวทางเดียวกันในการถ่ายทาเป็นภาพเคลื่อนไหวรูปแบบ
ต่างๆ ได้แก่ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา ภาพยนตร์สั้น ภาพยนตร์การ์ตูน ภาพยนตร์สารคดี หรือแม้แต่การ
ทาผลงาน โดยแสดงออกถึงความต่อเนื่องของการเล่าเรื่อง จุดประสงค์ของ Story Board คือ เพื่อการเล่าเรื่อง
ลาดับเรื่อง มุมกล้อง ภาพไม่จาเป็นต้องละเอียดมาก แค่บอกองค์ประกอบสาคัญได้ ตาแหน่งตัวละครที่
สัมพันธ์กับฉากและตัวละครอื่นๆ มุมกล้อง แสงเงา เป็นการ สเก็ตซ์ภาพของเฟรม (Shot) ต่างๆ จากบท
เหมือนการ์ตูนและวาดตัวละครเป็นวงกลม สี่เหลี่ยม ฉากเป็นสี่เหลี่ยม การสร้าง Story Board จะช่วยให้
Producer และผู้กากับได้เห็นภาพของรายการที่จะถ่ายทาเป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้นได้ในแต่ละเฟรมที่จะ
ดาเนินการ
รายละเอียดที่ควรมีใน Storyboard ได้แก่ คาอธิบายแต่ละสื่อที่ใช้ (ข้อความ รูปภาพ
ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีโอ)
การเตรียมข้อมูลสาหรับ Storyboard
ข้อมูลสาหรับ Storyboard อาจมีทั้งภาพ เสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว (Animation Movies)
หรืออื่นๆ ซึ่งจะต้องมีการจัดเตรียมขึ้นมาก่อนที่จะนาไปใส่โปรแกรม มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องดังนี้
- การจัดเตรียมภาพสาหรับโปรแกรม
- การจัดเตรียมเสียง
- สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation File)
- ตัวอย่าง Storyboard
วิธีการเขียน Story Board
Storyboard คือการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ละเรื่อง โดยมีการ
แสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี
เสียงพูด และแต่ละอย่างนั้นมีลาดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน หลัง อะไรจะปรากฏพร้อมกัน
เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือหนังขึ้นมาจริงๆ
การทา Storyboard
การทา story board เป็นการสร้างตารางขึ้นมาเพื่อร่างภาพลงไป ตามลาดับขั้นตอนของเรื่องตั้งแต่
ต้นจนจบเพื่อให้ทุกๆฝ่ายสามารถ มองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทาได้ล่วงหน้า ซึ่งหากมีข้อที่ต้อง
แก้ไขใดๆ เกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ สามารถปรับปรุง การทา Storyboard ใหม่ได้ การทา
Storyboard นั้นโดยหลักแล้วจะเป็นต้นแบบของการนาไปสร้างภาพจริง และเป็นตัวกาหนดในการ
ทางานอื่นๆไปด้วยเช่น เสียงพากย์ เสียงดนตรี เสียงประกอบอื่นๆ special effect จึงเป็นการร่างภาพ
พร้อมกับการระบุรายละเอียดที่ จาเป็นต้องทาลงไป
ตัวอย่าง Storyboard
Scene : งานประกาศรางวัล Star Award 2013 .
เวลา : 10 วินาที .
คาอธิบาย : ภาพบรรยากาศงานประกาศผลรางวัล .
Star Award ประจาปี 2013 สาขานักแสดงหญิง .
ยอดเยี่ยม เพื่อเป็นการแนะนาตัวละครที่เป็นดารา .
.
.
.
Sound FX : 1. My life is a party .
2. Large Crowd Applause .
Scene : เด็กผู้หญิงนั่งลุ้นการประกาศผลรางวัล .
เวลา : 4 วินาที .
คาอธิบาย : เด็กผู้หญิงนั่งรอลุ้นผลการประกาศรางวัล อยู่ใน
ห้องดูโทรทัศน์ และก็แสดงอาการดีใจมากเมื่อดาราที่ตนเอง
ชื่นชอบได้รับรางวัล .
.
.
.
Sound FX : - .
.
ความรู้พื้นฐานก่อนเขียน Story Board
ก่อนเขียน Story Board จะต้องศึกษาการเขียนเรื่อง บทบรรยาย (Notation) รวมทั้งมุมกล้องให้
เข้าใจก่อน จึงจะสามารถเขียน Story Board ได้ ศิลปะการเล่าเรื่อง ศิลปะการเล่าเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นนิทาน
นิยาย ละครหรือภาพยนตร์ ล้วนแต่มีรากฐานแบบเดียวกัน นั่นคือการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นของมนุษย์หรือสัตว์
หรือแม้แต่ อะไรก็ตามที่เกิดขึ้นช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ สถานที่ใดที่หนหนึ่งเสมอ ฉะนั้น องค์ประกอบที่สาคัญ
ที่ขาดไม่ได้ คือ ตัวละคร สถานที่และเวลา สิ่งสาคัญในการเขียนบทหนังสั้นก็คือ การเริ่มค้นหาวัตถุดิบหรือ
แรงบันดาลใจ ให้ได้ว่า เราอยากจะพู ด จะนาเสนอเรื่องเกี่ยวกับอะไร ตัวเราเองมีแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่อง
นั้นๆ อย่างไร ซึ่งแรงบันดาลใจในการเขียนบทที่เราสามารถนามาใช้ในก็คือ ตัวละคร แนวความคิดและ
เหตุการณ์ ควรจะมองหาวัตถุดิบในการสร้างเรื่องให้แคบอยู่ในสิ่งที่เรารู้สึก รู้จริง เพราะคนทาหนังสั้นมักจะทา
เรื่องที่ไกลตัว หรือไม่ก็ไกลเกินจนทาให้เราไม่สามารถจากัดขอบเขตได้
การเขียนเรื่องสั้น
การเขียนเรื่องสั้น ต้องให้กระชับ ตัวละครมีบทสนทนาไม่มาก เทคนิคการเขียนเรื่องสั้น มีดังนี้
1. ต้องมีการระบายสภาพและบรรยากาศ (Local Color) หมายถึงการพรรณนาภาพอย่างใด
อย่างหนึ่ง เพื่อนาความคิดของผู้อ่านให้ซาบซึ้งในท้องเรื่อง ให้เห็นฉากที่เราวาดด้วย ตัวอักษรนั้นต้องชัดเจน
2. การวางโครงเรื่อง (Plot) มีการเริ่มนาเรื่องจนถึงปลายยอดเรื่อง หรือที่เรียกว่า ไคลแมกซ์ (Climax)
และจบเรื่องลงโดยเร็วให้ผู้อ่านโล่งใจ เข้าใจและสะเทือนใจ หรือเป็นแบบสองซ้อนเหตุการณ์
3. การจัดตัวละครและให้บทบาท เป็นตัวละครที่สาคัญในเรื่องเพื่อแสดงลักษณะนิสัยอย่างหนึ่ง
อย่างใดก่อให้เกิดเรื่องราวขึ้น
4. การบรรยายเรื่อง แบบการมีตัวตนที่เข้าไปอยู่ในตัวเรื่อง และการเป็นบุรุษที่สาม ได้แก่ ตัวละคร
แสดงบทบาทของตนเองเป็นวิธีที่ดี ที่สุด
5. การเปิดเรื่อง อาจทาได้โดยการให้ตัวละครพูดกัน การบรรยายตัวละคร การวางฉากและ
การบรรยายตัวละครประกอบการบรรยายพฤติกรรมและตัวละคร
6. บทเจรจา หรือคาพูดของตัวละคร ต้องเขียนให้เป็นภาษามนุษย์พูดกัน และต้องให้เหมาะกับ
บทบาทและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับตัวละคร
7. ต้องมี ความแน่น คือพูดให้ตรงไปตรงมา เข้าใจง่าย ใช้คาไม่ฟุ่มเฟือย
8. การตั้งชื่อตัวละคร ควรให้ชื่อที่ใกล้เคียงกับชื่อคนจริงๆ ส่วนชื่อเรื่องก็ควงเป็นข้อความที่ก่อให้เกิด
ความอยากอ่าน ใช้คาสั้นๆ แต่ให้น่าทึ่ง
9. การทาบท คือการบรรยายให้ตัวละครแสดงบทบาทเช่นเดียวกับการแสดงละคร ต้องพรรณนาถึง
กิริยาท่าทาง อาการราพึงราพัน เป็นต้น
หลักการเขียน Story Board
รูปแบบของ Story Board จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนเสียงกับส่วนภาพ โดยปกติ การเขียน
Story Board 24 เฟรม คือภาพ 24 ภาพ เมื่อถ่ายทาเป็นภาพยนตร์ใช้เวลา 1 นาที ถ้าเป็นภาพยนตร์โฆษณา
ในเวลา 30 วินาที ต้องเขียน 12เฟรม การเขียนบทบรรยายจะเป็นส่วนสนับสนุนการนาเสนอภาพ มิใช่การ
นาเสนอบทบรรยายนั้น ความยาวของคาบรรยาย
มีหลักการในการจัดทา 3 ประการคือ
1. ต้องเหมาะสมกับลักษณะของผู้ชม
2. ต้องมี ความยาวพอที่จะครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่กาหนด
3. ต้องให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้
สาหรับรายการที่ใช้การบรรยายแบบ “Voice Over” ควรมีภาพของผู้บรรยายปรากฏขึ้นในตอนเริ่ม
รายการก่อน จะทาให้รายการดูเป็นกันเองมากขึ้น และถ้ารายการยาวมาก ควรให้ผู้บรรยายมากกว่า 1 คน จะ
ทาให้ลดความเบื่อหน่ายจาเจของรายการลงได้ เสียงบรรยายไม่จาเป็นต้องมีอยู่ตลอด ควรทิ้งช่วงโดยใช้ดนตรี
และเสียงอื่นประกอบด้วย สิ่งสาคัญที่อยู่ ใน Story Board ประกอบด้วย
1. Subject หรือ Character ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือตัวการ์ตูน และที่สาคัญคือ
พวกเขากาลังเคลื่อนไหวอย่างไร
2. กล้อง ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพและการเคลื่อนกล้อง
3. เสียง การพูดกันระหว่างตัวละคร มีเสียงประกอบหรือเสียงดนตรีอย่างไร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน StoryboardYaowaluck Promdee
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียสตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
 
การเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้นการเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้น
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียสตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
 

Destaque

สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์Tuf Rio
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้Chay Kung
 
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันThe School District of Philadelphia
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลAtiwat Patsarathorn
 
บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012Kruthai Kidsdee
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา-sky Berry
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอSamorn Tara
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอSamorn Tara
 
บทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถานบทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถานSaenkayan Sumeth
 
บทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯบทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯSaenkayan Sumeth
 
รายการข่าว
รายการข่าวรายการข่าว
รายการข่าวWichuta Junkhaw
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นPisit Noiwangklang
 

Destaque (20)

สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
 
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
 
บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012บทหนังสตางค์2012
บทหนังสตางค์2012
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
 
1storyboard
1storyboard1storyboard
1storyboard
 
Radio News
Radio News Radio News
Radio News
 
บทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถานบทละครสมบัติพลัดสถาน
บทละครสมบัติพลัดสถาน
 
บทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯบทละครอลหม่านฯ
บทละครอลหม่านฯ
 
รายการข่าว
รายการข่าวรายการข่าว
รายการข่าว
 
script กระแต 01
script กระแต 01script กระแต 01
script กระแต 01
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
 

Semelhante a ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord

โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาJar 'zzJuratip
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmelody_fai
 
Computer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talkingComputer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talkingWichit Chawaha
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplaymonkeychoc
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4JoyCe Zii Zii
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดrungtip boontiengtam
 

Semelhante a ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord (14)

ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
 
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้นขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
 
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้นขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Computer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talkingComputer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talking
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplay
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 

Mais de Samorn Tara

003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียวSamorn Tara
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวยSamorn Tara
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกรSamorn Tara
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-10111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1Samorn Tara
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-60111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6Samorn Tara
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bibตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง BibSamorn Tara
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงSamorn Tara
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงSamorn Tara
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงSamorn Tara
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปSamorn Tara
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1Samorn Tara
 

Mais de Samorn Tara (20)

003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-10111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-60111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bibตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bib
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียง
 
Lesson5 44 ref
Lesson5 44 refLesson5 44 ref
Lesson5 44 ref
 
Lesson5 33
Lesson5 33Lesson5 33
Lesson5 33
 
Lesson5 22
Lesson5 22Lesson5 22
Lesson5 22
 
Lesson5 11
Lesson5 11Lesson5 11
Lesson5 11
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
 
Work 4.1
Work 4.1Work 4.1
Work 4.1
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
 
Lesson4 refer22
Lesson4 refer22Lesson4 refer22
Lesson4 refer22
 
Lesson4 refer11
Lesson4 refer11Lesson4 refer11
Lesson4 refer11
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
 

ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord

  • 1. ใบความรู้ที่ 3.2 Storyboard การเขียน Story Board เป็นขั้นตอนของการเตรียมการนาเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้ง สื่อในรูปของ มัลติมีเดียต่างๆ ลงในกระดาษ เพื่อให้การนาเสนอข้อความ และสื่อในรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่าง เหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป ขณะที่ผังงานนาเสนอลาดับ และขั้นตอนของการตัดสินใจ Story Board นาเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนาเสนอ ขั้นตอน การสร้าง Story Board รวมไปถึงการเขียน สคริปต์ (ซึ่งสคริปต์ในที่นี้ คือ เนื้อหา) ที่ผู้ใช้จะได้เห็นบนหน้าจอซึ่งได้แก่ เนื้อหา ข้อมูล คาถาม ผลป้อนกลับ คาแนะนา คาชี้แจง ข้อความเรียกความสนใจ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ Storyboard คือ การเขียนภาพนิ่งเพื่อสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหวในรูปของสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) หรือสื่อประสมหลายแบบ เป็นการใช้สื่อในหลายรูปแบบ ทั้งข้อความ เสียง รูปภาพหรือภาพเคลื่อนไหว เพื่อ กาหนดแนวทางให้ทีมผู้ผลิตเกิดความเข้าใจไปในแนวทางเดียวกันในการถ่ายทาเป็นภาพเคลื่อนไหวรูปแบบ ต่างๆ ได้แก่ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา ภาพยนตร์สั้น ภาพยนตร์การ์ตูน ภาพยนตร์สารคดี หรือแม้แต่การ ทาผลงาน โดยแสดงออกถึงความต่อเนื่องของการเล่าเรื่อง จุดประสงค์ของ Story Board คือ เพื่อการเล่าเรื่อง ลาดับเรื่อง มุมกล้อง ภาพไม่จาเป็นต้องละเอียดมาก แค่บอกองค์ประกอบสาคัญได้ ตาแหน่งตัวละครที่ สัมพันธ์กับฉากและตัวละครอื่นๆ มุมกล้อง แสงเงา เป็นการ สเก็ตซ์ภาพของเฟรม (Shot) ต่างๆ จากบท เหมือนการ์ตูนและวาดตัวละครเป็นวงกลม สี่เหลี่ยม ฉากเป็นสี่เหลี่ยม การสร้าง Story Board จะช่วยให้ Producer และผู้กากับได้เห็นภาพของรายการที่จะถ่ายทาเป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้นได้ในแต่ละเฟรมที่จะ ดาเนินการ รายละเอียดที่ควรมีใน Storyboard ได้แก่ คาอธิบายแต่ละสื่อที่ใช้ (ข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีโอ) การเตรียมข้อมูลสาหรับ Storyboard ข้อมูลสาหรับ Storyboard อาจมีทั้งภาพ เสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว (Animation Movies) หรืออื่นๆ ซึ่งจะต้องมีการจัดเตรียมขึ้นมาก่อนที่จะนาไปใส่โปรแกรม มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องดังนี้ - การจัดเตรียมภาพสาหรับโปรแกรม - การจัดเตรียมเสียง - สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation File) - ตัวอย่าง Storyboard
  • 2. วิธีการเขียน Story Board Storyboard คือการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ละเรื่อง โดยมีการ แสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูด และแต่ละอย่างนั้นมีลาดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน หลัง อะไรจะปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือหนังขึ้นมาจริงๆ การทา Storyboard การทา story board เป็นการสร้างตารางขึ้นมาเพื่อร่างภาพลงไป ตามลาดับขั้นตอนของเรื่องตั้งแต่ ต้นจนจบเพื่อให้ทุกๆฝ่ายสามารถ มองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทาได้ล่วงหน้า ซึ่งหากมีข้อที่ต้อง แก้ไขใดๆ เกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ สามารถปรับปรุง การทา Storyboard ใหม่ได้ การทา Storyboard นั้นโดยหลักแล้วจะเป็นต้นแบบของการนาไปสร้างภาพจริง และเป็นตัวกาหนดในการ ทางานอื่นๆไปด้วยเช่น เสียงพากย์ เสียงดนตรี เสียงประกอบอื่นๆ special effect จึงเป็นการร่างภาพ พร้อมกับการระบุรายละเอียดที่ จาเป็นต้องทาลงไป ตัวอย่าง Storyboard Scene : งานประกาศรางวัล Star Award 2013 . เวลา : 10 วินาที . คาอธิบาย : ภาพบรรยากาศงานประกาศผลรางวัล . Star Award ประจาปี 2013 สาขานักแสดงหญิง . ยอดเยี่ยม เพื่อเป็นการแนะนาตัวละครที่เป็นดารา . . . . Sound FX : 1. My life is a party . 2. Large Crowd Applause .
  • 3. Scene : เด็กผู้หญิงนั่งลุ้นการประกาศผลรางวัล . เวลา : 4 วินาที . คาอธิบาย : เด็กผู้หญิงนั่งรอลุ้นผลการประกาศรางวัล อยู่ใน ห้องดูโทรทัศน์ และก็แสดงอาการดีใจมากเมื่อดาราที่ตนเอง ชื่นชอบได้รับรางวัล . . . . Sound FX : - . . ความรู้พื้นฐานก่อนเขียน Story Board ก่อนเขียน Story Board จะต้องศึกษาการเขียนเรื่อง บทบรรยาย (Notation) รวมทั้งมุมกล้องให้ เข้าใจก่อน จึงจะสามารถเขียน Story Board ได้ ศิลปะการเล่าเรื่อง ศิลปะการเล่าเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นนิทาน นิยาย ละครหรือภาพยนตร์ ล้วนแต่มีรากฐานแบบเดียวกัน นั่นคือการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นของมนุษย์หรือสัตว์ หรือแม้แต่ อะไรก็ตามที่เกิดขึ้นช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ สถานที่ใดที่หนหนึ่งเสมอ ฉะนั้น องค์ประกอบที่สาคัญ ที่ขาดไม่ได้ คือ ตัวละคร สถานที่และเวลา สิ่งสาคัญในการเขียนบทหนังสั้นก็คือ การเริ่มค้นหาวัตถุดิบหรือ แรงบันดาลใจ ให้ได้ว่า เราอยากจะพู ด จะนาเสนอเรื่องเกี่ยวกับอะไร ตัวเราเองมีแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่อง นั้นๆ อย่างไร ซึ่งแรงบันดาลใจในการเขียนบทที่เราสามารถนามาใช้ในก็คือ ตัวละคร แนวความคิดและ เหตุการณ์ ควรจะมองหาวัตถุดิบในการสร้างเรื่องให้แคบอยู่ในสิ่งที่เรารู้สึก รู้จริง เพราะคนทาหนังสั้นมักจะทา เรื่องที่ไกลตัว หรือไม่ก็ไกลเกินจนทาให้เราไม่สามารถจากัดขอบเขตได้ การเขียนเรื่องสั้น การเขียนเรื่องสั้น ต้องให้กระชับ ตัวละครมีบทสนทนาไม่มาก เทคนิคการเขียนเรื่องสั้น มีดังนี้ 1. ต้องมีการระบายสภาพและบรรยากาศ (Local Color) หมายถึงการพรรณนาภาพอย่างใด อย่างหนึ่ง เพื่อนาความคิดของผู้อ่านให้ซาบซึ้งในท้องเรื่อง ให้เห็นฉากที่เราวาดด้วย ตัวอักษรนั้นต้องชัดเจน 2. การวางโครงเรื่อง (Plot) มีการเริ่มนาเรื่องจนถึงปลายยอดเรื่อง หรือที่เรียกว่า ไคลแมกซ์ (Climax) และจบเรื่องลงโดยเร็วให้ผู้อ่านโล่งใจ เข้าใจและสะเทือนใจ หรือเป็นแบบสองซ้อนเหตุการณ์ 3. การจัดตัวละครและให้บทบาท เป็นตัวละครที่สาคัญในเรื่องเพื่อแสดงลักษณะนิสัยอย่างหนึ่ง อย่างใดก่อให้เกิดเรื่องราวขึ้น 4. การบรรยายเรื่อง แบบการมีตัวตนที่เข้าไปอยู่ในตัวเรื่อง และการเป็นบุรุษที่สาม ได้แก่ ตัวละคร แสดงบทบาทของตนเองเป็นวิธีที่ดี ที่สุด 5. การเปิดเรื่อง อาจทาได้โดยการให้ตัวละครพูดกัน การบรรยายตัวละคร การวางฉากและ การบรรยายตัวละครประกอบการบรรยายพฤติกรรมและตัวละคร
  • 4. 6. บทเจรจา หรือคาพูดของตัวละคร ต้องเขียนให้เป็นภาษามนุษย์พูดกัน และต้องให้เหมาะกับ บทบาทและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับตัวละคร 7. ต้องมี ความแน่น คือพูดให้ตรงไปตรงมา เข้าใจง่าย ใช้คาไม่ฟุ่มเฟือย 8. การตั้งชื่อตัวละคร ควรให้ชื่อที่ใกล้เคียงกับชื่อคนจริงๆ ส่วนชื่อเรื่องก็ควงเป็นข้อความที่ก่อให้เกิด ความอยากอ่าน ใช้คาสั้นๆ แต่ให้น่าทึ่ง 9. การทาบท คือการบรรยายให้ตัวละครแสดงบทบาทเช่นเดียวกับการแสดงละคร ต้องพรรณนาถึง กิริยาท่าทาง อาการราพึงราพัน เป็นต้น หลักการเขียน Story Board รูปแบบของ Story Board จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนเสียงกับส่วนภาพ โดยปกติ การเขียน Story Board 24 เฟรม คือภาพ 24 ภาพ เมื่อถ่ายทาเป็นภาพยนตร์ใช้เวลา 1 นาที ถ้าเป็นภาพยนตร์โฆษณา ในเวลา 30 วินาที ต้องเขียน 12เฟรม การเขียนบทบรรยายจะเป็นส่วนสนับสนุนการนาเสนอภาพ มิใช่การ นาเสนอบทบรรยายนั้น ความยาวของคาบรรยาย มีหลักการในการจัดทา 3 ประการคือ 1. ต้องเหมาะสมกับลักษณะของผู้ชม 2. ต้องมี ความยาวพอที่จะครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่กาหนด 3. ต้องให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้ สาหรับรายการที่ใช้การบรรยายแบบ “Voice Over” ควรมีภาพของผู้บรรยายปรากฏขึ้นในตอนเริ่ม รายการก่อน จะทาให้รายการดูเป็นกันเองมากขึ้น และถ้ารายการยาวมาก ควรให้ผู้บรรยายมากกว่า 1 คน จะ ทาให้ลดความเบื่อหน่ายจาเจของรายการลงได้ เสียงบรรยายไม่จาเป็นต้องมีอยู่ตลอด ควรทิ้งช่วงโดยใช้ดนตรี และเสียงอื่นประกอบด้วย สิ่งสาคัญที่อยู่ ใน Story Board ประกอบด้วย 1. Subject หรือ Character ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือตัวการ์ตูน และที่สาคัญคือ พวกเขากาลังเคลื่อนไหวอย่างไร 2. กล้อง ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพและการเคลื่อนกล้อง 3. เสียง การพูดกันระหว่างตัวละคร มีเสียงประกอบหรือเสียงดนตรีอย่างไร