SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 63
Baixar para ler offline
1
ใบความรู้ ที่ 3.1
ความรู้พื้นฐานการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
วิธีที่ 1 กาจัดตัวแปร x
วิธีที่ 2 กาจัดตัวแปร y
กรณีที่ 1 ถ้าตัวสัมประสิทธิ์ (ตัวเลข) ของตัวแปร x หรือตัวแปร y เท่ากัน
1.1 ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันให้นาสมการทั้งสองมาลบกัน
1.2 ถ้าเครื่องหมายต่างกันให้นาสมการทั้งสองมาบวกกัน
กรณีที่ 2 ถ้าตัวสัมประสิทธิ์ (ตัวเลข) ของ ตัวแปร x หรือตัวแปร y ไม่เท่ากัน โดยต้องทาให้เท่ากัน
โดยทาให้เท่ากับค.ร.น.
1.1 ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันให้นาสมการทั้งสองมาลบกัน
1.2 ถ้าเครื่องหมายต่างกันให้นาสมการทั้งสองมาบวกกัน
ตัวอย่างที่ 1 จงแก้ระบบสมการหาคาตอบโดยใช้กระบวนการของโพลยา
2x + 3y = 12 ……………(1)
2x - y = 4 ……………(2)
วิธีทา
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด สมการเส้นตรง 2 สมการ
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร หาคาตอบของระบบสมการ
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
วิธีที 1 กาจัดตัวแปร x
วิธีที 2 กาจัดตัวแปร y
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ
วิธีที่ 2.1 กาจัดตัวแปร x
2x + 3y = 12 ……………(1)
2x - y = 4 ……………(2)
(สมการที่ 1 , 2 มีเครื่องหมายเหมือนกัน )
(1) – (2) ; 3y - (- y) = 12 - 4
3y + y = 8
4y = 8
y = 2
แทนค่า y = 2 ในสมการที่ 2
2x - 2 = 4
2x = 6
จะได้ x =
2
6
= 3
จุดตัดกันของกราฟ คือ ( 3 , 2 )
วิธีที่ 2.2 กาจัดตัวแปร y
2x + 3y = 12 ……………(1)*
2x - y = 4 ……………(2)
ต้องทาตัวเลขหน้า y ให้เท่ากัน
(2)  3 ; 3(2x - y) = 4  3
6x - 3y = 12 ……………(3)*
(สมการที่ 1 , 3 มีเครื่องหมายต่างกัน )
(1)*
+ (3)*
; 2x + 6x = 12+12
8x = 24
x = 3
แทนค่า x = 3 ในสมการที่ 2
2(3) - y = 4
6 - y = 4
- y = - 2
จะได้ y = 2
จุดตัดกันของกราฟ คือ ( 3 , 2 )
2
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวน ตรวจสอบผลที่ได้
4.1 ตรวจสอบผลที่ได้โดยวิธีแทนค่าตัวแปร
แทนค่า x = 3 , y = 2
2x + 3y = 12 ……………(1)
2x - y = 4 ……………(2)
2(3) + 3(2) = 12 ……………(1)
ดังนั้น 6 + 6 = 12 เป็นจริง
2(3) - 2 = 4 ……………(2)
ดังนั้น 6 - 2 = 4 เป็นจริง
4.2 โดยวิธีเขียนกราฟ(ใช้โปรแกรมGSP)
สมการ จัดรูป จุดตัดแกน X จุดตัดแกน Y
2x + 3y = 12
3
212 x
y

 (6 , 0) (0 , 4)
2x - y = 4 42  xy (2 , 0) (0 , -4)
1.1 จุดตัดแกน X ( แทนค่า y = 0 )
2x + 3y = 12
2x + 3(0) = 12
2x = 12
จะได้ x = 6
ดังนั้นจุดตัดแกน X คือ (6, 0)
1.2 จุดตัดแกน Y ( แทนค่า x = 0 )
2(0)+ 3y = 12
3y = 12
y = 4
ดังนั้นจุดตัดแกน Y คือ (0, 4)
2.1 จุดตัดแกน X ( แทนค่า y = 0 )
2x - y = 4
2x - 0 = 4
2x = 4
จะได้ x = 2
ดังนั้นจุดตัดแกน X คือ (2, 0)
2.2 จุดตัดแกน Y ( แทนค่า x = 0 )
2(0) - y = 4
- y = 4
y = -4
ดังนั้นจุดตัดแกน X คือ (0 , -4)
8
6
4
2
-2
-4
-6
-8
-10 -5 5 10
(3,2)
g x  =2x-4
f x  =
12-2x
3
3
ใบความรู้ที่ 3.2
ความรู้พื้นฐานการแก้ระบบสมการ 3 ตัวแปร
ขั้นตอนการแก้ระบบสมการเชิงเส้น 3 ตัวแปร
ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด สมการเส้นตรง 3 สมการ
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร หาคาตอบของระบบสมการ
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
วิธีที่ 1 กาจัด x หรือ กาจัด y หรือ กาจัด z
วิธีที่ 2 แทนค่า x , y , z
วิธีที่ 3 ใช้เมตริกซ์(กฏของคราเมอร์)
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ
วิธีที่ 1 กาจัด x หรือ กาจัด y หรือ กาจัด z
3.1 เลือกสมการสามตัวแปรมา 2 สมการ เช่น สมการ 1 กับ 2 และ สมการ 1 กับ 3
3.2 ทาสัมประสิทธิ์ของ x , y , zให้เท่ากัน(ตัวเลขหน้าตัวแปร)ให้เท่ากัน
ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันให้นาสมการทั้งสองมาลบกัน
ถ้าเครื่องหมายต่างกันให้นาสมการทั้งสองมาบวกกัน
3.3 ถ้า กาจัด y สมการสองตัวแปร 2 สมการในรูป x , z
3.4 ถ้ากาจัด z แก้สมการจะได้ ค่า x = …..
3.5 แทนค่า ค่า x = ….. ในสมการสองตัวแปร แก้สมการ จะได้ค่า z = …..
3.6 แทนค่า ค่า x = ….. ค่า z = ….. ในสมการที่ 1 , 2 , 3 จะได้ค่า y = …..
ดังนั้นคาตอบของระบบสมการคือ x = ….. , y = ….. , z = …..
วิธีที่ 2 แทนค่า x , y , z (แทนค่า x ในรูปของ y , z )
1. เลือกสมการ x + y + z = 0 และจัดรูป x = ….. เช่น x = - y – z
2. แทนค่า x = ….. ในสมการที่เหลืออีก 2 สมการ
3. แทนค่าหาคาตอบไปเรื่อยๆ y = ….. , z = …..
วิธีที่ 3 ใช้เมตริกซ์(กฏของคราเมอร์)
x =
)det(
)det(
A
X
, y =
)det(
)det(
A
Y
, z =
)det(
)det(
A
Z
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวน ตรวจสอบผลที่ได้
ตัวอย่างที่ 1.2 จงแก้ระบบสมการ
x + y + z = 0
2x – y – 4z = 15
x – 2y – z = 7
วิธีที่ 1 กาจัด y
x + y + z = 0 ……………(1)
2x – y – 4z = 15 ……………(2)
x – 2y – z = 7 ……………(3)*
(1) + (2) 3x - 3z = 15 ……………(4)**
(1) 2 2x + 2 y + 2z = 0 ……………(5)*
4
(3)*+ (5)* 3x + z = 7 ……………(6)**
(4)**- (6) ** - 4z = 8
z =
4
8

= - 2
แทนค่า z = - 2 ในสมการที่ (6) **
3x + (-2) = 7
3x = 9
x = 3
แทนค่า x = 3 , z = - 2 ในสมการที่ (1)
(3) + y + (- 2) = 0
y + 1 = 0
y = - 1
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 3 , - 1 , -2 )
วิธีที่ 2 แทนค่า x , y , z (แทนค่า x )
x + y + z = 0 ……………(1)
2x - y - 4z = 15 ……………(2)
x - 2y - z = 7 ……………(3)
จากสมการที่ (1) แทนค่า x
x = - y - z ……………(4)
แทนค่า x = - y - z ในสมการที่ (2)
2(- y - z) - y - 4z= 15
- 2y - 2z - y - 4z = 15
- 3y - 6z = 15
นา - 3 หาร ทั้งสองข้างของสมการ
- y + 2z = - 5
y = - 2z - 5 ……………(5)
แทนค่า x = - y - z ในสมการที่ (3)
(- y - z ) - 2y - z = 7
- 3y - 2z = 7 ……………(6)
จากสมการที่ (5) แทนค่า y = - 2z - 5 ในสมการที่ (6)
- 3(- 2z - 5 )- 2z = 7
6z + 15 – 2z = 7
4z = - 8
z =
4
8
= - 2
แทนค่า z = - 2 ในสมการที่ (5)
y = - 2(-2) – 5
y = 4 – 5 = - 1
แทนค่า y = - 1 , z = - 2 ในสมการที่ (1)
x +(- 1) + (- 2) = 0
x - 3 = 0 จะได้ x= 3
5
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 3 , - 1 , -2 )
วิธีที่ 3 ใช้เมตริกซ์(กฏของคราเมอร์)
หาดีเทอร์มินันท์ det(A) นาสัมประสิทธิ์ของสมการมาเขียนเป็นเมตริกซ์ดังนี้












121
412
111










z
y
x
=










7
15
0
A =












121
412
111
การหาดีเทอร์มินันท์ ต่อแถวและหลัก คูณขึ้นเป็นลบ คูณลงเป็นบวก(ตามแนวทแยงมุม)
A =












121
412
111
2
1
1
1
2
1


det(A) = - (-1 + 8 - 2) + (1 – 4 - 4) = - 5 – 7 = - 12
X =












127
4115
110
, det(X) = - 36
x =
)det(
)det(
A
X
=
12
36


= 3
Y =












171
4152
101
, det(Y) = 12
y =
)det(
)det(
A
Y
=
12
12

= - 1
Z =












721
1512
011
, det(Z) = 24
z =
)det(
)det(
A
Z
=
12
24

= - 2
ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 3 , - 1 , -2 )
6
โจทย์ใบกิจกรรมที่ 3.1
คาสั่ง ให้นักเรียน ทาโจทย์คนละ 1 ข้อ เรียง ตามเลขที่ โดยเลขที่ 1 – 20 ทาข้อ 1 – 20
คนที่ 21 – 40 ทาข้อ 1 – 20 เรียงตามลาดับ แสดงวิธีทาในใบกิจกรรมที่ 1.1
จงหาจุดตัดกันของสมการเส้นตรง (จงแก้ระบบสมการ)
จงแก้ระบบสมการ 2 ตัวแปรต่อไปนี้
1. x - y = 7
2x + y = 8
2. 3x + y = 12
x - y = 4
3. x + 3y = 9
2x - y = 4
4. 3x - 4y = 8
x + y = - 2
5. 3x + 4y = 16
9x + 7y = 13
6. x + 3 y = 10
x + 9y = 22
7. 3x - 4y = 0
3x + 4y = -24
1. 3x - y = 7
4x - 3y = 11
2. x + 7y = 8
3x + 2y = 5
10. 3x + 5y = - 2
2x + 15y = 22
11. x - 7y = 11
3x + 5y = 7
12. 4x + y = 5
2x - 3y = 13
13. 2x - y = 2
x + y = 4
14. 5x - 2y = 6
3x - y = 5
15. x - 2y = 6
2x + y = 7
16. x + 5y = 19
2x - y = 5
17. 2x + 3y = 12
3x - y = - 3
18. 3x - 4y = 18
2x + y = 1
19. 2x - y = 4
x + y = 5
20. 3x - y = 3
x + 2y = 8
2. จงแก้ระบบสมการ 3 ตัวแปรต่อไปนี้
1. 2x - y + z = 2
x + 2y - 3z = 11
3x + 4y - 2z = 4
2. 2x + 2y + z = 1
x - y + 6 z = 21
3x + 2y - z = 4
7
ใบกิจกรรม 3.2 จุดตัดกันของสมการเส้นตรง
วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 รหัสวิชา ค33201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ชื่อ………………………………..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ……….เลขที่………………
จงหาจุดตัดกันของสมการ เส้นตรง L1 : ………………………………………….
เส้นตรง L2 : ………………………………………….
สมการ จุดตัดแกน X จุดตัดแกน Y
วิธีที่ 1 เขียนกราฟ
วิธีที่ 2 แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ( กาจัดตัวแปร X หรือกาจัดตัวแปร Y )
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………….……………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………….…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
8
บทที่ 3
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลเพื่อศึกษาข้อมูลที่มีตัวแปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไป เช่น รายได้และ
รายจ่าย ส่วนสูงและน้าหนัก ใช้ข้อมูลที่รวบรวมมาได้หาความสัมพันธ์ของตัวแปรในรูปสมการเชิงเส้นตรง เพื่อ
ทานายค่าของตัวแปรได้
1. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม (dependent variable) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (independent variable)
a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น Y = aX + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b
n
i
ix
1
………………(2)
2. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟไม่เป็นเส้นตรง
2.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงที่
มีสมการเป็น Y = aX2
+ bX + c
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a
2
1

n
i
ix + b 
n
i
ix
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
3
+ b
2
1

n
i
ix + c 
n
i
ix
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
ix
1
4
+ b
3
1

n
i
ix + c
2
1

n
i
ix ………(3)
2.2 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล
มีสมการเป็น Y = abt
หรือ log Y = loga + t log b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
log = nloga + (logb) 
n
i
it
1
………………(1)

n
i
it
1
(log y) = (loga) 
n
i
it
1
+ (logb )
n
i
it
1
2
………………(2)
2. แผนภาพการกระจาย (Scatterplots)
ในการสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลเชิงปริมาณที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัวจากข้อมูลที่มีอยู่
ทั้งหมด หรือจากตัวอย่างข้อมูลที่เลือกมาเป็นตัวแทนของข้อมูลที่มีอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องตรวจดูรูปแบบของ
ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างตัวแปรทั้งสอง เพื่อที่จะนามาใช้ในการกาหนดความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่จะสร้างขึ้น
รูปแบบของความสัมพันธ์นี้พิจารณาได้จากกราฟที่สร้างจากข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดหรือข้อมูลที่เลือกมาเป็นตัวแทนของ
ข้อมูลที่มีอยู่ ซึ่งเรียกว่าแผนภาพการกระจาย เนื่องจากลักษณะการกระจายของข้อมูลไม่สามารถจัดเข้าในรูป
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันใดๆได้หรืออาจจะมีลักษณะของความสัมพันธ์ที่ใกล้เคียงกับรูปของความสัมพันธ์สองรูป
เช่น อาจจะอนุโลมให้อยู่ในรูปความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง หรือเป็นเอกซ์โพเนนเชียลก็ได้ในกรณีนี้
ถ้าผู้สร้างความสัมพันธ์มีความชานาญเกี่ยวกับข้อมูลชนิดนั้นๆ อาจจะบอกได้ว่าควรสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ในรูปแบบใด จึงจะเหมาะสมกับสิ่งที่ควรจะเป็นมากที่สุด สรุปได้ว่าการกาหนดรูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างตัว
9
แปรเชิงปริมาณทั้งสองโดยพิจารณาจากแผนภาพการกระจาย (รูปที่ 1) จะขึ้นอยู่กับความรู้ความชานาญเกี่ยวกับเรื่อง
ที่นามาสร้างความสัมพันธ์ของผู้สร้างความสัมพันธ์นั้นและความละเอียดถูกต้องของค่าพยากรณ์ที่ต้องการเป็นสาคัญ
X
6543210
Y
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
.5
X
6543210
Y
9
8
7
6
5
4
3
2
รูปที่ 1
3. การประมาณค่าของค่าคงตัวโดยใช้ระเบียบวิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด
ในการหาค่าคงตัวที่ปรากฏอยู่ในสมการทั่วไปนั้นหาได้โดยอาศัยหลักที่ว่า ถ้าจะให้สมการของความสัมพันธ์
ที่เกิดขึ้นจริงได้ดีแล้ว ผลรวมของความแตกต่างระหว่างค่าที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่สร้างขึ้นกับค่าที่เกิดขึ้น
จริงๆทุกค่าควรจะน้อยที่สุดเพื่อไม่ให้ผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้นเป็นศูนย์ จึงต้องยกกาลังสองของความ
แตกต่างที่เกิดขึ้นเสียก่อน แล้วจึงหาผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้น ถ้าผลรวมนี้น้อยที่สุดถือว่าความสัมพันธ์เชิง
ฟังก์ชันนั้นเหมาะสมจะใช้การประมาณค่าตัวแปรตามมากที่สุด วิธีดังกล่าวเรียกว่า
วิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด กล่าวคือ
ถ้าให้ Yi เป็นค่าของตัวแปรหรือค่าจากการสังเกตที่เกิดขึ้นจริงตัวที่ i , i { 1, 2 , 3 , …,n}
Yˆ เป็นค่าของตัวแปรตาม Y ที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างตัวแปรตาม Y กับ
ตัวแปรอิสระ X ที่ได้จากการแทนค่าตัวแปร X ด้วย Xi
ต้องการทาให้มี
2
1
)ˆ(

n
i
i YY ค่าน้อยที่สุด
(เมื่อ n เป็นจานวนตัวอย่างที่ใช้หรือจานวนข้อมูลทั้งหมดที่นามาสร้างความสัมพันธ์)
4. ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งความสัมพันธ์อยู่ใน
รูป y = f(t) โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น
ซึ่ง t เป็นตัวแปรอิสระ แทนค่าของข้อมูล Y เป็นตัวแปรตาม
การกาหนดระยะเวลา (t)
ก. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคี่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0 โดยเรียง
ตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 3 , - 2 , - 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , …
ข. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคู่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่คู่กลางเป็น
- 1 และ 1 โดยเรียงตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 5 , - 3 , - 1 , 1 , 3 , 5 , …
10
ลักษณะของความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในรูปอนุกรมเวลามี 2 แบบ
4.1 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น
มีสมการเป็น Y = at + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
it
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yt
1
= a 
n
i
it
1
2
+ b 
n
i
it
1
………………(2)
4.2 ถ้าความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล
มีสมการเป็น Y = abt
หรือ log Y = loga + t log b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
log = nloga + (logb) 
n
i
it
1
………………(1)

n
i
it
1
(log y) = (loga) 
n
i
it
1
+ (logb )
n
i
it
1
2
………………(2)
5. การวิเคราะห์การถดถอย (ประกายรัตน์ สุวรรณ. 2548 : 278-279) กล่าวว่า
การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) เป็นวิธีทางสถิติอย่างหนึ่งที่ใช้ตรวจสอบและสร้างรูปแบบ
ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร หรือมากกว่า โดยที่ตัวแปรหนึ่งเรียกว่า ตัวแปรตาม(Dependent variable) และ
ตัวแปรอื่นๆหรือมากกว่าหนึ่งตัว เรียกว่า ตัวแปรอิสระหรือตัวพยากรณ์ (Independent variable หรือ Predictor)
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์การถดถอย เพื่อที่จะอธิบายตัวแปรตามในรูปฟังก์ชันของตัวแปรอิสระกล่าวคือ
วิธีการหาสมการที่สามารถประมาณหรือพยากรณ์ตัวแปรตามจากตัวแปรอิสระ
ในการวิเคราะห์การถดถอย จะต้องทราบว่าตัวแปรใดเป็นตัวแปรตามและตัวแปรใดเป็นตัวแปรอิสระ
นอกจากนี้จะต้องกาหนดรูปแบบแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระให้เหมาะสมกับ
ความสัมพันธ์ที่แท้จริง ในการพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปรนั้นสามารถพิจารณาได้จากแผนภาพการกระจาย
(Scatterplots)
แผนภาพการกระจายเป็นการพิจารณาอย่างคร่าวๆ ว่าตัวแปรที่สนใจศึกษามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ และมี
ความสัมพันธ์กันแบบใด เป็นเส้นตรง หรือเส้นโค้ง ซึ่งวิธีพิจารณา ก็คือนาข้อมูลมาเขียนแผนภาพการกระจาย หรือจุด
ของการกระจาย โดยให้แกนตั้งแทนตัวแปรตามและแกนนอนแทนด้วยตัวแปรอิสระ
LOGY
X
6420-2-4-6
1.2
1.1
1.0
.9
.8
Observed
Exponential
6. ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรม สาเร็จรูป
ข้อตกลงในการใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
6.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น
ถ้า ให้ b0 หรือ b1 = b แทน b ระยะตัดแกน Y และ
Constant หรือ b0 = a แทน ความชันของเส้นตรง
สมการเส้นตรงแทนสมการถดถอย
คือ สมการเส้นตรง Y = aX + b
11
สมการถดถอย yˆ = b1X + b0
สมการปกติ คือ

n
i
iy
1
= b1 
n
i
ix
1
+ b0n ………………(1)

n
i
ii yx
1
= b1 
n
i
ix
1
2
+ b0 
n
i
ix
1
………………(2)
6.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา
ถ้า ให้ b0 , b1 และb2 เป็นค่าคงตัว
สมการพาราโบลาแทนสมการถดถอย คือ
สมการพาราโบลา Y = aX2
+ bX + c
สมการถดถอย yˆ = b2 X2
+ b1 X + b0
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= b2
2
1

n
i
ix + b1 
n
i
ix
1
+ b0 n ………(1)

n
i
ii yx
1
= b2 
n
i
ix
1
3
+ b1
2
1

n
i
ix + b0 
n
i
ix
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= b2 
n
i
ix
1
4
+ b1
3
1

n
i
ix + b0
2
1

n
i
ix ………(3)
6.3 ถ้าความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล
ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว
มีสมการเป็น Y = abt
หรือ log Y = loga + t log b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
log = nloga + (logb) 
n
i
it
1
………………(1)

n
i
it
1
(log y) = (loga) 
n
i
it
1
+ (logb )
n
i
it
1
2
………………(2)
ขั้นตอนการใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป
2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y หรือ (log y)
12
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y
4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
5. จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate
13
เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent
5.1 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเป็นกราฟเส้นตรงเลือก Linear
6. คลิก OK มี Output ดังนี้
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
Y LIN 1.000 3 . . -2.0000 2.0000
สมการประมาณค่า คือ Yˆ = 2 Xˆ - 2
5.2 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเป็นกราฟพาราโบลา และเลือก Models เป็น Quadratic
คลิก OK มี Output ดังนี้
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
Y QUA .960 1 12.00 .200 -1.5000 5.4000 -1.0000
สมการประมาณค่า คือ Yˆ = - 2ˆX + 5.4 Xˆ - 1.5
14
5.3 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเป็นกราฟเอกซ์โพเนนเชียล
ให้ log y เป็น dependent และ x เป็น independent และเลือก Models เป็น Exponential
คลิก OK มี Output ดังนี้
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
LOGY EXP .947 3 53.81 .005 1.0083 .1507
สมการประมาณค่า คือ log Y = 0.1507X + 1.0083
ใบความรู้ที่ 2.2
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นกราฟเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น
ก. เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น Y = aX + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b 
n
i
ix
1
………………(2)
ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปุ๋ ย (กิโลกรัมต่อไร่)
กับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)
ปริมาณปุ๋ ย(กิโลกรัมต่อไร่): X 1 2 3 4 5
ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) : Y 8 9 10 12 15
จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า
1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณปุ๋ ยและผลผลิตและประมาณค่า
2. ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะได้ผลผลิตเป็นเท่าไร
3. ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร
15
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนดปริมาณปุ๋ ย ความสัมพันธ์ระหว่าง (กิโลกรัมต่อไร่) กับ
ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่( บอกค่า x )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จะได้ผลผลิตเป็นเท่าไร (หาค่า y )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
X
6543210
Y
16
14
12
10
8
6
Y
X
6543210
16
14
12
10
8
6
Observed
Linear
ตารางที่ 2.2 ก
xi yi xi
2
yi
2
xi yi
1 8 1 64 8
2 9 4 81 18
3 10 9 100 30
4 12 16 144 48
5 15 25 225 75

5
1i
ix = 15 
5
1i
iy = 54 
5
1
2
i
ix = 55 
5
1
2
i
iy = 614 
5
1i
ii yx = 179
1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณปุ๋ ยและผลผลิตและประมาณค่า
จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์ชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม (dependent variables) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (independent variables)
a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น Y = aX + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
+ bn

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b
n
i
ix
1
แทนค่าในสมการปกติ 54 = 15a + 5b ………………(1)
179 = 55a + 15b ………………(2)
16
(1) 3 ; 162 = 45a + 15b ………………(3)
(2) – (3) ; 17 = 10a
1.7 = a
แทนค่า a = 1.7 ในสมการที่ (1)
54 = 15(1.7) + 5b
54 = 25.5 + 5b
28.5 = 5b
5.7 = b
ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Yˆ = 1.7 Xˆ + 5.7 *
2. ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะได้ผลผลิตเป็นเท่าไร
ค่า x = 4.5
Yˆ = 1.7 (4.5) + 5.7
= 13.35
ดังนั้น ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะได้ผลผลิตเท่ากับ 13.35 กิโลกรัมต่อไร่
* ชุดกิจกรรมเล่มนี้จะใช้ Xˆ และ Yˆ ในสมการที่ใช้พยากรณ์หรือประมาณค่า
(อ้างถึงใน หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หน้า 124 )
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป
2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y
4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate
เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent
และเลือก Linear
17
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: X
Dependent Ath Rsq d.f. F Sigf b0 b1
Y LIN .938 3 45.63 .007 5.7000 1.7000
จากตารางการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป
จะได้ค่า a = b1 = 1.7000
b = b0 = 5.7000
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
ใบความรู้ที่ 2.3
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น
2.3 เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น X = aY + b
สมการปกติคือ 
n
i
ix
1
= a 
n
i
iy
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
iy
1
2
+ b 
n
i
iy
1
………………(2)
ตัวอย่างที่ 2.3 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปุ๋ ย (กิโลกรัมต่อไร่) กับ ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)
ปริมาณปุ๋ ย(กิโลกรัมต่อไร่): X 1 2 3 4 5
ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) : Y 8 9 10 12 15
จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า
ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด ความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณปุ๋ ย(กิโลกรัมต่อไร่) กับ
ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ ( บอกค่า y )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร (ถามค่า x )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b
18
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจาย และกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
Y
1614121086
X
6
5
4
3
2
1
0
X
Y
1614121086
6
5
4
3
2
1
0
Observed
Linear
ตารางที่ 2.3 ก
xi yi xi
2
yi
2
xi yi
1 8 1 64 8
2 9 4 81 18
3 10 9 100 30
4 12 16 144 48
5 15 25 225 75

5
1i
ix = 15 
5
1i
iy = 54 
5
1
2
i
ix = 55 
5
1
2
i
iy = 614 
5
1i
ii yx = 179
1. ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร
จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง
เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น X = aY + b
สมการปกติคือ 
n
i
ix
1
= a 
n
i
iy
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
iy
1
2
+ b 
n
i
iy
1
………………(2)
แทนค่าในสมการปกติ 15 = 54a + 5b ………………(1)
179 = 614a + 54b ………………(2)
(1) 10.8 ; 162 = 583.2a + 54b ………………(3)
(2) – (3) ; 17 = 30.8a
0.55 = a
แทนค่า a = 0.55 ในสมการที่ (1)
19
15 = 54(0.55) + 5b
15 = 29.7 + 5b
- 14.7 = 5b
- 2.94 = b
ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Xˆ = 0.55Yˆ - 2.94
ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ ค่า y = 100
Xˆ = 0.55(100) - 2.94
= 55 – 2.94 = 52.06
ดังนั้น ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 52.06 กิโลกรัมต่อไร่
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป
2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y
4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate
เลือกให้ x เป็น dependent และ y เป็น independent และเลือก Linear
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: Y
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
X LIN .938 3 45.63 .007 -2.9610 .5519
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
20
2.4 การประมาณค่าของค่าคงตัวโดยใช้ระเบียบวิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด
ในการหาค่าคงตัวที่ปรากฏอยู่ในสมการทั่วไปนั้นหาได้โดยอาศัยหลักที่ว่า ถ้าจะให้สมการของความสัมพันธ์
ที่เกิดขึ้นจริงได้ดีแล้ว ผลรวมของความแตกต่างระหว่างค่าที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่สร้างขึ้นกับค่าที่เกิดขึ้น
จริงๆทุกค่าควรจะน้อยที่สุดเพื่อไม่ให้ผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้นเป็นศูนย์ จึงต้องยกกาลังสองของความ
แตกต่างที่เกิดขึ้นเสียก่อน แล้วจึงหาผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้น ถ้าผลรวมนี้น้อยที่สุดถือว่าความสัมพันธ์เชิง
ฟังก์ชันนั้นเหมาะสมจะใช้การประมาณค่าตัวแปรตามมากที่สุด วิธีดังกล่าวเรียกว่า วิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด กล่าวคือ
ถ้าให้ Yi เป็นค่าของตัวแปรหรือค่าจากการสังเกตที่เกิดขึ้นจริงตัวที่ i , i { 1, 2 , 3 , …,n}
Yˆ เป็นค่าของตัวแปรตาม Y ที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างตัวแปรตาม Y กับ
ตัวแปรอิสระ X ที่ได้จากการแทนค่าตัวแปร X ด้วย Xi
ต้องการทาให้มี
2
1
)ˆ(

n
i
i YY ค่าน้อยที่สุด
(เมื่อ n เป็นจานวนตัวอย่างที่ใช้หรือจานวนข้อมูลทั้งหมดที่นามาสร้างความสัมพันธ์)
จากตัวอย่างในใบความรู้ที่ 2.2 พิจารณาค่าของ Y และ Yˆ
ตาราง 2.4 ก
X Y Yˆ = 1.7x + 5.7 Y - Yˆ (Y - Yˆ )2
1 8 1.7(1) + 5.7 = 7.4 8 – 7.4 = 0.6 0.36
2 9 1.7(2) + 5.7 = 9.1 9 – 9.1 = - 0.1 0.01
3 10 1.7(3) + 5.7 = 10.8 10 – 10.8 = - 0.8 0.64
4 12 1.7(4) + 5.7 = 12.5 12 – 12.5 = - 0.5 0.25
5 15 1.7(5) + 5.7 = 14.2 15 – 14.2 = 0.8 0.64

5
1i
ix = 15 
5
1i
iy = 54 - 

5
1
)ˆ(
i
i YY = 0
25
1
)ˆ(

i
i YY = 1.9
ลักษณะของเส้นตรงดังกล่าวต้องเป็นไปตามเงื่อนไข 3 ประการ ดังนี้
1. 

n
i
i YY
1
)ˆ( = 0
2.
2n
1i
i
)YˆY( 

มีค่าน้อยที่สุด
3. (x , y ) ต้องเป็นจุดอยู่บนเส้นตรง Y = aX + b ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงที่สร้างขึ้นมาเป็นตัวแทนของ
ข้อมูลนั้นคือ y = ax + b จะได้
x =
5
15
= 3 , y =
5
54
= 10.8 , a = 1.7 , b = 5.7
ดังนั้น y = a x + b
10.8 = 1.7(3) + 5.7
= 5.1 + 5.7
10.8 = 10.8 เป็นจริง
21
แบบฝึกทักษะเพิ่มเติม
ตารางต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง X กับ Y
X 2 3 5 7 9 10
Y 1 3 7 11 15 17
1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
2. จงประมาณค่า Y เมื่อ X = 5
วิธีทา
1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
Y
X
121086420
20
10
0
Observed
Linear
จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม (dependent variables) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (independent variables)
a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น Y = aX + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
+ bn

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b
n
i
ix
1
54 = 36a + 6b ……………(1)
428 = 268a + 36b ……………(2)
(1) 6 324 = 216a + 36b ……………(3)
22
(2) - (3) 104 = 52a
a = 2
แทนค่า a = 2 ในสมการที่ 1
54 = 36(2) + 6b
54 = 72 + 6b
-18 = 6b
- 3 = b
สมการประมาณค่าคือ
2. จงประมาณค่า Y เมื่อ X = 5
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
Y LIN 1.000 4 . . -3.0000 2.0000
3.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น Y = aX2
+ bX + c
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b 
n
i
ix
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
3
+ b 
n
i
ix
1
2
+ c 
n
i
ix
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
ix
1
4
+ b 
n
i
ix
1
3
+ c
n
i
ix
1
2
………(3)
ตัวอย่างที่ 3.1 จากการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกัน
ในการรักษาโรค
อายุ(เดือน) : X 1 2 3 4
ปริมาณยา(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3
จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า
1) จงหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการรักษาโรค
2) จงทานายปริมาณยาที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการ
รักษาโรค และทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน ( บอกค่า x = 5.5 เดือน )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงทานายปริมาณยา (หาค่า y )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
23
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
X
4.54.03.53.02.52.01.51.0.5
Y
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
Y
X
4.54.03.53.02.52.01.51.0.5
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
Observed
Quadratic
ตารางที่ 3.1 ก
xi yi xi
2
xi
3
xi
4
xi yi xi
2
yi
1 4 1 1 1 4 4
2 3 4 8 16 6 12
3 2 9 27 81 8 18
4 3 16 64 256 12 18

5
1i
ix = 10 
5
1i
iy =12 
5
1
2
i
ix = 30 
5
1
3
i
ix = 100 
5
1
4
i
ix = 354 
5
1i
ii yx =28 
5
1
2
i
ii yx =82
จงทานายปริมาณยาที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน
จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟที่เป็นรูปพาราโบลา
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงตัวที่ตองการหา
มีสมการเป็น Y = aX2
+ bX + c
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
ix
1
2
+ b 
n
i
ix
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
ix
1
3
+ b 
n
i
ix
1
2
+ c 
n
i
ix
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
ix
1
4
+ b 
n
i
ix
1
3
+ c
n
i
ix
1
2
………(3)
แทนค่าในสมการปกติ
12 = 30a + 10b + 4c ………………(1)
28 = 100a + 30b + 10c ………………(2)
82 = 354a + 100b + 30c ………………(3)
แก้สมการหาค่าของ a = 0.5 , b = - 2.9 , c = 6.5
ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Yˆ = 0.5 2ˆX – 2.9 Xˆ + 6.5
จงทานายปริมาณยาที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน (x = 5.5 )
Yˆ = 0.5(5.5)2
– 2.9(5.5) + 6.5
24
= 0.5(30.25) – 15.95 + 6.5
= 5.675
ดังนั้น ทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน ต้องใช้ปริมาณยา 5.675 มิลลิกรัม
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป
2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y
4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate
เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent
และเลือก Quadratic
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: X
Dependent Ath Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
Y QUA .900 1 4.50 .316 6.5000 -2.9000 .5000
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
3.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในรูปพาราโบลา (ต่อ)
เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงที่
มีสมการเป็น X = aY2
+ bY + c
สมการปกติคือ 
n
i
ix
1
= a 
n
i
iy
1
2
+ b 
n
i
iy
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
iy
1
3
+ b 
n
i
iy
1
2
+ c 
n
i
iy
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
y
1
4
+ b
n
i
iy
1
3
+ c
n
i
iy
1
2
………(3)
25
ตัวอย่างที่ 3.2 จากการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกัน
ในการรักษาโรค
อายุ(เดือน) : X 1 2 3 4
ปริมาณยา(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3
จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า
1) จงหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการรักษาโรค
2) จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัมใช้สาหรับทารกที่มีอายุกี่เดือน
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสาหรับทารกที่มีอายุ
ต่างๆกันในการรักษาโรค
1.2 จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม ( บอกค่า y = 2.5 มิลลิกรัม )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม ใช้สาหรับอายุทารกที่มี
อายุกี่เดือน (หาค่า x )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a , b และ c
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
Y
4.54.03.53.02.52.01.5
X
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
.5
X
Y
4.54.03.53.02.52.01.5
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
.5
Observed
Quadratic
ตารางที่ 3.2 ก
xi yi yi
2
yi
3
yi
4
xi yi xi yi
2
1 4 16 64 256 4 16
2 3 9 27 81 6 18
3 2 4 8 16 8 12
4 3 9 27 81 12 36

5
1i
ix = 10 
5
1i
iy =12 
5
1
2
i
ix = 38 
5
1
3
i
ix = 126 
5
1
4
i
ix = 434 
5
1i
ii yx =28 
5
1
2
i
ii yx =82
1) ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการรักษาโรค
จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปพาราโบลา
26
เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงที่
มีสมการเป็น X = aY2
+ bY + c
สมการปกติคือ 
n
i
ix
1
= a 
n
i
iy
1
2
+ b 
n
i
iy
1
+ cn ………(1)

n
i
ii yx
1
= a 
n
i
iy
1
3
+ b 
n
i
iy
1
2
+ c 
n
i
iy
1
………(2)

n
i
ii yx
1
2
= a 
n
i
y
1
4
+ b
n
i
iy
1
3
+ c
n
i
iy
1
2
………(3)
แทนค่าในสมการปกติ
10 = 38a + 12b + 4c ………………(1)
28 = 126a + 38b + 12c ………………(2)
82 = 434a + 126b + 38c ………………(3)
แก้สมการหาค่าของ a = - 1 , b = 5 , c = - 3
ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Xˆ = - Yˆ 2
+ 5Yˆ - 3
จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม (y = 2.5 ) ที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุกี่เดือน
Xˆ = - Yˆ 2
+ 5Yˆ - 3
= - (2.5)2
+ 5(2.5) - 3
= - 6.25 + 12.5 – 3
= 3.25
ดังนั้น ปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 3.25 เดือน
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป
2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y
4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate
เลือกให้ x เป็น dependent และ y เป็น independent
และเลือก Quadratic
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
27
Independent: Y
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2
X QUA .600 1 .75 .632 -3.0000 5.0000 -1.0000
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
4.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา
4.1 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา (time series) คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น
ก่อนหลังของช่วงเวลาที่ข้อมูลชุดนั้นเกิดขึ้น ซึ่งปกติแล้วข้อมูลนั้นๆมักจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาเท่าๆกัน เช่น ปริมาณ
ข้าวที่ประเทศไทยผลิตได้ในแต่ละปี จานวนเงินที่ร้านค่าแห่งหนึ่งขายได้ในแต่ละเดือน หรืออุณหภูมิเฉลี่ยในแต่ละ
วันของจังหวัดกาญจนบุรี แล้วข้อมูลนั้นๆจะปกติความสัมพันธ์อยู่ในรูป Y = f(t)
โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น
เมื่อ t เป็นตัวแปรอิสระ และ Y เป็นตัวแปรตาม
การกาหนดระยะเวลา (t)
ก. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคี่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0 โดยเรียง
ตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 3 , - 2 , - 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , …
การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลกราฟเป็นรูปเส้นตรง
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ t เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น Y = at + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
it
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yt
1
= a 
n
i
it
1
2
+ b 
n
i
it
1
………………(2)
ข้อสังเกต 
n
i
it
1
= 0
จาก สมการ(1) จะได้ b =
n
y
n
i
i1
จาก สมการ(2) จะได้ a =




n
i
i
n
i
ii
t
yt
1
2
1
28
ตัวอย่างที่ 4.1 มูลค่าอุตสาหกรรมสิ่งทอการส่งออกที่ประเทศไทยส่งออกไปขายยังต่างประเทศ
มีความสัมพันธ์กับเวลาในรูปเส้นตรง ระหว่าง ปี 2550 – 2554 ดังนี้
ปี พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554
มูลค่า (ล้านบาท) 6 8 12 15 19
จงใช้ประบวนการแก้ปัญหาของโพลยาประมาณค่า
1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณมูลค่าการส่งออกในเวลาต่างๆ
2. จงประมาณมูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2562
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด มูลค่าอุตสาหกรรมสิ่งทอการส่งออกที่ประเทศไทยส่งออกไปขายยังต่างประเทศมี
ความสัมพันธ์กับเวลา( บอกค่า t )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงประมาณมูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2558 (หาค่า y )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
T
3210-1-2-3
Y
20
18
16
14
12
10
8
6
4
Y
T
3210-1-2-3
20
18
16
14
12
10
8
6
4
Observed
Linear
ตาราง 4.1 ก
ปี พ.ศ. มูลค่า (y ) t t2
ty
2550 6 - 2 4 - 12
2551 8 - 1 1 - 8
2552 12 0 0 0
2553 15 1 1 15
2554 19 2 4 38
รวม y = 60 t = 0  2
t = 10 ty = 33
ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเส้นตรง
สมการ Y = at + b
29
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
it
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yt
1
= a 
n
i
it
1
2
+ b 
n
i
it
1
………………(2)
แทนค่า 60 = 0 + 5 b ………………..(1)
33 = 10 a + 0 …………………(2)
จาก (1) b =
5
60
= 12
จาก (2) a =
10
33
= 3.3
ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ Y = 3.3 t + 12
2. จงประมาณมูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2562 ( t = 10 )
แทนค่า t = 10 ในสมการประมาณค่า
Y = 3.3 (10 ) + 12
= 33 + 12 = 45
ดังนั้น มูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2562 เท่ากับ 45 ล้านบาท
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate
เลือกให้ y เป็น dependent และ t เป็น independent
Models และเลือก Linear
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: T
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
Y LIN .990 3 297.00 .000 12.0000 3.3000
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
30
4.2 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง
การกาหนดระยะเวลา (t)
ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคู่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่คู่กลางเป็น
- 1 และ 1 โดยเรียงตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 5 , - 3 , - 1 , 1 , 3 , 5 , …
การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลกราฟเป็นรูปเส้นตรง
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ t เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
มีสมการเป็น Y = at + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
it
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yt
1
= a 
n
i
it
1
2
+ b 
n
i
it
1
………………(2)
ข้อสังเกต 
n
i
it
1
= 0
จาก สมการ(1) จะได้ b =
n
y
n
i
i1
จาก สมการ(2) จะได้ a =




n
i
i
n
i
ii
t
yt
1
2
1
ตัวอย่างที่ 4.2 จานวนสินค้าที่โรงงานแห่งหนึ่งผลิตได้ความสัมพันธ์กับเวลาในรูปเส้นตรง
ระหว่าง ปี พ.ศ. 2552 – 2557
ปี พ.ศ. 2552 2553 2554 2555 2556 2557
จานวนสินค้า(ร้อยชิ้น) 170 184 200 210 216 220
จงใช้ประบวนการแก้ปัญหาของโพลยาประมาณค่า
1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณจานวนสินค้าที่โรงงานอุตสาหกรรมแห่งนี้ผลิตได้ในเวลาต่างๆ
2. จงประมาณจานวนสินค้าที่โรงงานอุตสาหกรรมแห่งนี้ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2559
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนสินค้าที่โรงงานแห่งหนึ่งผลิตได้ความสัมพันธ์กับเวลา
( บอกค่า t )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงประมาณจานวนสินค้าที่โรงงานอุตสาหกรรมแห่งนี้ผลิตได้ในปี
พ.ศ. 2559 (หาค่า y )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b
31
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
T
6420-2-4-6
Y
230
220
210
200
190
180
170
160
Y
T
6420-2-4-6
230
220
210
200
190
180
170
160
Observed
Linear
ตาราง 4.2 ก
ปี พ.ศ. จานวนสินค้า (Y) t t2
tY
2552 170 - 5 25 - 850
2553 184 - 3 9 - 552
2554 200 - 1 1 - 200
2555 210 1 1 210
2556 216 3 9 648
2557 220 5 25 1100
รวม Y = 1200 t = 0  2
t = 70 tY = 356
จากแผนภาพการกระจายความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลอยู่ในรูปเส้นตรง
เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ t เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา
สมการคือ Y = at + b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
= a 
n
i
it
1
+ bn ………………(1)

n
i
ii yt
1
= a 
n
i
it
1
2
+ b 
n
i
it
1
………………(2)
แทนค่า 1200 = 0 + 6 b ………………..(1)
356 = 70 a + 0 …………………(2)
จาก (1) b =
6
1200
= 200
จาก (2) a =
70
356
= 5.09
ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ Y = 5.09 t + 200
2. จงประมาณจานวนสินค้าที่ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2559 ( t = 9 )
แทนค่า t = 9 ในสมการทานาย
Y = 5.09 (9 ) + 200
= 45.81 + 200 = 245.81 ร้อยชิ้น
ดังนั้น จานวนสินค้าที่ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2559 เท่ากับ 24,581 ชิ้น
32
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: T
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
Y LIN .947 4 71.36 .001 200.000 5.0857
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
5.1 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล
ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งความสัมพันธ์อยู่ในรูป
y = f(t) โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น
เมื่อ t เป็นตัวแปรอิสระ แทนค่าของข้อมูล Y เป็นตัวแปรตาม
การกาหนดระยะเวลา (t)
ก. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคี่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0
โดยเรียงตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 3 , - 2 , - 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , …
ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล
ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว
มีสมการเป็น Y = abt
หรือ log Y = loga + t log b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
log = nloga + (logb) 
n
i
it
1
………………(1)

n
i
it
1
(log y) = (loga) 
n
i
it
1
+ (logb )
n
i
it
1
2
………………(2)
ข้อสังเกต 
n
i
it
1
= 0
33
จาก สมการ(1) จะได้ log a =
n
y
n
i
i1
log
จาก สมการ(2) จะได้ log b =




n
i
i
n
i
ii
t
yt
1
2
1
)(log
ตัวอย่างที่ 5.1 จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของจานวนประชากรโดยประมาณของประเทศไทย
จากข้อมูลระหว่าง ปี พ.ศ. 2551 – 2555 ดังนี้
ปี พ.ศ. 2551 2552 2553 2554 2555
จานวนประชากร (ล้านคน) 63.3 63.5 63.8 64 64.4
ที่มา http://www.th.wikipedia.org/. ข้อมูลจาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.
จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า
1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ
2. จงประมาณประชากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนประชากรโดยประมาณของประเทศไทย จากข้อมูลระหว่าง
ปี พ.ศ. 2551 – 2555 ( บอกค่า t )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงประมาณประชากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565
(หาค่า y )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ log a และ log b
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
T
3210-1-2-3
LOGY
1.800
1.798
1.796
1.794
1.792
1.790
1.788
LOGY
T
3210-1-2-3
1.800
1.798
1.796
1.794
1.792
1.790
1.788
1.786
Observed
Linear
34
ตารางที่ 5.1 ก
ปี พ.ศ. จานวนประชากร (y ) log yi t t^2 t logyi
2551 63.8 1.8014 -2 4 -3.6028
2552 63.5 1.8028 -1 1 -1.8028
2553 63.8 1.8048 0 0 0
2554 64 1.8062 1 1 1.8062
2555 64.4 1.8089 2 4 3.6178
รวม - 9.0241 0 10 0.0184
1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ
ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล
มีสมการเป็น Y = abt
หรือ log Y = loga + t log b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
log = nloga + (logb) 
n
i
it
1
………………(1)

n
i
it
1
(log y) = (loga) 
n
i
it
1
+ (logb )
n
i
it
1
2
………………(2)
แทนค่า 9.0241 = 5log a ………………..(1)
-1.9816 = 10 log b …………………(2)
จาก (1) log a =
5
02149.
= 1.8048
จาก (2) log b =
10
01840.
= 0.0018
ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ log Y = loga + t log b = 1.8048 + = 0.0018 t
2. จงประมาณจานวนประชากรในปี พ.ศ. 2565 ( t = 12 )
ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ log Y = loga + t log b
= 1.8048 + 0.0018 (12)
= 1.8048 + 0.0216 = 1.8264
log Y = 1 + 0.8264
( การประมาณค่าของแอนตี้ลอกฯ log 6.705  0.8264 )
log Y = log 10 + log 6.705
antilog Y = 6.705 10 = 67.05
ดังนั้น จานวนประชากรในปี พ.ศ. 2565 เท่ากับ 67.05 ล้านคน
การประมาณค่าของลอก (log M )
log 6.7 = 0.8261
log M = 0.8264
log 6.71 = 0.8267
ใช้อัตราส่วน
76716
76
..
.M


=
8261082670
8261082640
..
..


35
010
76
.
.M
=
00060
00030
.
.
M - 6.7 =
00060
00030
.
.
010.  0.005
M  6.7 + 0.005  6.705
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป
2. กาหนดตัวแปร(Variable View) t และ log y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง t และ log y
4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimation
เลือกให้ log y เป็น dependent และ t เป็น independent และเลือก Exponential ดังรูป
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: T
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
LOGY EXP .986 3 217.19 .001 1.8048 .0010
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบใกล้เคียงกัน เพราะเป็นค่าประมาณของลอกการิทึม
5.2 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล
ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งความสัมพันธ์อยู่ในรูป
y = f(t) โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น
ซึ่ง t เป็นตัวแปรอิสระ แทนค่าของข้อมูล Y เป็นตัวแปรตาม
การกาหนดระยะเวลา (t)
ข. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคู่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่คู่กลางเป็น - 1 และ 1 โดยเรียง
ตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 5 , - 3 , - 1 , 1 , 3 , 5 , …
ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล
ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว
มีสมการเป็น Y = abt
หรือ log Y = loga + t log b
36
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
log = nloga + (logb) 
n
i
it
1
………………(1)

n
i
it
1
(log y) = (loga) 
n
i
it
1
+ (logb )
n
i
it
1
2
………………(2)
ข้อสังเกต 
n
i
it
1
= 0
จาก สมการ(1) จะได้ log a =
n
y
n
i
i1
log
จาก สมการ(2) จะได้ log b =




n
i
i
n
i
ii
t
yt
1
2
1
)(log
ตัวอย่างที่ 5.2 จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของจานวนประชากรโดยประมาณของจังหวัดอุตรดิตถ์
จากข้อมูลระหว่าง ปี พ.ศ. 2545 – 2554 ดังนี้
ปี พ.ศ. 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
จานวนประชากร (แสนคน) 4.85 4.82 4.7 4.69 4.67 4.65 4.64 4.63 4.62 4.61
ที่มา http://www.th.wikipedia.org/. ข้อมูลจาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.
1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ
2. จงประมาณประมาณประชากรของจังหวัดอุตรดิตถ์ในปี พ.ศ. 2560
ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา
1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนประชากรโดยประมาณของจังหวัดอุตรดิตถ์
จากข้อมูลระหว่าง ปี พ.ศ. 2545 – 2554 ( บอกค่า t )
1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร ในปี พ.ศ. 2560 (หาค่า y )
ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์
2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
2.2 สร้างตาราง
2.3 สร้างสมการปกติ
2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ log a และ log b
ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์
T
100-10
LOGY
.69
.68
.67
.66
LOGY
T
100-10
.69
.68
.67
.66
Observed
Exponential
37
ตารางที่ 5.2 ก
1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ
ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล
ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว
มีสมการเป็น Y = abt
หรือ log Y = loga + t log b
สมการปกติคือ 
n
i
iy
1
log = nloga + (logb) 
n
i
it
1
………………(1)

n
i
it
1
(log y) = (loga) 
n
i
it
1
+ (logb )
n
i
it
1
2
………………(2)
แทนค่า 6.7092 = 10log a ………………..(1)
-0.3752 = 330 log b …………………(2)
จาก (1) log a =
10
70296.
= 0.6709
จาก (2) log b =
330
3752.
= - 0.0011
ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ log Y = loga + t log b
= 0.6709 – 0.0011t
2. จงประมาณจานวนประชากรในปี พ.ศ. 2565 ( t = 21 )
แทนค่า t = 21 ในสมการทานาย
log Y = 0.6709 – 0.0011t = 0.6709 – 0.0231= 0.6478
log Y = 0.6478
(การประมาณค่าของแอนตี้ลอกฯ log 4.467  0.6478)
log Y = log 4.467
Y = 4.4467
ดังนั้น จานวนประชากรของจังหวัดอุตรดิตถ์ในปี พ.ศ. 2565 เท่ากับ 4.467 แสนคน หรือ 444,670 คน
การประมาณค่าของลอก (log M )
log 4.44 = 0.6474
log M = 0.6478
log 4.45 = 0.6484
38
ใช้อัตราส่วน
444454
444
..
.M


=
6478064840
6474064780
..
..


010
444
.
.M
=
00060
00040
.
.
444.M =
00060
00040
.
.
0.01 = 0.0067
M = 4.44 + 0.0067  4.4467
M  4.4467
ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม
1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป
2. กาหนดตัวแปร(Variable View) t และ log y
3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง t และ log y
4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate
จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimation
เลือกให้ log y เป็น dependent และ t เป็น independent และเลือก Exponential
5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
Independent: T
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
LOGY EXP .823 8 37.25 .000 .6709 -.0017
ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบใกล้เคียงกัน เพราะเป็นค่าประมาณของลอกการิทึม
39
ใบกิจกรรมที่ 2.1
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ผลการเรียนรู้ สร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลดังนี้
x 1 2 3 4 5
y 1 3 5 7 9
ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลมีลักษณะเป็นแบบใด
ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา
ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล
2. ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลเป็นเส้นตรง
สมการประมาณค่าคือข้อใด
ก. Y = aX + b
ข. X = aY + b
ค. Y = aX2
+ bX + c
ง. X = aY2
+ bY + c
3. ถ้าให้ Y เป็นตัวแปรอิสระและ X เป็นตัวแปรตาม
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลเป็นพาราโบลา
สมการประมาณค่าคือข้อใด
ก. Y = aX + b
ข. X = aY + b
ค. Y = aX2
+ bX + c
ง. X = aY2
+ bY + c
ผลการวิเคราะห์( Output) ตอบคาถามข้อ 4 - 5
ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม
การวิเคราะห์การถดถอยด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป
ได้ผลการวิเคราะห์( Output) ดังตาราง
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f F Sigf b0 b1
Y LIN .996 3 729.00 .000 -.5000 2.7000
4. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การประมาณค่าโดยใช้
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในข้อใด
ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา
ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล
5. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล
จงหาสมการประมาณค่า
ก. Y = 5X – 2.7 ข. Y = - 5X + 2.7
ค. Y = 2.7X – 5 ง. Y = 2.7X + 5
6. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม
ใช้การประมาณค่าโดยใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในข้อใด
ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา
ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล
7. จงหาสมการประมาณค่า
ก. Y = - 2X2
+ 7.3X – 1.5
ข. Y = - 2X2
+ 1.5X - 7.3
ค. Y = - 1.5 X2
+ 7.3X + 2
ง. Y = - 1.5 X2
+ 7.3X - 2
กาหนดข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 8 – 10
ข้อมูลต่อไปนี้แสดงเงินเดือนของชายคนหนึ่ง
ตั้งแต่พ.ศ. 2548 – 2552 เป็นดังนี้
พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552
เงินเดือน(พันบาท) 18 19.8 20.2 21.4 22.5
8. การกาหนดอนุกรมเวลา (X) แทนข้อมูลข้อใดถูก
ก. 1 , 2 , 3 , 4 , 5
ข. – 2 , - 1 , 0 , 1 , 2
ค. – 3 , - 1 , 0 , 1 , 3
ง. – 4 , - 2 , 0 , 2 , 4
ผลการวิเคราะห์( Output) ตอบคาถาม ข้อ 9 - 10
การวิเคราะห์การถดถอยด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป
ได้ผลการวิเคราะห์( Output) ดังตาราง
Independent: X
Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1
LOGY EXP .961 3 74.66 .003 1.3076 .0174
9. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ใช้การประมาณค่าโดยใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในข้อใด
ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา
ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล
10. ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม
สมการประมาณค่าคือข้อใด
ก. log Y = 0.0174X + 1.3076
ข. log Y = 1.3076X + 0.0174
ค. log Y = 0.0751X + 0.3062
ง. log Y = 0.3062X + 0.0751
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามChitpol Kamthep
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามMath and Brain @Bangbon3
 

Mais procurados (20)

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
 

Semelhante a เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นsuwanpinit
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4ทับทิม เจริญตา
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10Kuntoonbut Wissanu
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 

Semelhante a เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน (20)

Equation
EquationEquation
Equation
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
60 matrix-081060
60 matrix-08106060 matrix-081060
60 matrix-081060
 

Mais de krurutsamee

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน krurutsamee
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนkrurutsamee
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 krurutsamee
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 krurutsamee
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 krurutsamee
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 krurutsamee
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1 krurutsamee
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2 krurutsamee
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3 krurutsamee
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5 krurutsamee
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccskrurutsamee
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อมkrurutsamee
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 

Mais de krurutsamee (20)

คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 
ชุดที่3
ชุดที่3 ชุดที่3
ชุดที่3
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี  ธัญน้อมประวัติครูรัมี  ธัญน้อม
ประวัติครูรัมี ธัญน้อม
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 

เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน

  • 1. 1 ใบความรู้ ที่ 3.1 ความรู้พื้นฐานการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร วิธีที่ 1 กาจัดตัวแปร x วิธีที่ 2 กาจัดตัวแปร y กรณีที่ 1 ถ้าตัวสัมประสิทธิ์ (ตัวเลข) ของตัวแปร x หรือตัวแปร y เท่ากัน 1.1 ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันให้นาสมการทั้งสองมาลบกัน 1.2 ถ้าเครื่องหมายต่างกันให้นาสมการทั้งสองมาบวกกัน กรณีที่ 2 ถ้าตัวสัมประสิทธิ์ (ตัวเลข) ของ ตัวแปร x หรือตัวแปร y ไม่เท่ากัน โดยต้องทาให้เท่ากัน โดยทาให้เท่ากับค.ร.น. 1.1 ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันให้นาสมการทั้งสองมาลบกัน 1.2 ถ้าเครื่องหมายต่างกันให้นาสมการทั้งสองมาบวกกัน ตัวอย่างที่ 1 จงแก้ระบบสมการหาคาตอบโดยใช้กระบวนการของโพลยา 2x + 3y = 12 ……………(1) 2x - y = 4 ……………(2) วิธีทา ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด สมการเส้นตรง 2 สมการ 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร หาคาตอบของระบบสมการ ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ วิธีที 1 กาจัดตัวแปร x วิธีที 2 กาจัดตัวแปร y ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ วิธีที่ 2.1 กาจัดตัวแปร x 2x + 3y = 12 ……………(1) 2x - y = 4 ……………(2) (สมการที่ 1 , 2 มีเครื่องหมายเหมือนกัน ) (1) – (2) ; 3y - (- y) = 12 - 4 3y + y = 8 4y = 8 y = 2 แทนค่า y = 2 ในสมการที่ 2 2x - 2 = 4 2x = 6 จะได้ x = 2 6 = 3 จุดตัดกันของกราฟ คือ ( 3 , 2 ) วิธีที่ 2.2 กาจัดตัวแปร y 2x + 3y = 12 ……………(1)* 2x - y = 4 ……………(2) ต้องทาตัวเลขหน้า y ให้เท่ากัน (2)  3 ; 3(2x - y) = 4  3 6x - 3y = 12 ……………(3)* (สมการที่ 1 , 3 มีเครื่องหมายต่างกัน ) (1)* + (3)* ; 2x + 6x = 12+12 8x = 24 x = 3 แทนค่า x = 3 ในสมการที่ 2 2(3) - y = 4 6 - y = 4 - y = - 2 จะได้ y = 2 จุดตัดกันของกราฟ คือ ( 3 , 2 )
  • 2. 2 ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวน ตรวจสอบผลที่ได้ 4.1 ตรวจสอบผลที่ได้โดยวิธีแทนค่าตัวแปร แทนค่า x = 3 , y = 2 2x + 3y = 12 ……………(1) 2x - y = 4 ……………(2) 2(3) + 3(2) = 12 ……………(1) ดังนั้น 6 + 6 = 12 เป็นจริง 2(3) - 2 = 4 ……………(2) ดังนั้น 6 - 2 = 4 เป็นจริง 4.2 โดยวิธีเขียนกราฟ(ใช้โปรแกรมGSP) สมการ จัดรูป จุดตัดแกน X จุดตัดแกน Y 2x + 3y = 12 3 212 x y   (6 , 0) (0 , 4) 2x - y = 4 42  xy (2 , 0) (0 , -4) 1.1 จุดตัดแกน X ( แทนค่า y = 0 ) 2x + 3y = 12 2x + 3(0) = 12 2x = 12 จะได้ x = 6 ดังนั้นจุดตัดแกน X คือ (6, 0) 1.2 จุดตัดแกน Y ( แทนค่า x = 0 ) 2(0)+ 3y = 12 3y = 12 y = 4 ดังนั้นจุดตัดแกน Y คือ (0, 4) 2.1 จุดตัดแกน X ( แทนค่า y = 0 ) 2x - y = 4 2x - 0 = 4 2x = 4 จะได้ x = 2 ดังนั้นจุดตัดแกน X คือ (2, 0) 2.2 จุดตัดแกน Y ( แทนค่า x = 0 ) 2(0) - y = 4 - y = 4 y = -4 ดังนั้นจุดตัดแกน X คือ (0 , -4) 8 6 4 2 -2 -4 -6 -8 -10 -5 5 10 (3,2) g x  =2x-4 f x  = 12-2x 3
  • 3. 3 ใบความรู้ที่ 3.2 ความรู้พื้นฐานการแก้ระบบสมการ 3 ตัวแปร ขั้นตอนการแก้ระบบสมการเชิงเส้น 3 ตัวแปร ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจกับปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด สมการเส้นตรง 3 สมการ 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร หาคาตอบของระบบสมการ ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ วิธีที่ 1 กาจัด x หรือ กาจัด y หรือ กาจัด z วิธีที่ 2 แทนค่า x , y , z วิธีที่ 3 ใช้เมตริกซ์(กฏของคราเมอร์) ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ วิธีที่ 1 กาจัด x หรือ กาจัด y หรือ กาจัด z 3.1 เลือกสมการสามตัวแปรมา 2 สมการ เช่น สมการ 1 กับ 2 และ สมการ 1 กับ 3 3.2 ทาสัมประสิทธิ์ของ x , y , zให้เท่ากัน(ตัวเลขหน้าตัวแปร)ให้เท่ากัน ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันให้นาสมการทั้งสองมาลบกัน ถ้าเครื่องหมายต่างกันให้นาสมการทั้งสองมาบวกกัน 3.3 ถ้า กาจัด y สมการสองตัวแปร 2 สมการในรูป x , z 3.4 ถ้ากาจัด z แก้สมการจะได้ ค่า x = ….. 3.5 แทนค่า ค่า x = ….. ในสมการสองตัวแปร แก้สมการ จะได้ค่า z = ….. 3.6 แทนค่า ค่า x = ….. ค่า z = ….. ในสมการที่ 1 , 2 , 3 จะได้ค่า y = ….. ดังนั้นคาตอบของระบบสมการคือ x = ….. , y = ….. , z = ….. วิธีที่ 2 แทนค่า x , y , z (แทนค่า x ในรูปของ y , z ) 1. เลือกสมการ x + y + z = 0 และจัดรูป x = ….. เช่น x = - y – z 2. แทนค่า x = ….. ในสมการที่เหลืออีก 2 สมการ 3. แทนค่าหาคาตอบไปเรื่อยๆ y = ….. , z = ….. วิธีที่ 3 ใช้เมตริกซ์(กฏของคราเมอร์) x = )det( )det( A X , y = )det( )det( A Y , z = )det( )det( A Z ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวน ตรวจสอบผลที่ได้ ตัวอย่างที่ 1.2 จงแก้ระบบสมการ x + y + z = 0 2x – y – 4z = 15 x – 2y – z = 7 วิธีที่ 1 กาจัด y x + y + z = 0 ……………(1) 2x – y – 4z = 15 ……………(2) x – 2y – z = 7 ……………(3)* (1) + (2) 3x - 3z = 15 ……………(4)** (1) 2 2x + 2 y + 2z = 0 ……………(5)*
  • 4. 4 (3)*+ (5)* 3x + z = 7 ……………(6)** (4)**- (6) ** - 4z = 8 z = 4 8  = - 2 แทนค่า z = - 2 ในสมการที่ (6) ** 3x + (-2) = 7 3x = 9 x = 3 แทนค่า x = 3 , z = - 2 ในสมการที่ (1) (3) + y + (- 2) = 0 y + 1 = 0 y = - 1 ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 3 , - 1 , -2 ) วิธีที่ 2 แทนค่า x , y , z (แทนค่า x ) x + y + z = 0 ……………(1) 2x - y - 4z = 15 ……………(2) x - 2y - z = 7 ……………(3) จากสมการที่ (1) แทนค่า x x = - y - z ……………(4) แทนค่า x = - y - z ในสมการที่ (2) 2(- y - z) - y - 4z= 15 - 2y - 2z - y - 4z = 15 - 3y - 6z = 15 นา - 3 หาร ทั้งสองข้างของสมการ - y + 2z = - 5 y = - 2z - 5 ……………(5) แทนค่า x = - y - z ในสมการที่ (3) (- y - z ) - 2y - z = 7 - 3y - 2z = 7 ……………(6) จากสมการที่ (5) แทนค่า y = - 2z - 5 ในสมการที่ (6) - 3(- 2z - 5 )- 2z = 7 6z + 15 – 2z = 7 4z = - 8 z = 4 8 = - 2 แทนค่า z = - 2 ในสมการที่ (5) y = - 2(-2) – 5 y = 4 – 5 = - 1 แทนค่า y = - 1 , z = - 2 ในสมการที่ (1) x +(- 1) + (- 2) = 0 x - 3 = 0 จะได้ x= 3
  • 5. 5 ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 3 , - 1 , -2 ) วิธีที่ 3 ใช้เมตริกซ์(กฏของคราเมอร์) หาดีเทอร์มินันท์ det(A) นาสัมประสิทธิ์ของสมการมาเขียนเป็นเมตริกซ์ดังนี้             121 412 111           z y x =           7 15 0 A =             121 412 111 การหาดีเทอร์มินันท์ ต่อแถวและหลัก คูณขึ้นเป็นลบ คูณลงเป็นบวก(ตามแนวทแยงมุม) A =             121 412 111 2 1 1 1 2 1   det(A) = - (-1 + 8 - 2) + (1 – 4 - 4) = - 5 – 7 = - 12 X =             127 4115 110 , det(X) = - 36 x = )det( )det( A X = 12 36   = 3 Y =             171 4152 101 , det(Y) = 12 y = )det( )det( A Y = 12 12  = - 1 Z =             721 1512 011 , det(Z) = 24 z = )det( )det( A Z = 12 24  = - 2 ดังนั้น คาตอบของระบบสมการคือ ( 3 , - 1 , -2 )
  • 6. 6 โจทย์ใบกิจกรรมที่ 3.1 คาสั่ง ให้นักเรียน ทาโจทย์คนละ 1 ข้อ เรียง ตามเลขที่ โดยเลขที่ 1 – 20 ทาข้อ 1 – 20 คนที่ 21 – 40 ทาข้อ 1 – 20 เรียงตามลาดับ แสดงวิธีทาในใบกิจกรรมที่ 1.1 จงหาจุดตัดกันของสมการเส้นตรง (จงแก้ระบบสมการ) จงแก้ระบบสมการ 2 ตัวแปรต่อไปนี้ 1. x - y = 7 2x + y = 8 2. 3x + y = 12 x - y = 4 3. x + 3y = 9 2x - y = 4 4. 3x - 4y = 8 x + y = - 2 5. 3x + 4y = 16 9x + 7y = 13 6. x + 3 y = 10 x + 9y = 22 7. 3x - 4y = 0 3x + 4y = -24 1. 3x - y = 7 4x - 3y = 11 2. x + 7y = 8 3x + 2y = 5 10. 3x + 5y = - 2 2x + 15y = 22 11. x - 7y = 11 3x + 5y = 7 12. 4x + y = 5 2x - 3y = 13 13. 2x - y = 2 x + y = 4 14. 5x - 2y = 6 3x - y = 5 15. x - 2y = 6 2x + y = 7 16. x + 5y = 19 2x - y = 5 17. 2x + 3y = 12 3x - y = - 3 18. 3x - 4y = 18 2x + y = 1 19. 2x - y = 4 x + y = 5 20. 3x - y = 3 x + 2y = 8 2. จงแก้ระบบสมการ 3 ตัวแปรต่อไปนี้ 1. 2x - y + z = 2 x + 2y - 3z = 11 3x + 4y - 2z = 4 2. 2x + 2y + z = 1 x - y + 6 z = 21 3x + 2y - z = 4
  • 7. 7 ใบกิจกรรม 3.2 จุดตัดกันของสมการเส้นตรง วิชาคณิตศาสตร์รอบรู้ 5 รหัสวิชา ค33201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชื่อ………………………………..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ……….เลขที่……………… จงหาจุดตัดกันของสมการ เส้นตรง L1 : …………………………………………. เส้นตรง L2 : …………………………………………. สมการ จุดตัดแกน X จุดตัดแกน Y วิธีที่ 1 เขียนกราฟ วิธีที่ 2 แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ( กาจัดตัวแปร X หรือกาจัดตัวแปร Y ) ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………….………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
  • 8. 8 บทที่ 3 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลเพื่อศึกษาข้อมูลที่มีตัวแปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไป เช่น รายได้และ รายจ่าย ส่วนสูงและน้าหนัก ใช้ข้อมูลที่รวบรวมมาได้หาความสัมพันธ์ของตัวแปรในรูปสมการเชิงเส้นตรง เพื่อ ทานายค่าของตัวแปรได้ 1. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม (dependent variable) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (independent variable) a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น Y = aX + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 + bn ………………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 2 + b n i ix 1 ………………(2) 2. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟไม่เป็นเส้นตรง 2.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงที่ มีสมการเป็น Y = aX2 + bX + c สมการปกติคือ  n i iy 1 = a 2 1  n i ix + b  n i ix 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 3 + b 2 1  n i ix + c  n i ix 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i ix 1 4 + b 3 1  n i ix + c 2 1  n i ix ………(3) 2.2 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล มีสมการเป็น Y = abt หรือ log Y = loga + t log b สมการปกติคือ  n i iy 1 log = nloga + (logb)  n i it 1 ………………(1)  n i it 1 (log y) = (loga)  n i it 1 + (logb ) n i it 1 2 ………………(2) 2. แผนภาพการกระจาย (Scatterplots) ในการสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลเชิงปริมาณที่ประกอบด้วยตัวแปรสองตัวจากข้อมูลที่มีอยู่ ทั้งหมด หรือจากตัวอย่างข้อมูลที่เลือกมาเป็นตัวแทนของข้อมูลที่มีอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องตรวจดูรูปแบบของ ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างตัวแปรทั้งสอง เพื่อที่จะนามาใช้ในการกาหนดความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่จะสร้างขึ้น รูปแบบของความสัมพันธ์นี้พิจารณาได้จากกราฟที่สร้างจากข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดหรือข้อมูลที่เลือกมาเป็นตัวแทนของ ข้อมูลที่มีอยู่ ซึ่งเรียกว่าแผนภาพการกระจาย เนื่องจากลักษณะการกระจายของข้อมูลไม่สามารถจัดเข้าในรูป ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันใดๆได้หรืออาจจะมีลักษณะของความสัมพันธ์ที่ใกล้เคียงกับรูปของความสัมพันธ์สองรูป เช่น อาจจะอนุโลมให้อยู่ในรูปความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง หรือเป็นเอกซ์โพเนนเชียลก็ได้ในกรณีนี้ ถ้าผู้สร้างความสัมพันธ์มีความชานาญเกี่ยวกับข้อมูลชนิดนั้นๆ อาจจะบอกได้ว่าควรสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ในรูปแบบใด จึงจะเหมาะสมกับสิ่งที่ควรจะเป็นมากที่สุด สรุปได้ว่าการกาหนดรูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างตัว
  • 9. 9 แปรเชิงปริมาณทั้งสองโดยพิจารณาจากแผนภาพการกระจาย (รูปที่ 1) จะขึ้นอยู่กับความรู้ความชานาญเกี่ยวกับเรื่อง ที่นามาสร้างความสัมพันธ์ของผู้สร้างความสัมพันธ์นั้นและความละเอียดถูกต้องของค่าพยากรณ์ที่ต้องการเป็นสาคัญ X 6543210 Y 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 .5 X 6543210 Y 9 8 7 6 5 4 3 2 รูปที่ 1 3. การประมาณค่าของค่าคงตัวโดยใช้ระเบียบวิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด ในการหาค่าคงตัวที่ปรากฏอยู่ในสมการทั่วไปนั้นหาได้โดยอาศัยหลักที่ว่า ถ้าจะให้สมการของความสัมพันธ์ ที่เกิดขึ้นจริงได้ดีแล้ว ผลรวมของความแตกต่างระหว่างค่าที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่สร้างขึ้นกับค่าที่เกิดขึ้น จริงๆทุกค่าควรจะน้อยที่สุดเพื่อไม่ให้ผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้นเป็นศูนย์ จึงต้องยกกาลังสองของความ แตกต่างที่เกิดขึ้นเสียก่อน แล้วจึงหาผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้น ถ้าผลรวมนี้น้อยที่สุดถือว่าความสัมพันธ์เชิง ฟังก์ชันนั้นเหมาะสมจะใช้การประมาณค่าตัวแปรตามมากที่สุด วิธีดังกล่าวเรียกว่า วิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด กล่าวคือ ถ้าให้ Yi เป็นค่าของตัวแปรหรือค่าจากการสังเกตที่เกิดขึ้นจริงตัวที่ i , i { 1, 2 , 3 , …,n} Yˆ เป็นค่าของตัวแปรตาม Y ที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างตัวแปรตาม Y กับ ตัวแปรอิสระ X ที่ได้จากการแทนค่าตัวแปร X ด้วย Xi ต้องการทาให้มี 2 1 )ˆ(  n i i YY ค่าน้อยที่สุด (เมื่อ n เป็นจานวนตัวอย่างที่ใช้หรือจานวนข้อมูลทั้งหมดที่นามาสร้างความสัมพันธ์) 4. ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งความสัมพันธ์อยู่ใน รูป y = f(t) โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น ซึ่ง t เป็นตัวแปรอิสระ แทนค่าของข้อมูล Y เป็นตัวแปรตาม การกาหนดระยะเวลา (t) ก. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคี่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0 โดยเรียง ตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 3 , - 2 , - 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , … ข. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคู่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่คู่กลางเป็น - 1 และ 1 โดยเรียงตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 5 , - 3 , - 1 , 1 , 3 , 5 , …
  • 10. 10 ลักษณะของความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในรูปอนุกรมเวลามี 2 แบบ 4.1 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น มีสมการเป็น Y = at + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i it 1 + bn ………………(1)  n i ii yt 1 = a  n i it 1 2 + b  n i it 1 ………………(2) 4.2 ถ้าความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล มีสมการเป็น Y = abt หรือ log Y = loga + t log b สมการปกติคือ  n i iy 1 log = nloga + (logb)  n i it 1 ………………(1)  n i it 1 (log y) = (loga)  n i it 1 + (logb ) n i it 1 2 ………………(2) 5. การวิเคราะห์การถดถอย (ประกายรัตน์ สุวรรณ. 2548 : 278-279) กล่าวว่า การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) เป็นวิธีทางสถิติอย่างหนึ่งที่ใช้ตรวจสอบและสร้างรูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร หรือมากกว่า โดยที่ตัวแปรหนึ่งเรียกว่า ตัวแปรตาม(Dependent variable) และ ตัวแปรอื่นๆหรือมากกว่าหนึ่งตัว เรียกว่า ตัวแปรอิสระหรือตัวพยากรณ์ (Independent variable หรือ Predictor) วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์การถดถอย เพื่อที่จะอธิบายตัวแปรตามในรูปฟังก์ชันของตัวแปรอิสระกล่าวคือ วิธีการหาสมการที่สามารถประมาณหรือพยากรณ์ตัวแปรตามจากตัวแปรอิสระ ในการวิเคราะห์การถดถอย จะต้องทราบว่าตัวแปรใดเป็นตัวแปรตามและตัวแปรใดเป็นตัวแปรอิสระ นอกจากนี้จะต้องกาหนดรูปแบบแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระให้เหมาะสมกับ ความสัมพันธ์ที่แท้จริง ในการพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปรนั้นสามารถพิจารณาได้จากแผนภาพการกระจาย (Scatterplots) แผนภาพการกระจายเป็นการพิจารณาอย่างคร่าวๆ ว่าตัวแปรที่สนใจศึกษามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ และมี ความสัมพันธ์กันแบบใด เป็นเส้นตรง หรือเส้นโค้ง ซึ่งวิธีพิจารณา ก็คือนาข้อมูลมาเขียนแผนภาพการกระจาย หรือจุด ของการกระจาย โดยให้แกนตั้งแทนตัวแปรตามและแกนนอนแทนด้วยตัวแปรอิสระ LOGY X 6420-2-4-6 1.2 1.1 1.0 .9 .8 Observed Exponential 6. ตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรม สาเร็จรูป ข้อตกลงในการใช้โปรแกรมสาเร็จรูป 6.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น ถ้า ให้ b0 หรือ b1 = b แทน b ระยะตัดแกน Y และ Constant หรือ b0 = a แทน ความชันของเส้นตรง สมการเส้นตรงแทนสมการถดถอย คือ สมการเส้นตรง Y = aX + b
  • 11. 11 สมการถดถอย yˆ = b1X + b0 สมการปกติ คือ  n i iy 1 = b1  n i ix 1 + b0n ………………(1)  n i ii yx 1 = b1  n i ix 1 2 + b0  n i ix 1 ………………(2) 6.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันอยู่ในรูปพาราโบลา ถ้า ให้ b0 , b1 และb2 เป็นค่าคงตัว สมการพาราโบลาแทนสมการถดถอย คือ สมการพาราโบลา Y = aX2 + bX + c สมการถดถอย yˆ = b2 X2 + b1 X + b0 สมการปกติคือ  n i iy 1 = b2 2 1  n i ix + b1  n i ix 1 + b0 n ………(1)  n i ii yx 1 = b2  n i ix 1 3 + b1 2 1  n i ix + b0  n i ix 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = b2  n i ix 1 4 + b1 3 1  n i ix + b0 2 1  n i ix ………(3) 6.3 ถ้าความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว มีสมการเป็น Y = abt หรือ log Y = loga + t log b สมการปกติคือ  n i iy 1 log = nloga + (logb)  n i it 1 ………………(1)  n i it 1 (log y) = (loga)  n i it 1 + (logb ) n i it 1 2 ………………(2) ขั้นตอนการใช้โปรแกรมสาเร็จรูป 1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป 2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y หรือ (log y)
  • 12. 12 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y 4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate 5. จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate
  • 13. 13 เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent 5.1 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเป็นกราฟเส้นตรงเลือก Linear 6. คลิก OK มี Output ดังนี้ Independent: X Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 Y LIN 1.000 3 . . -2.0000 2.0000 สมการประมาณค่า คือ Yˆ = 2 Xˆ - 2 5.2 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเป็นกราฟพาราโบลา และเลือก Models เป็น Quadratic คลิก OK มี Output ดังนี้ Independent: X Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 Y QUA .960 1 12.00 .200 -1.5000 5.4000 -1.0000 สมการประมาณค่า คือ Yˆ = - 2ˆX + 5.4 Xˆ - 1.5
  • 14. 14 5.3 ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเป็นกราฟเอกซ์โพเนนเชียล ให้ log y เป็น dependent และ x เป็น independent และเลือก Models เป็น Exponential คลิก OK มี Output ดังนี้ Independent: X Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 LOGY EXP .947 3 53.81 .005 1.0083 .1507 สมการประมาณค่า คือ log Y = 0.1507X + 1.0083 ใบความรู้ที่ 2.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นกราฟเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น ก. เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น Y = aX + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 + bn ………………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 2 + b  n i ix 1 ………………(2) ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปุ๋ ย (กิโลกรัมต่อไร่) กับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) ปริมาณปุ๋ ย(กิโลกรัมต่อไร่): X 1 2 3 4 5 ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) : Y 8 9 10 12 15 จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า 1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณปุ๋ ยและผลผลิตและประมาณค่า 2. ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะได้ผลผลิตเป็นเท่าไร 3. ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร
  • 15. 15 ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนดปริมาณปุ๋ ย ความสัมพันธ์ระหว่าง (กิโลกรัมต่อไร่) กับ ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่( บอกค่า x ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จะได้ผลผลิตเป็นเท่าไร (หาค่า y ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ X 6543210 Y 16 14 12 10 8 6 Y X 6543210 16 14 12 10 8 6 Observed Linear ตารางที่ 2.2 ก xi yi xi 2 yi 2 xi yi 1 8 1 64 8 2 9 4 81 18 3 10 9 100 30 4 12 16 144 48 5 15 25 225 75  5 1i ix = 15  5 1i iy = 54  5 1 2 i ix = 55  5 1 2 i iy = 614  5 1i ii yx = 179 1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณปุ๋ ยและผลผลิตและประมาณค่า จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์ชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม (dependent variables) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (independent variables) a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น Y = aX + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 + bn  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 2 + b n i ix 1 แทนค่าในสมการปกติ 54 = 15a + 5b ………………(1) 179 = 55a + 15b ………………(2)
  • 16. 16 (1) 3 ; 162 = 45a + 15b ………………(3) (2) – (3) ; 17 = 10a 1.7 = a แทนค่า a = 1.7 ในสมการที่ (1) 54 = 15(1.7) + 5b 54 = 25.5 + 5b 28.5 = 5b 5.7 = b ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Yˆ = 1.7 Xˆ + 5.7 * 2. ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะได้ผลผลิตเป็นเท่าไร ค่า x = 4.5 Yˆ = 1.7 (4.5) + 5.7 = 13.35 ดังนั้น ถ้าปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะได้ผลผลิตเท่ากับ 13.35 กิโลกรัมต่อไร่ * ชุดกิจกรรมเล่มนี้จะใช้ Xˆ และ Yˆ ในสมการที่ใช้พยากรณ์หรือประมาณค่า (อ้างถึงใน หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ เพิ่มเติมคณิตศาสตร์เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หน้า 124 ) ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป 2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y 4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent และเลือก Linear
  • 17. 17 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: X Dependent Ath Rsq d.f. F Sigf b0 b1 Y LIN .938 3 45.63 .007 5.7000 1.7000 จากตารางการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป จะได้ค่า a = b1 = 1.7000 b = b0 = 5.7000 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน ใบความรู้ที่ 2.3 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรงหรือความสัมพันธ์เชิงเส้น 2.3 เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น X = aY + b สมการปกติคือ  n i ix 1 = a  n i iy 1 + bn ………………(1)  n i ii yx 1 = a  n i iy 1 2 + b  n i iy 1 ………………(2) ตัวอย่างที่ 2.3 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปุ๋ ย (กิโลกรัมต่อไร่) กับ ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) ปริมาณปุ๋ ย(กิโลกรัมต่อไร่): X 1 2 3 4 5 ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) : Y 8 9 10 12 15 จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด ความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณปุ๋ ย(กิโลกรัมต่อไร่) กับ ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ ( บอกค่า y ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร (ถามค่า x ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b
  • 18. 18 ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจาย และกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ Y 1614121086 X 6 5 4 3 2 1 0 X Y 1614121086 6 5 4 3 2 1 0 Observed Linear ตารางที่ 2.3 ก xi yi xi 2 yi 2 xi yi 1 8 1 64 8 2 9 4 81 18 3 10 9 100 30 4 12 16 144 48 5 15 25 225 75  5 1i ix = 15  5 1i iy = 54  5 1 2 i ix = 55  5 1 2 i iy = 614  5 1i ii yx = 179 1. ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเป็นเท่าไร จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น X = aY + b สมการปกติคือ  n i ix 1 = a  n i iy 1 + bn ………………(1)  n i ii yx 1 = a  n i iy 1 2 + b  n i iy 1 ………………(2) แทนค่าในสมการปกติ 15 = 54a + 5b ………………(1) 179 = 614a + 54b ………………(2) (1) 10.8 ; 162 = 583.2a + 54b ………………(3) (2) – (3) ; 17 = 30.8a 0.55 = a แทนค่า a = 0.55 ในสมการที่ (1)
  • 19. 19 15 = 54(0.55) + 5b 15 = 29.7 + 5b - 14.7 = 5b - 2.94 = b ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Xˆ = 0.55Yˆ - 2.94 ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ ค่า y = 100 Xˆ = 0.55(100) - 2.94 = 55 – 2.94 = 52.06 ดังนั้น ถ้าผลผลิตเท่ากับ 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณปุ๋ ยเท่ากับ 52.06 กิโลกรัมต่อไร่ ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป 2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y 4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate เลือกให้ x เป็น dependent และ y เป็น independent และเลือก Linear 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: Y Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 X LIN .938 3 45.63 .007 -2.9610 .5519 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
  • 20. 20 2.4 การประมาณค่าของค่าคงตัวโดยใช้ระเบียบวิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด ในการหาค่าคงตัวที่ปรากฏอยู่ในสมการทั่วไปนั้นหาได้โดยอาศัยหลักที่ว่า ถ้าจะให้สมการของความสัมพันธ์ ที่เกิดขึ้นจริงได้ดีแล้ว ผลรวมของความแตกต่างระหว่างค่าที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่สร้างขึ้นกับค่าที่เกิดขึ้น จริงๆทุกค่าควรจะน้อยที่สุดเพื่อไม่ให้ผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้นเป็นศูนย์ จึงต้องยกกาลังสองของความ แตกต่างที่เกิดขึ้นเสียก่อน แล้วจึงหาผลรวมของความแตกต่างที่เกิดขึ้น ถ้าผลรวมนี้น้อยที่สุดถือว่าความสัมพันธ์เชิง ฟังก์ชันนั้นเหมาะสมจะใช้การประมาณค่าตัวแปรตามมากที่สุด วิธีดังกล่าวเรียกว่า วิธีกาลังสองที่น้อยที่สุด กล่าวคือ ถ้าให้ Yi เป็นค่าของตัวแปรหรือค่าจากการสังเกตที่เกิดขึ้นจริงตัวที่ i , i { 1, 2 , 3 , …,n} Yˆ เป็นค่าของตัวแปรตาม Y ที่ได้จากความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างตัวแปรตาม Y กับ ตัวแปรอิสระ X ที่ได้จากการแทนค่าตัวแปร X ด้วย Xi ต้องการทาให้มี 2 1 )ˆ(  n i i YY ค่าน้อยที่สุด (เมื่อ n เป็นจานวนตัวอย่างที่ใช้หรือจานวนข้อมูลทั้งหมดที่นามาสร้างความสัมพันธ์) จากตัวอย่างในใบความรู้ที่ 2.2 พิจารณาค่าของ Y และ Yˆ ตาราง 2.4 ก X Y Yˆ = 1.7x + 5.7 Y - Yˆ (Y - Yˆ )2 1 8 1.7(1) + 5.7 = 7.4 8 – 7.4 = 0.6 0.36 2 9 1.7(2) + 5.7 = 9.1 9 – 9.1 = - 0.1 0.01 3 10 1.7(3) + 5.7 = 10.8 10 – 10.8 = - 0.8 0.64 4 12 1.7(4) + 5.7 = 12.5 12 – 12.5 = - 0.5 0.25 5 15 1.7(5) + 5.7 = 14.2 15 – 14.2 = 0.8 0.64  5 1i ix = 15  5 1i iy = 54 -   5 1 )ˆ( i i YY = 0 25 1 )ˆ(  i i YY = 1.9 ลักษณะของเส้นตรงดังกล่าวต้องเป็นไปตามเงื่อนไข 3 ประการ ดังนี้ 1.   n i i YY 1 )ˆ( = 0 2. 2n 1i i )YˆY(   มีค่าน้อยที่สุด 3. (x , y ) ต้องเป็นจุดอยู่บนเส้นตรง Y = aX + b ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงที่สร้างขึ้นมาเป็นตัวแทนของ ข้อมูลนั้นคือ y = ax + b จะได้ x = 5 15 = 3 , y = 5 54 = 10.8 , a = 1.7 , b = 5.7 ดังนั้น y = a x + b 10.8 = 1.7(3) + 5.7 = 5.1 + 5.7 10.8 = 10.8 เป็นจริง
  • 21. 21 แบบฝึกทักษะเพิ่มเติม ตารางต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง X กับ Y X 2 3 5 7 9 10 Y 1 3 7 11 15 17 1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล 2. จงประมาณค่า Y เมื่อ X = 5 วิธีทา 1. จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล Y X 121086420 20 10 0 Observed Linear จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นเส้นตรง เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม (dependent variables) และ x เป็นตัวแปรอิสระ (independent variables) a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น Y = aX + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 + bn  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 2 + b n i ix 1 54 = 36a + 6b ……………(1) 428 = 268a + 36b ……………(2) (1) 6 324 = 216a + 36b ……………(3)
  • 22. 22 (2) - (3) 104 = 52a a = 2 แทนค่า a = 2 ในสมการที่ 1 54 = 36(2) + 6b 54 = 72 + 6b -18 = 6b - 3 = b สมการประมาณค่าคือ 2. จงประมาณค่า Y เมื่อ X = 5 Independent: X Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 Y LIN 1.000 4 . . -3.0000 2.0000 3.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นพาราโบลา เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น Y = aX2 + bX + c สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 2 + b  n i ix 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 3 + b  n i ix 1 2 + c  n i ix 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i ix 1 4 + b  n i ix 1 3 + c n i ix 1 2 ………(3) ตัวอย่างที่ 3.1 จากการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกัน ในการรักษาโรค อายุ(เดือน) : X 1 2 3 4 ปริมาณยา(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3 จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า 1) จงหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการรักษาโรค 2) จงทานายปริมาณยาที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการ รักษาโรค และทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน ( บอกค่า x = 5.5 เดือน ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงทานายปริมาณยา (หาค่า y ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย
  • 23. 23 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ X 4.54.03.53.02.52.01.51.0.5 Y 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 Y X 4.54.03.53.02.52.01.51.0.5 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 Observed Quadratic ตารางที่ 3.1 ก xi yi xi 2 xi 3 xi 4 xi yi xi 2 yi 1 4 1 1 1 4 4 2 3 4 8 16 6 12 3 2 9 27 81 8 18 4 3 16 64 256 12 18  5 1i ix = 10  5 1i iy =12  5 1 2 i ix = 30  5 1 3 i ix = 100  5 1 4 i ix = 354  5 1i ii yx =28  5 1 2 i ii yx =82 จงทานายปริมาณยาที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟที่เป็นรูปพาราโบลา เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ x เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงตัวที่ตองการหา มีสมการเป็น Y = aX2 + bX + c สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i ix 1 2 + b  n i ix 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i ix 1 3 + b  n i ix 1 2 + c  n i ix 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i ix 1 4 + b  n i ix 1 3 + c n i ix 1 2 ………(3) แทนค่าในสมการปกติ 12 = 30a + 10b + 4c ………………(1) 28 = 100a + 30b + 10c ………………(2) 82 = 354a + 100b + 30c ………………(3) แก้สมการหาค่าของ a = 0.5 , b = - 2.9 , c = 6.5 ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Yˆ = 0.5 2ˆX – 2.9 Xˆ + 6.5 จงทานายปริมาณยาที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน (x = 5.5 ) Yˆ = 0.5(5.5)2 – 2.9(5.5) + 6.5
  • 24. 24 = 0.5(30.25) – 15.95 + 6.5 = 5.675 ดังนั้น ทารกที่มีอายุ 5.5 เดือน ต้องใช้ปริมาณยา 5.675 มิลลิกรัม ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป 2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y 4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate เลือกให้ y เป็น dependent และ x เป็น independent และเลือก Quadratic 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: X Dependent Ath Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 Y QUA .900 1 4.50 .316 6.5000 -2.9000 .5000 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน 3.2 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในรูปพาราโบลา (ต่อ) เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงที่ มีสมการเป็น X = aY2 + bY + c สมการปกติคือ  n i ix 1 = a  n i iy 1 2 + b  n i iy 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i iy 1 3 + b  n i iy 1 2 + c  n i iy 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i y 1 4 + b n i iy 1 3 + c n i iy 1 2 ………(3)
  • 25. 25 ตัวอย่างที่ 3.2 จากการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกัน ในการรักษาโรค อายุ(เดือน) : X 1 2 3 4 ปริมาณยา(มิลลิกรัม) : Y 4 3 2 3 จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า 1) จงหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการรักษาโรค 2) จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัมใช้สาหรับทารกที่มีอายุกี่เดือน ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสาหรับทารกที่มีอายุ ต่างๆกันในการรักษาโรค 1.2 จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม ( บอกค่า y = 2.5 มิลลิกรัม ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม ใช้สาหรับอายุทารกที่มี อายุกี่เดือน (หาค่า x ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a , b และ c ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ Y 4.54.03.53.02.52.01.5 X 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 .5 X Y 4.54.03.53.02.52.01.5 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 .5 Observed Quadratic ตารางที่ 3.2 ก xi yi yi 2 yi 3 yi 4 xi yi xi yi 2 1 4 16 64 256 4 16 2 3 9 27 81 6 18 3 2 4 8 16 8 12 4 3 9 27 81 12 36  5 1i ix = 10  5 1i iy =12  5 1 2 i ix = 38  5 1 3 i ix = 126  5 1 4 i ix = 434  5 1i ii yx =28  5 1 2 i ii yx =82 1) ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณการใช้ยาชนิดหนึ่งสารับทารกที่มีอายุต่างๆกันในการรักษาโรค จากแผนภาพการกระจาย เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปพาราโบลา
  • 26. 26 เมื่อ x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ a , b และ c เป็นค่าคงที่ มีสมการเป็น X = aY2 + bY + c สมการปกติคือ  n i ix 1 = a  n i iy 1 2 + b  n i iy 1 + cn ………(1)  n i ii yx 1 = a  n i iy 1 3 + b  n i iy 1 2 + c  n i iy 1 ………(2)  n i ii yx 1 2 = a  n i y 1 4 + b n i iy 1 3 + c n i iy 1 2 ………(3) แทนค่าในสมการปกติ 10 = 38a + 12b + 4c ………………(1) 28 = 126a + 38b + 12c ………………(2) 82 = 434a + 126b + 38c ………………(3) แก้สมการหาค่าของ a = - 1 , b = 5 , c = - 3 ดังนั้นสมการประมาณค่าคือ Xˆ = - Yˆ 2 + 5Yˆ - 3 จงทานายปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม (y = 2.5 ) ที่ใช้สาหรับทารกที่มีอายุกี่เดือน Xˆ = - Yˆ 2 + 5Yˆ - 3 = - (2.5)2 + 5(2.5) - 3 = - 6.25 + 12.5 – 3 = 3.25 ดังนั้น ปริมาณยา 2.5 มิลลิกรัม ใช้สาหรับทารกที่มีอายุ 3.25 เดือน ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป 2. กาหนดตัวแปร(Variable View) x และ y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง x และ y 4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate เลือกให้ x เป็น dependent และ y เป็น independent และเลือก Quadratic 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้
  • 27. 27 Independent: Y Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 b2 X QUA .600 1 .75 .632 -3.0000 5.0000 -1.0000 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน 4.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา 4.1 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา (time series) คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ก่อนหลังของช่วงเวลาที่ข้อมูลชุดนั้นเกิดขึ้น ซึ่งปกติแล้วข้อมูลนั้นๆมักจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาเท่าๆกัน เช่น ปริมาณ ข้าวที่ประเทศไทยผลิตได้ในแต่ละปี จานวนเงินที่ร้านค่าแห่งหนึ่งขายได้ในแต่ละเดือน หรืออุณหภูมิเฉลี่ยในแต่ละ วันของจังหวัดกาญจนบุรี แล้วข้อมูลนั้นๆจะปกติความสัมพันธ์อยู่ในรูป Y = f(t) โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น เมื่อ t เป็นตัวแปรอิสระ และ Y เป็นตัวแปรตาม การกาหนดระยะเวลา (t) ก. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคี่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0 โดยเรียง ตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 3 , - 2 , - 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , … การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลกราฟเป็นรูปเส้นตรง เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ t เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น Y = at + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i it 1 + bn ………………(1)  n i ii yt 1 = a  n i it 1 2 + b  n i it 1 ………………(2) ข้อสังเกต  n i it 1 = 0 จาก สมการ(1) จะได้ b = n y n i i1 จาก สมการ(2) จะได้ a =     n i i n i ii t yt 1 2 1
  • 28. 28 ตัวอย่างที่ 4.1 มูลค่าอุตสาหกรรมสิ่งทอการส่งออกที่ประเทศไทยส่งออกไปขายยังต่างประเทศ มีความสัมพันธ์กับเวลาในรูปเส้นตรง ระหว่าง ปี 2550 – 2554 ดังนี้ ปี พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554 มูลค่า (ล้านบาท) 6 8 12 15 19 จงใช้ประบวนการแก้ปัญหาของโพลยาประมาณค่า 1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณมูลค่าการส่งออกในเวลาต่างๆ 2. จงประมาณมูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2562 ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด มูลค่าอุตสาหกรรมสิ่งทอการส่งออกที่ประเทศไทยส่งออกไปขายยังต่างประเทศมี ความสัมพันธ์กับเวลา( บอกค่า t ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงประมาณมูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2558 (หาค่า y ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ T 3210-1-2-3 Y 20 18 16 14 12 10 8 6 4 Y T 3210-1-2-3 20 18 16 14 12 10 8 6 4 Observed Linear ตาราง 4.1 ก ปี พ.ศ. มูลค่า (y ) t t2 ty 2550 6 - 2 4 - 12 2551 8 - 1 1 - 8 2552 12 0 0 0 2553 15 1 1 15 2554 19 2 4 38 รวม y = 60 t = 0  2 t = 10 ty = 33 ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเส้นตรง สมการ Y = at + b
  • 29. 29 สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i it 1 + bn ………………(1)  n i ii yt 1 = a  n i it 1 2 + b  n i it 1 ………………(2) แทนค่า 60 = 0 + 5 b ………………..(1) 33 = 10 a + 0 …………………(2) จาก (1) b = 5 60 = 12 จาก (2) a = 10 33 = 3.3 ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ Y = 3.3 t + 12 2. จงประมาณมูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2562 ( t = 10 ) แทนค่า t = 10 ในสมการประมาณค่า Y = 3.3 (10 ) + 12 = 33 + 12 = 45 ดังนั้น มูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2562 เท่ากับ 45 ล้านบาท ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรมสาเร็จรูป วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimate เลือกให้ y เป็น dependent และ t เป็น independent Models และเลือก Linear 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: T Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 Y LIN .990 3 297.00 .000 12.0000 3.3000 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน
  • 30. 30 4.2 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง การกาหนดระยะเวลา (t) ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคู่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่คู่กลางเป็น - 1 และ 1 โดยเรียงตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 5 , - 3 , - 1 , 1 , 3 , 5 , … การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลกราฟเป็นรูปเส้นตรง เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ t เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา มีสมการเป็น Y = at + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i it 1 + bn ………………(1)  n i ii yt 1 = a  n i it 1 2 + b  n i it 1 ………………(2) ข้อสังเกต  n i it 1 = 0 จาก สมการ(1) จะได้ b = n y n i i1 จาก สมการ(2) จะได้ a =     n i i n i ii t yt 1 2 1 ตัวอย่างที่ 4.2 จานวนสินค้าที่โรงงานแห่งหนึ่งผลิตได้ความสัมพันธ์กับเวลาในรูปเส้นตรง ระหว่าง ปี พ.ศ. 2552 – 2557 ปี พ.ศ. 2552 2553 2554 2555 2556 2557 จานวนสินค้า(ร้อยชิ้น) 170 184 200 210 216 220 จงใช้ประบวนการแก้ปัญหาของโพลยาประมาณค่า 1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณจานวนสินค้าที่โรงงานอุตสาหกรรมแห่งนี้ผลิตได้ในเวลาต่างๆ 2. จงประมาณจานวนสินค้าที่โรงงานอุตสาหกรรมแห่งนี้ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2559 ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนสินค้าที่โรงงานแห่งหนึ่งผลิตได้ความสัมพันธ์กับเวลา ( บอกค่า t ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงประมาณจานวนสินค้าที่โรงงานอุตสาหกรรมแห่งนี้ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2559 (หาค่า y ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ a และ b
  • 31. 31 ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ T 6420-2-4-6 Y 230 220 210 200 190 180 170 160 Y T 6420-2-4-6 230 220 210 200 190 180 170 160 Observed Linear ตาราง 4.2 ก ปี พ.ศ. จานวนสินค้า (Y) t t2 tY 2552 170 - 5 25 - 850 2553 184 - 3 9 - 552 2554 200 - 1 1 - 200 2555 210 1 1 210 2556 216 3 9 648 2557 220 5 25 1100 รวม Y = 1200 t = 0  2 t = 70 tY = 356 จากแผนภาพการกระจายความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลอยู่ในรูปเส้นตรง เมื่อ y เป็นตัวแปรตาม และ t เป็นตัวแปรอิสระ a และ b เป็นค่าคงตัวที่ต้องการหา สมการคือ Y = at + b สมการปกติคือ  n i iy 1 = a  n i it 1 + bn ………………(1)  n i ii yt 1 = a  n i it 1 2 + b  n i it 1 ………………(2) แทนค่า 1200 = 0 + 6 b ………………..(1) 356 = 70 a + 0 …………………(2) จาก (1) b = 6 1200 = 200 จาก (2) a = 70 356 = 5.09 ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ Y = 5.09 t + 200 2. จงประมาณจานวนสินค้าที่ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2559 ( t = 9 ) แทนค่า t = 9 ในสมการทานาย Y = 5.09 (9 ) + 200 = 45.81 + 200 = 245.81 ร้อยชิ้น ดังนั้น จานวนสินค้าที่ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2559 เท่ากับ 24,581 ชิ้น
  • 32. 32 ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: T Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 Y LIN .947 4 71.36 .001 200.000 5.0857 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบตรงกัน 5.1 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งความสัมพันธ์อยู่ในรูป y = f(t) โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น เมื่อ t เป็นตัวแปรอิสระ แทนค่าของข้อมูล Y เป็นตัวแปรตาม การกาหนดระยะเวลา (t) ก. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคี่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0 โดยเรียงตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 3 , - 2 , - 1 , 0 , 1 , 2 , 3 , … ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว มีสมการเป็น Y = abt หรือ log Y = loga + t log b สมการปกติคือ  n i iy 1 log = nloga + (logb)  n i it 1 ………………(1)  n i it 1 (log y) = (loga)  n i it 1 + (logb ) n i it 1 2 ………………(2) ข้อสังเกต  n i it 1 = 0
  • 33. 33 จาก สมการ(1) จะได้ log a = n y n i i1 log จาก สมการ(2) จะได้ log b =     n i i n i ii t yt 1 2 1 )(log ตัวอย่างที่ 5.1 จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของจานวนประชากรโดยประมาณของประเทศไทย จากข้อมูลระหว่าง ปี พ.ศ. 2551 – 2555 ดังนี้ ปี พ.ศ. 2551 2552 2553 2554 2555 จานวนประชากร (ล้านคน) 63.3 63.5 63.8 64 64.4 ที่มา http://www.th.wikipedia.org/. ข้อมูลจาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. จงใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีSTARประมาณค่า 1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ 2. จงประมาณประชากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565 ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนประชากรโดยประมาณของประเทศไทย จากข้อมูลระหว่าง ปี พ.ศ. 2551 – 2555 ( บอกค่า t ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร จงประมาณประชากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565 (หาค่า y ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ log a และ log b ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ T 3210-1-2-3 LOGY 1.800 1.798 1.796 1.794 1.792 1.790 1.788 LOGY T 3210-1-2-3 1.800 1.798 1.796 1.794 1.792 1.790 1.788 1.786 Observed Linear
  • 34. 34 ตารางที่ 5.1 ก ปี พ.ศ. จานวนประชากร (y ) log yi t t^2 t logyi 2551 63.8 1.8014 -2 4 -3.6028 2552 63.5 1.8028 -1 1 -1.8028 2553 63.8 1.8048 0 0 0 2554 64 1.8062 1 1 1.8062 2555 64.4 1.8089 2 4 3.6178 รวม - 9.0241 0 10 0.0184 1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล มีสมการเป็น Y = abt หรือ log Y = loga + t log b สมการปกติคือ  n i iy 1 log = nloga + (logb)  n i it 1 ………………(1)  n i it 1 (log y) = (loga)  n i it 1 + (logb ) n i it 1 2 ………………(2) แทนค่า 9.0241 = 5log a ………………..(1) -1.9816 = 10 log b …………………(2) จาก (1) log a = 5 02149. = 1.8048 จาก (2) log b = 10 01840. = 0.0018 ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ log Y = loga + t log b = 1.8048 + = 0.0018 t 2. จงประมาณจานวนประชากรในปี พ.ศ. 2565 ( t = 12 ) ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ log Y = loga + t log b = 1.8048 + 0.0018 (12) = 1.8048 + 0.0216 = 1.8264 log Y = 1 + 0.8264 ( การประมาณค่าของแอนตี้ลอกฯ log 6.705  0.8264 ) log Y = log 10 + log 6.705 antilog Y = 6.705 10 = 67.05 ดังนั้น จานวนประชากรในปี พ.ศ. 2565 เท่ากับ 67.05 ล้านคน การประมาณค่าของลอก (log M ) log 6.7 = 0.8261 log M = 0.8264 log 6.71 = 0.8267 ใช้อัตราส่วน 76716 76 .. .M   = 8261082670 8261082640 .. ..  
  • 35. 35 010 76 . .M = 00060 00030 . . M - 6.7 = 00060 00030 . . 010.  0.005 M  6.7 + 0.005  6.705 ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป 2. กาหนดตัวแปร(Variable View) t และ log y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง t และ log y 4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimation เลือกให้ log y เป็น dependent และ t เป็น independent และเลือก Exponential ดังรูป 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: T Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 LOGY EXP .986 3 217.19 .001 1.8048 .0010 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบใกล้เคียงกัน เพราะเป็นค่าประมาณของลอกการิทึม 5.2 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา คือ ข้อมูลที่แสดงความเปลี่ยนแปลงตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งความสัมพันธ์อยู่ในรูป y = f(t) โดยที่ t แทนเวลา เช่น วัน เดือน ปี พ.ศ. เป็นต้น ซึ่ง t เป็นตัวแปรอิสระ แทนค่าของข้อมูล Y เป็นตัวแปรตาม การกาหนดระยะเวลา (t) ข. ถ้าจานวนระยะเวลา (t) ที่กาหนดให้เป็นจานวนคู่ *** ให้ระยะเวลาที่อยู่คู่กลางเป็น - 1 และ 1 โดยเรียง ตามลาดับก่อนหลังดังนี้ … , - 5 , - 3 , - 1 , 1 , 3 , 5 , … ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่กราฟเป็นรูปเอกซ์โพเนนเชียล ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว มีสมการเป็น Y = abt หรือ log Y = loga + t log b
  • 36. 36 สมการปกติคือ  n i iy 1 log = nloga + (logb)  n i it 1 ………………(1)  n i it 1 (log y) = (loga)  n i it 1 + (logb ) n i it 1 2 ………………(2) ข้อสังเกต  n i it 1 = 0 จาก สมการ(1) จะได้ log a = n y n i i1 log จาก สมการ(2) จะได้ log b =     n i i n i ii t yt 1 2 1 )(log ตัวอย่างที่ 5.2 จงสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของจานวนประชากรโดยประมาณของจังหวัดอุตรดิตถ์ จากข้อมูลระหว่าง ปี พ.ศ. 2545 – 2554 ดังนี้ ปี พ.ศ. 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 จานวนประชากร (แสนคน) 4.85 4.82 4.7 4.69 4.67 4.65 4.64 4.63 4.62 4.61 ที่มา http://www.th.wikipedia.org/. ข้อมูลจาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ 2. จงประมาณประมาณประชากรของจังหวัดอุตรดิตถ์ในปี พ.ศ. 2560 ขั้นที่ 1 S(Search) ศึกษาโจทย์ปัญหา 1.1 สิ่งที่โจทย์กาหนด จานวนประชากรโดยประมาณของจังหวัดอุตรดิตถ์ จากข้อมูลระหว่าง ปี พ.ศ. 2545 – 2554 ( บอกค่า t ) 1.2 สิ่งที่โจทย์ถามหาอะไร ในปี พ.ศ. 2560 (หาค่า y ) ขั้นที่ 2 T(Translate) แปลงข้อมูลโจทย์ปัญหาไปสู่สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 2.1 เขียนแผนภาพการกระจาย 2.2 สร้างตาราง 2.3 สร้างสมการปกติ 2.4 แก้สมการ หาค่าคงตัว คือ log a และ log b ขั้นที่ 3 A(Answer) หาคาตอบ เขียนแผนภาพการกระจายและกราฟที่เป็นตัวแทนของความสัมพันธ์ T 100-10 LOGY .69 .68 .67 .66 LOGY T 100-10 .69 .68 .67 .66 Observed Exponential
  • 37. 37 ตารางที่ 5.2 ก 1. จงหาสมการเพื่อใช้ประมาณประชากรในเวลาต่างๆ ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล ให้ log a และlog b เป็นค่าคงตัว มีสมการเป็น Y = abt หรือ log Y = loga + t log b สมการปกติคือ  n i iy 1 log = nloga + (logb)  n i it 1 ………………(1)  n i it 1 (log y) = (loga)  n i it 1 + (logb ) n i it 1 2 ………………(2) แทนค่า 6.7092 = 10log a ………………..(1) -0.3752 = 330 log b …………………(2) จาก (1) log a = 10 70296. = 0.6709 จาก (2) log b = 330 3752. = - 0.0011 ดังนั้นสมการที่ใช้ประมาณคือ log Y = loga + t log b = 0.6709 – 0.0011t 2. จงประมาณจานวนประชากรในปี พ.ศ. 2565 ( t = 21 ) แทนค่า t = 21 ในสมการทานาย log Y = 0.6709 – 0.0011t = 0.6709 – 0.0231= 0.6478 log Y = 0.6478 (การประมาณค่าของแอนตี้ลอกฯ log 4.467  0.6478) log Y = log 4.467 Y = 4.4467 ดังนั้น จานวนประชากรของจังหวัดอุตรดิตถ์ในปี พ.ศ. 2565 เท่ากับ 4.467 แสนคน หรือ 444,670 คน การประมาณค่าของลอก (log M ) log 4.44 = 0.6474 log M = 0.6478 log 4.45 = 0.6484
  • 38. 38 ใช้อัตราส่วน 444454 444 .. .M   = 6478064840 6474064780 .. ..   010 444 . .M = 00060 00040 . . 444.M = 00060 00040 . . 0.01 = 0.0067 M = 4.44 + 0.0067  4.4467 M  4.4467 ขั้นที่ 4 R(Review) ทบทวนตรวจสอบผลที่ได้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 1. เข้าโปรแกรมสาเร็จรูป 2. กาหนดตัวแปร(Variable View) t และ log y 3. กรอกข้อมูล(Data View) ในช่อง t และ log y 4. วิเคราะห์ข้อมูล Analyze เลือก Regresion และ Curve Estimate จะปรากฏหน้าต่าง Curve Estimation เลือกให้ log y เป็น dependent และ t เป็น independent และเลือก Exponential 5. คลิก OK จะได้ Output ดังนี้ Independent: T Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 LOGY EXP .823 8 37.25 .000 .6709 -.0017 ผลการตรวจคาตอบ ได้คาตอบใกล้เคียงกัน เพราะเป็นค่าประมาณของลอกการิทึม
  • 39. 39 ใบกิจกรรมที่ 2.1 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล ผลการเรียนรู้ สร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลดังนี้ x 1 2 3 4 5 y 1 3 5 7 9 ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลมีลักษณะเป็นแบบใด ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล 2. ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลเป็นเส้นตรง สมการประมาณค่าคือข้อใด ก. Y = aX + b ข. X = aY + b ค. Y = aX2 + bX + c ง. X = aY2 + bY + c 3. ถ้าให้ Y เป็นตัวแปรอิสระและ X เป็นตัวแปรตาม ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลเป็นพาราโบลา สมการประมาณค่าคือข้อใด ก. Y = aX + b ข. X = aY + b ค. Y = aX2 + bX + c ง. X = aY2 + bY + c ผลการวิเคราะห์( Output) ตอบคาถามข้อ 4 - 5 ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม การวิเคราะห์การถดถอยด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป ได้ผลการวิเคราะห์( Output) ดังตาราง Independent: X Dependent Mth Rsq d.f F Sigf b0 b1 Y LIN .996 3 729.00 .000 -.5000 2.7000 4. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การประมาณค่าโดยใช้ ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในข้อใด ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล 5. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล จงหาสมการประมาณค่า ก. Y = 5X – 2.7 ข. Y = - 5X + 2.7 ค. Y = 2.7X – 5 ง. Y = 2.7X + 5 6. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม ใช้การประมาณค่าโดยใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในข้อใด ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล 7. จงหาสมการประมาณค่า ก. Y = - 2X2 + 7.3X – 1.5 ข. Y = - 2X2 + 1.5X - 7.3 ค. Y = - 1.5 X2 + 7.3X + 2 ง. Y = - 1.5 X2 + 7.3X - 2 กาหนดข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 8 – 10 ข้อมูลต่อไปนี้แสดงเงินเดือนของชายคนหนึ่ง ตั้งแต่พ.ศ. 2548 – 2552 เป็นดังนี้ พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552 เงินเดือน(พันบาท) 18 19.8 20.2 21.4 22.5 8. การกาหนดอนุกรมเวลา (X) แทนข้อมูลข้อใดถูก ก. 1 , 2 , 3 , 4 , 5 ข. – 2 , - 1 , 0 , 1 , 2 ค. – 3 , - 1 , 0 , 1 , 3 ง. – 4 , - 2 , 0 , 2 , 4 ผลการวิเคราะห์( Output) ตอบคาถาม ข้อ 9 - 10 การวิเคราะห์การถดถอยด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป ได้ผลการวิเคราะห์( Output) ดังตาราง Independent: X Dependent Mth Rsq d.f. F Sigf b0 b1 LOGY EXP .961 3 74.66 .003 1.3076 .0174 9. จากตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การประมาณค่าโดยใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันในข้อใด ก. เส้นตรง ข. พาราโบลา ค. ไฮเปอร์โบลา ง. เอกซ์โพเนนเชียล 10. ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระและ Y เป็นตัวแปรตาม สมการประมาณค่าคือข้อใด ก. log Y = 0.0174X + 1.3076 ข. log Y = 1.3076X + 0.0174 ค. log Y = 0.0751X + 0.3062 ง. log Y = 0.3062X + 0.0751