SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
เกณฑ์การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครังที่ 62 ปีการศึกษา 2555
                                           ้
                กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                  สรุปกิจกรรมการแข่งขันกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

                                                                                  (ข้อมูล ณ วันที่ 17 ก.ค. 2555)
                                                  เขตพื้นที่ /ระดับชั้น
                                                 สพป.                   สพม.             หมายเหตุ
             ชื่อกิจกรรม                                                     ประเภท
                                           ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.1-3 ม.4-6
1. การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์                                     เดี่ยว ห้องเรียน
2. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์                                  ทีม 3 คน ลานโล่ง/ห้องเรียน
3. การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงาน                                   ทีม 2 คน ห้องคอมพิวเตอร์
คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP
4. การแข่งขันคิดเลขเร็ว                                                                 เดี่ยว      ห้องเรียน
                  รวม                       2         4          4        4       4
                  รวม                                10                       8
           รวม 4 กิจกรรม                                                    18 รายการ




              ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕       กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า      1
การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์

1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
         การแข่งขันแบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้
         1.1 ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านั้น
         1.2 ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น
         1.3 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 เท่านั้น
         1.4 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น
2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
         2.1 ประเภทเดี่ยว
         2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขันระดับละ 1 คน
3. วิธีดาเนินการและหลักเกณฑ์การแข่งขัน
         3.1 ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน พร้อมชื่อครูผู้ฝึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
         3.2 กิจกรรมการแข่งขัน ผู้แข่งขันต้องทาแบบทดสอบวัดสมรรถภาพ 4 สมรรถภาพ คือ
                  - ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
                  - ทักษะการคิดเลขเร็ว
                  - ทักษะการคิดคานวณ
                  - ทักษะการแก้โจทย์ปัญหา
         3.3 แบบทดสอบในแต่ละระดับชั้นใช้เนื้อหาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551, ของ สสวท, และแนวการประเมินนักเรียนระดับนานา (PISA) นักเรียนที่เข้าแข่งขันทุกระดับชั้นทา
แบบทดสอบทั้งหมด 4 ฉบับ รายละเอียดดังนี้
              ฉบับที่ 1 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ แบบ 4 ตัวเลือก วัดความรู้
        ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ จานวน 30 ข้อ เวลา 30 นาที
              ฉบับที่ 2 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ วัดทักษะคิดเลขเร็ว จานวน 20 ข้อ เวลา 10 นาที
              ฉบับที่ 3 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ วัดทักษะการคิดคานวณ จานวน 20 ข้อ เวลา 40 นาที
              ฉบับที่ 4 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ วัดทักษะการแก้โจทย์ปัญหา จานวน 15 ข้อ เวลา
         45 นาที
4. เกณฑ์การให้คะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ดังนี้
              ฉบับที่ 1 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ แบบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
         รวม 30 คะแนน
              ฉบับที่ 2 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 20 คะแนน
              ฉบับที่ 3 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 20 คะแนน
              ฉบับที่ 4 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ จานวน 15 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 30 คะแนน
              หมายเหตุ แบบทดสอบฉบับที่ 3 และฉบับที่ 4 ให้ผู้ออกข้อสอบระบุหน่วยไว้ด้วย เช่น บาท
         เซนติเมตร วา ฯลฯ



               ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   2
5. เกณฑ์การตัดสิน
            ถ้าคะแนนรวมเท่ากัน ให้พิจารณาตัดสินจากคะแนนแบบทดสอบฉบับที่ 4 ฉบับที่ 3 ฉบับที่ 2
และฉบับที่ 1 ตามลาดับ แล้วนาคะแนนรวมมาคิดเทียบเกณฑ์การตัดสิน ดังนี้
                 ร้อยละ 80 - 100               ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
                 ร้อยละ 70 – 79                ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน
                 ร้อยละ 60 – 69                ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง
                 ต่ากว่าร้อยละ 60              ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น
                 ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด
6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ 3 – 5 คน
        คุณสมบัติของคณะกรรมการ
                 - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                 - เป็นครูผู้สอนที่ทาการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                 - ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์
        ข้อควรคานึง
                 - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
                 - กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่
        ทาการสอน
                 - กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือ
        สถาบันการศึกษา หน่วยงานอื่นอย่างหลากหลาย
                 - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะใน
        ลาดับที่ 1 – 3
7. สถานที่ทาการแข่งขัน
         ควรใช้ห้องเรียนที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน
8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
                 การแข่งขันแต่ละระดับ ผู้เข้าแข่งขันที่ได้ลาดับที่ 1 – 3 จากระดับภาคเป็นตัวแทนเข้าแข่งขัน
ในระดับชาติ
ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์
หมายเหตุ
        1. นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการคัดเลือก
จากระดับภาคและระดับเขตพื้นที่
        2. ไม่อนุญาตให้นาเครื่องคิดเลขหรืออุปกรณ์ช่วยอื่นๆ เข้าไปในห้องแข่งขัน
        3. กรรมการคุมสอบแจกกระดาษทดให้ในห้องสอบ และห้ามนาออกจากห้องสอบ




                ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   3
การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
         การแข่งขันแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
         1.1 ระดับประถมศึกษา
                  - ผู้เข้าแข่งขันเป็นนักเรียนชั้น ป.4–6
         1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
                  - ผู้เข้าแข่งขันเป็นนักเรียนชั้น ม.1–3
         1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
                  - ผู้เข้าแข่งขันเป็นนักเรียนชั้น ม.4–6
2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
         2.1 แข่งขันประเภททีม
         2.2 เข้าแข่งขัน ระดับละ 1 ทีม และเลือกเพียง 1 ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์เท่านั้น
3. วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
         3.1 ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน ทีมละ 3 คน พร้อมชื่อครูที่ปรึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ทีมละ
2 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
         3.2 รายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
              โครงงานคณิตศาสตร์ที่เข้าร่วมแข่งขันในแต่ละระดับ มีการพิจารณาตัดสิน 2 ประเภท ดังนี้
                   ประเภทที่ 1 โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์
                       ประเภทที่ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ที่บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ได้แก่
                                      1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง
                                      2. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจเก็บรวบรวมข้อมูล
                                      3. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์
         3.3 ในแต่ละระดับโรงเรียนสามารถส่งโครงงานคณิตศาสตร์เข้าแข่งขันประเภทใดก็ได้
เพียงประเภทเดียว
         3.4 การตัดสินในแต่ละระดับจะแยกการตัดสินออกเป็นสองประเภท คือ
             3.4.1 ประเภทที่ 1 โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์
             3.4.2 ประเภทที่ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ที่บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้
         3.5 ส่งรายงานโครงงานคณิตศาสตร์เป็นรูปเล่มล่วงหน้าก่อนการแข่งขัน 2 สัปดาห์
โครงงานละ 5 ชุด




                ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   4
3.6 นาแผงโครงงานคณิตศาสตร์มาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน
         60 ซม.                                                            60 ซม.


           ก                                  ข                               ก             60 ซม.




                                           120 ซม.


        3.7 อุปกรณ์อื่นๆ ที่นามาสาธิตอาจวางบนโต๊ะ ถ้ายื่นออกมาจากโต๊ะต้องไม่เกิน 60 ซม.
        3.8 นาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ต่อคณะกรรมการ ใช้เวลาไม่เกิน 10 นาที และตอบข้อซักถาม
ใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที
        3.9 สื่อทีใช้ในการนาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ ผู้ส่งโครงงานเข้าแข่งขันจัดเตรียมมาเอง
                  ่
        3.10 พื้นที่จัดวางแผงโครงงานคณิตศาสตร์ คณะกรรมการจัดให้เท่ากันไม่เกิน 1.50 ม. × 1.00 ม.
4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน
        4.1 การกาหนดหัวข้อโครงงานคณิตศาสตร์สอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา 5 คะแนน
        4.2 ความสาคัญของโครงงานคณิตศาสตร์                                          10      คะแนน
        4.3 จุดมุ่งหมาย และสมมติฐาน (ถ้ามี)                                        10      คะแนน
        4.4 เนื้อหา ความสอดคล้องเหมาะสมถูกต้องตามหลักการของคณิตศาสตร์ 15                   คะแนน
        4.5 วิธีดาเนินงาน/ วิธีคิด (กรณีสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบาย) และผลที่ได้รับ 10          คะแนน
        4.6 ขนาดแผงโครงงานและการแสดงผลงานตามเกณฑ์มาตรฐาน                             5 คะแนน
        4.7 การนาเสนอปากเปล่า                                                      10      คะแนน
        4.8 การตอบข้อซักถาม (เน้นการซักถามในประเด็นเกี่ยวกับคณิตศาสตร์)            10      คะแนน
        4.9 การเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร์ถูกต้องตามรูปแบบ                        10      คะแนน
        4.10 การนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า                                       5 คะแนน
        4.11 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์                                              10      คะแนน
5. เกณฑ์การตัดสิน
                 ร้อยละ 80 - 100           ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
                 ร้อยละ 70 – 79            ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน
                 ร้อยละ 60 – 69            ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง
                 ต่ากว่าร้อยละ 60                   ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น
                 ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นทีสิ้นสุด ่
6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับละ 3 - 5 คน ของแต่ละประเภทโครงงาน
         คุณสมบัติของคณะกรรมการ
                 - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                  ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   5
- เป็นครูที่ทาการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทมีความสามารถด้านโครงงาน
                                                                        ี่
คณิตศาสตร์
                   - เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์
            ข้อควรคานึง
                   - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
                   - กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทาการสอน
                   - กรรมการควรมีที่มาจาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่นอย่างหลากหลาย
                   - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลาดับที่ 1-3
7. สถานที่ทาการแข่งขัน
            ควรใช้ห้องเรียนหรือสถานที่ ที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน
8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
           8.1 ทีมที่ได้คะแนนสูงสุด ลาดับที่ 1 – 3 จากการแข่งขันระดับภาคจะได้เป็นตัวแทนเข้าแข่งขันใน
ระดับชาติ แยกตามระดับและประเภทของโครงงานที่แข่งขัน
           8.2 ในกรณีที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า 3 ทีม ให้พิจารณาลาดับที่ตามลาดับข้อของ
เกณฑ์การให้คะแนน เช่น ทีมที่ได้คะแนนข้อที่ 4.1 เท่ากัน ให้ดูคะแนนข้อที่ 4.2 ทีมใดได้คะแนน
ข้อที่ 4.2 มากกว่าถือเป็นทีมที่ชนะ แต่ถ้าข้อที่ 4.2 เท่ากัน ให้ดูคะแนนในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อ
ให้ใช้วิธีจับฉลาก
ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์และโครงงาน
คณิตศาสตร์

9. รูปแบบการเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร์
                                                                                                     (ปกนอก)
                                                              โครงงานคณิตศาสตร์
         เรื่อง............................................................................................................................. ..........
                                                                             โดย
        1.........................................................................................................................................
        2............................................................................................................................ ............
        3............................................................................................................................ .............
        โรงเรียน........................................................... สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ...................
                            รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์
                  ประเภท............................................................................. ระดับ........................
                         เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62 ประจาปีการศึกษา 2555




                      ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า              6
(ปกใน)
                                                                 โครงงานคณิตศาสตร์
             เรื่อง........................................................................................................................
                                                                     โดย
             1................................................................................................................................. .........
             2..........................................................................................................................................
             3............................................................................................................................ ..............
ครูที่ปรึกษา 1.........................................................................................................................................
                  2.........................................................................................................................................
            โรงเรียน........................................................... สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ..................................
                                รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์
                      ประเภท..............................................................................ระดับ………................
                                           เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62 ประจาปีการศึกษา 2555




รายละเอียดในเล่มประกอบด้วย
               บทคัดย่อ
               กิตติกรรมประกาศ
               สารบัญตาราง
               สารบัญรูปภาพ
                         บทที่ 1 บทนา
                         บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
                         บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ                                                                ความยาวไม่เกิน 20 หน้า
                         บทที่ 4 ผลการดาเนินการ
                         บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
                         บรรณานุกรม
                         ภาคผนวก      ไม่เกิน 10 หน้า




                         ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕                               กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า                    7
หมายเหตุ
         1. ขนาดของกระดาษเขียนรายงานให้ใช้กระดาษพิมพ์ ขนาด A4 พิมพ์หน้าเดียว เฉพาะบทที่ 1-5
ความยาวไม่เกิน 20 หน้า อาจมีภาคผนวกได้อีกไม่เกิน 10 หน้า รายงานฉบับใดที่มีความยาวเกินกว่าที่กาหนด
จะถูกตัดคะแนน
                    2. ทารายงานส่ง จานวน 5 ชุด (ส่งให้คณะกรรมการก่อนการแข่งขัน 2 สัปดาห์)
         3. นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการคัดเลือก
จากระดับภาค และ ระดับเขตพื้นที่
                                                    แบบประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
ระดับ               ประถมศึกษา                              มัธยมศึกษาตอนต้น                                   มัธยมศึกษาตอนปลาย
สังกัด              สพป. / ศส. ............................................                            สพม. ....................................................
ชื่อโครงงาน ..................................................................................................................................................
 ประเภท ........................................................................................................................................................
 โรงเรียน .......................................................................... จังหวัด ..............................................................
ข้อที่                                  รายการ                         คะแนนเต็ม                                                               คะแนนที่ได้
  1          การกาหนดหัวข้อโครงงานสอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา                 5
  2          ความสาคัญของโครงงาน                                           10
  3          จุดมุ่งหมาย และ สมมติฐาน(ถ้ามี)                               10
  4          เนื้อหา ความสอดคล้องเหมาะสมถูกต้องตามหลักการของ               15
             คณิตศาสตร์
   5         วิธีดาเนินงาน/ วิธีคิด (กรณีสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบาย) และผล     10
             ที่ได้รับ
   6         ขนาดแผงโครงงานและการแสดงผลงานตามเกณฑ์มาตรฐาน                   5
   7         การนาเสนอปากเปล่า                                             10
   8         การตอบข้อซักถาม (เน้นการซักถามในประเด็นเกี่ยวกับ              10
             คณิตศาสตร์)
  9          การเขียนรายงานโครงงานถูกต้องตามรูปแบบ                         10
  10         การนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า                              5
  11         ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์                                      10
                                       คะแนนรวม                           100

ข้อคิดเห็น
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

                                                                                                 ลงชื่อ ................................................ กรรมการ
                                                                                                            (........................................)


                           ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕                                     กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า                         8
การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP
1. ระดับและคุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
         การแข่งขันแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
         1.1 ระดับประถมศึกษา
                 ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น
         1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
                 ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 เท่านั้น
         1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
                 ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 เท่านั้น
2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
         2.1 ประเภททีม
         2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขัน ทีมละ 2 คน
3. วิธีดาเนินการแข่งขัน และรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
         3.1 ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน ระดับละ 1 ทีม พร้อมชื่อครูผู้ฝึกสอน 2 คน ตามแบบฟอร์ม
ที่กาหนด
         3.2 กาหนดโจทย์การแข่งขัน จานวน 5 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 100 คะแนน
         3.3 เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน 2 ชั่วโมง 30 นาที
4. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม 100 คะแนน กาหนดรายละเอียด ดังนี้
         4.1โจทย์การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GSP จานวน 4 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน
รวม 80 คะแนน ซึ่งแต่ละข้อใช้เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
             4.1.1 ความสมบูรณ์และถูกต้องของรูปหรือแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ 10 คะแนน
             4.1.2 ความคิดและความสมเหตุสมผลของคาตอบและกระบวนการแก้ปัญหา                       5 คะแนน
             4.1.3 การพูดนาเสนอถูกต้องชัดเจน                                                  5 คะแนน
         4.2 โจทย์การสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP จานวน 1 ข้อ 20 คะแนน
              4.2.1 ความเป็นพลวัต ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความสวยงาม และความเหมาะสม 10 คะแนน
              4.2.2 ผลงานสื่อความหมายได้สอดคล้องและเชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่อง                   5 คะแนน
              4.2.3 การพูดนาเสนอถูกต้องชัดเจน                                                   5 คะแนน
5. เกณฑ์การตัดสิน
                 ร้อยละ 80 - 100              ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
                 ร้อยละ 70 – 79               ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน
                 ร้อยละ 60 – 69               ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง
                 ต่ากว่าร้อยละ 60                      ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น
                 ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด




                 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   9
6. คณะกรรมการ การแข่งขัน ระดับละ 3 – 5 คน
          คุณสมบัติของคณะกรรมการ
                 - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                 - เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทมีความเชี่ยวชาญโปรแกรม GSP
                                                                 ี่
                 - เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์
          ข้อควรคานึง
                 - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
                 - กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับที่ทาการสอน
                 - กรรมการควรมีที่มาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานอื่นอย่างหลากหลาย
                 - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลาดับที่ 1- 3
7. สถานที่แข่งขัน
                 ห้องคอมพิวเตอร์และโปรแกรม GSP ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน
8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
                 8.1 ทีมที่ได้คะแนนสูงสุด ลาดับที่ 1 – 3 จากการแข่งขันระดับภาคจะได้เป็นตัวแทน
เข้าแข่งขันในระดับชาติ
                 8.2 ในกรณีที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า 3 ทีม ให้พิจารณาลาดับที่ตาม
ลาดับข้อของการให้คะแนน เช่น มีทีมที่ได้คะแนนข้อที่ 1 เท่ากันให้ดูคะแนนข้อที่ 2 ทีมใดได้คะแนนข้อที่ 2
มากกว่าถือเป็นทีมทีชนะแต่ถ้าข้อที่ 2 เท่ากัน ให้ดูคะแนนในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ใช้วิธี
                    ่
จับฉลาก
ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ
       ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์และโปรแกรม GSP

หมายเหตุ นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการ
            คัดเลือกจากระดับภาคและระดับเขตพื้นที่




                ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   10
การแข่งขันคิดเลขเร็ว
1. ระดับและคุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
         การแข่งขันแบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้
         1.1 ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 3
                  ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านั้น
            1.2 ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
                  ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น
         1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
                  ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านั้น
         1.4 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
                  ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น
2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน
         2.1 ประเภทเดี่ยว
         2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขันระดับละ 1 คน
3. วิธีดาเนินการและหลักเกณฑ์การแข่งขัน
         3.1 วิธีดาเนินการแข่งขัน
                ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน พร้อมชื่อครูผู้ฝึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
           3.2 หลักเกณฑ์การแข่งขัน
              3.2.1 ระดับประถมศึกษา (ป.1 – 3 และ ป.4 – 6) ใช้การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ
คูณ หาร ยกกาลัง ถอดรากลาดับที่ n (ลาดับที่ของรากเป็นจานวนเต็มบวก n จานวนแรก และในการ
ถอดราก ถ้าไม่ใช่รากอันดับที่ 2 ต้องใส่อันดับทีของรากจากตัวเลขที่สุ่มมา) เพื่อหาผลลัพธ์
                                                  ่
             3.2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1 –3 และ ม.4 – 6) ใช้การดาเนินการทาง
คณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง ถอดราก (ในการถอดราก ถ้าไม่ใช่รากอันดับที่ 2 ต้องใส่อันดับที่
ของรากจากตัวเลขที่สุ่มมา) สามารถใช้ แฟกทอเรียล และซิกมา ได้ (หากมีการใช้ ซิกมาต้องเขียนให้ถูกต้อง
ตามหลักคณิตศาสตร์ ทั้งนี้ ตัวเลขที่ปรากฏอยู่กับ  ต้องเป็นตัวเลขที่โจทย์กาหนดให้) เพื่อหาผลลัพธ์
             3.2.3 ในการคิดคานวณต้องใช้ตัวเลขให้ครบทุกตัว และใช้ได้ตวละ 1 ครั้งเท่านั้น
                                                                            ั
             3.2.4 การเขีย นตอบให้แสดงความสัมพันธ์ของวิธีการและคาตอบในรูปของสมการ (ระดับ
ประถมศึกษา อาจจะแสดงวิธีคิดทีละขั้นตอนก็ได้)
         3.3 การจัดการแข่งขัน แข่งขัน 2 รอบ ดังนี้
             3.3.1 ระดับประถมศึกษา (ป.1 –3 และ ป.4 – 6)
รอบที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลัพธ์ 2 หลัก
รอบที่ 2 จานวน 20 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลัก
             3.3.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1–3 และ ม. 4–6)
รอบที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 2 หลัก
รอบที่ 2 จานวน 20 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลัก




                ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   11
3.4 วิธีการแข่งขัน
                  3.4.1 กรรมการเตรียมกระดาษคาตอบ ขนาด 1 ของกระดาษ                                              A4       ดังตัวอย่าง
                                                                                       4
ชื่อ-สกุล..................................................โรงเรียน................................................เลขที่ ............... ข้อ ........
                                    วิธีการและคาตอบ                                                                 พื้นที่สาหรับทดเลข




              3.4.2 กรรมการแจกกระดาษคาตอบตามจานวนข้อ
               3.4.3 สุ่มตัวเลขจากโปรแกรม GSP เป็นโจทย์และผลลัพธ์ ซึ่งตัวเลขที่สุ่มได้ต้องไม่ซ้า
เกินกว่า 2 ตัว หรือถ้าสุ่มได้เลข 0 ต้องมีเพียงตัวเดียวเท่านั้น
              3.4.4 เมื่อหมดเวลาแต่ละข้อให้กรรมการเก็บกระดาษคาตอบ
              3.4.5 เมื่อหมดรอบแรก ให้พัก 10 นาที
4. เกณฑ์การให้คะแนน
         4.1 ผู้ที่ได้คาตอบเท่ากับผลลัพธ์ที่กาหนด และวิธีการถูกต้อง ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน
         4.2 ถ้าไม่มีผู้ใดได้คาตอบเท่ากับผลลัพธ์ที่กาหนด ผู้ที่ได้คาตอบใกล้เคียงกับผลลัพธ์มากที่สุด และ
วิธีการถูกต้อง เป็นผู้ได้คะแนน (ผลลัพธ์ที่ได้ต้องเป็นจานวนเต็มเท่านั้น)
5. เกณฑ์การตัดสิน
             ในกรณีที่มีผู้ชนะลาดับที่ 1 – 3 มากกว่า 3 คน ให้กาหนดโจทย์แข่งขันใหม่เฉพาะผู้ที่ได้คะแนน
เท่ากัน โดยแข่งขันทีละข้อ (ลักษณะโจทย์และผลลัพธ์เหมือนกับการแข่งขันรอบที่สอง) จนกว่าจะได้ผู้ชนะ
ตามลาดับที่ต้องการ
         คณะกรรมการ รวมคะแนนรอบที่ 1 และรอบที่ 2 แล้วนาคะแนนรวมคิดเทียบเกณฑ์การตัดสิน
ดังนี้
                    ร้อยละ 80 - 100           ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
                    ร้อยละ 70 – 79            ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน
                    ร้อยละ 60 – 69            ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง
                    ต่ากว่าร้อยละ 60                   ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น
                    ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด
6. คณะกรรมการการแข่งขัน
         6.1 ระดับประถมศึกษา (ป.1 – 3 และ ป.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขัน จานวน 12 – 15 คน
         6.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1 – 3 และ ม.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขัน
จานวน 12 – 15 คน
         คุณสมบัติของคณะกรรมการ
                    - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                    - เป็นครูผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์หรือโปรแกรม GSP
                    - ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์
                         ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕                          กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า                   12
ข้อควรคานึง
                - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
                - กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานอื่นอย่างหลากหลาย
                - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลาดับที่ 1 – 3
7. สถานที่ทาการแข่งขัน
                ห้องที่มีคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรม GSP ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้
8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
                การแข่งขันแต่ละระดับ ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด ลาดับที่ 1 – 3 จากการแข่งขันระดับภาคจะได้
เป็นตัวแทนเข้าแข่งขันในระดับชาติ
ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์
หมายเหตุ
         4. ไม่อนุญาตให้นาเครื่องคิดเลขหรืออุปกรณ์ช่วยอื่นๆ เข้าไปในห้องแข่งขัน
         5. นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขัน ระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการ คัดเลือก
จากระดับภาค และระดับเขตพื้นที่




                 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   13
รายชื่อคณะทางานประชุมปฏิบัติการ
             คณะทางานจัดทาแนวการดาเนินกิจกรรมการเข้าค่ายคณิตศาสตร์นักเรียนมัธยมศึกษา
ระหว่างวันที่ ๑๙ – ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเดอะริช ถนนพระราม ๕ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
                                         --------------------------------------------
ที่ปรึกษา
         ดร.เบญจลักษณ์ น้าฟ้า                            รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
         นางสาววีณา อัครธรรม                             ผู้อานวยการสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
คณะทางาน
       1. ดร.ไพจิตร สดวกการ                             ศน.เชี่ยวชาญ (ข้าราชการบานาญ)
       2. ดร.บุญทอง บุญทวี                              ศน.สพม.เขต ๒ ช่วยราชการ สวก.สพฐ.
       3. นายอภิชาติ เพชรพลอย                           ศน.สพม.เขต ๕ ช่วยราชการ สวก.สพฐ.
       4. นางกัญญา วัฒนถาวร                             ศน.สพม.เขต ๑๐ ช่วยราชการ สวก.สพฐ.
       5. นางอนงลักษณ์ เย็นภากนกโชติ                    ครู ร.ร.บ้านหลุมข้าว สพป.ลพบุรี เขต ๑
       6. นายประจักษ์ ศรสาลี                            หศน. สพป.กาแพงเพชร.เขต ๑
       7. นายเอนก รัศมี                                 ศน. สพป.ลพบุรี.เขต ๑
       8. นายนิพนธ์ สารถ้อย                             ศน. สพป.น่าน.เขต ๑
       9. นางรัญญาภัทร์ อัยรา                           ศน. สพป.อุทัยธานี.เขต ๑
       10. นายภูริวรรษ คาอ้ายกาวิน                      รอง ผอ.ร.ร.พิบูลประชาสรรค์ กทม.
       11. นางจินดา อยู่เป็นสุข                         ครู ร.ร.ราชวินิตมัธยม สพม. เขต ๑
       12. นางวิไล กุนทีกาญจน์                          ครู ร.ร.มักกะสัน สพม. เขต ๑
       13. น.ส.ลัดดา ด่านวิริยะกุล                       ครู ร.ร.ราชวินิตบางแคปานขา สพม. เขต ๑
       14. นางมณฑกานต์ สุธีรธรรม                  ครู ร.ร.สุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์ สพม.เขต ๒
       15. นายเสน่ห์ ประทุม                       ครู ร.ร. มวกเหล็กวิทยา สพม. เขต ๔
       16. นายอานาจ สุสุขเสียง                   ครู ร.ร.พิบูลวิทยาลัย สพม. เขต ๕
       17. น.ส.จีราวัฒน์ มีลักษณะ                 ครู ร.ร.โพธิ์ทอง “จินดามณี” สพม. เขต ๕
       18. นางยุพา ลาเจียก                        ครู ร.ร.องครักษ์ สพม.เขต ๗
       19. นายวิทยา ทองสมจิตต์                    ครู ร.ร.กรรณสูตศึกษาลัย สพม. เขต ๙
       20. นางยุวดี ทองยี่สุ่น                    ครู ร.ร.ภัทรญาณวิทยา สพม. เขต ๙
       21. นางสาวพเยาว์ แก้วตา                   ครู ร.ร.กันทราลักษณ์ สพม.เขต ๒๘
       22. นายณัฐพล นพเก้า                       ครู ร.ร. ตราษตระการคุณ สพม. เขต ๑๗
       23. นายลือชัย ทิพรังศรี                    ครู ร.ร.หนองฉางวิทยา สพม. เขต ๔๒
       24. นางสาวจิตสุดา ธราพร                    ครู ร.ร.บ้านคลองแห้ง สพป.กระบี่
                                         -------------------------------




              ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕                          กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า   14

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับguychaipk
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังSuphot Chaichana
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1guychaipk
 
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดSuphot Chaichana
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์waranyuati
 
เล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณเล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณRachain Muangngam
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1Nattarinthon Soysuwan
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมKamolthip Boonpo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...เล็ก น่ารัก
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 

Mais procurados (19)

ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
 
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
เล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณเล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณ
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
Ar
ArAr
Ar
 
Plan
PlanPlan
Plan
 

Destaque

หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.krupornpana55
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDKruKaiNui
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Destaque (11)

Job
JobJob
Job
 
Art
ArtArt
Art
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Social
SocialSocial
Social
 
Physical
PhysicalPhysical
Physical
 
Activity
ActivityActivity
Activity
 
Science
ScienceScience
Science
 
Eng
EngEng
Eng
 
หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.หน่วยบูรณาการ สพฐ.
หน่วยบูรณาการ สพฐ.
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Semelhante a Math 2

แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...kruood
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555Kroopop Su
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 

Semelhante a Math 2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
เทียนแพ
เทียนแพเทียนแพ
เทียนแพ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Mais de krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Mais de krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

Math 2

  • 1. เกณฑ์การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครังที่ 62 ปีการศึกษา 2555 ้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สรุปกิจกรรมการแข่งขันกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ข้อมูล ณ วันที่ 17 ก.ค. 2555) เขตพื้นที่ /ระดับชั้น สพป. สพม. หมายเหตุ ชื่อกิจกรรม ประเภท ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.1-3 ม.4-6 1. การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์      เดี่ยว ห้องเรียน 2. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์     ทีม 3 คน ลานโล่ง/ห้องเรียน 3. การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงาน     ทีม 2 คน ห้องคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP 4. การแข่งขันคิดเลขเร็ว      เดี่ยว ห้องเรียน รวม 2 4 4 4 4 รวม 10 8 รวม 4 กิจกรรม 18 รายการ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 1
  • 2. การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน การแข่งขันแบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้ 1.1 ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านั้น 1.2 ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น 1.3 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 เท่านั้น 1.4 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน 2.1 ประเภทเดี่ยว 2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขันระดับละ 1 คน 3. วิธีดาเนินการและหลักเกณฑ์การแข่งขัน 3.1 ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน พร้อมชื่อครูผู้ฝึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด 3.2 กิจกรรมการแข่งขัน ผู้แข่งขันต้องทาแบบทดสอบวัดสมรรถภาพ 4 สมรรถภาพ คือ - ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ - ทักษะการคิดเลขเร็ว - ทักษะการคิดคานวณ - ทักษะการแก้โจทย์ปัญหา 3.3 แบบทดสอบในแต่ละระดับชั้นใช้เนื้อหาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551, ของ สสวท, และแนวการประเมินนักเรียนระดับนานา (PISA) นักเรียนที่เข้าแข่งขันทุกระดับชั้นทา แบบทดสอบทั้งหมด 4 ฉบับ รายละเอียดดังนี้ ฉบับที่ 1 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ แบบ 4 ตัวเลือก วัดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ จานวน 30 ข้อ เวลา 30 นาที ฉบับที่ 2 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ วัดทักษะคิดเลขเร็ว จานวน 20 ข้อ เวลา 10 นาที ฉบับที่ 3 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ วัดทักษะการคิดคานวณ จานวน 20 ข้อ เวลา 40 นาที ฉบับที่ 4 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ วัดทักษะการแก้โจทย์ปัญหา จานวน 15 ข้อ เวลา 45 นาที 4. เกณฑ์การให้คะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ดังนี้ ฉบับที่ 1 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ แบบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 30 คะแนน ฉบับที่ 2 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 20 คะแนน ฉบับที่ 3 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 20 คะแนน ฉบับที่ 4 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ จานวน 15 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 30 คะแนน หมายเหตุ แบบทดสอบฉบับที่ 3 และฉบับที่ 4 ให้ผู้ออกข้อสอบระบุหน่วยไว้ด้วย เช่น บาท เซนติเมตร วา ฯลฯ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 2
  • 3. 5. เกณฑ์การตัดสิน ถ้าคะแนนรวมเท่ากัน ให้พิจารณาตัดสินจากคะแนนแบบทดสอบฉบับที่ 4 ฉบับที่ 3 ฉบับที่ 2 และฉบับที่ 1 ตามลาดับ แล้วนาคะแนนรวมมาคิดเทียบเกณฑ์การตัดสิน ดังนี้ ร้อยละ 80 - 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ร้อยละ 60 – 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง ต่ากว่าร้อยละ 60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด 6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ 3 – 5 คน คุณสมบัติของคณะกรรมการ - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - เป็นครูผู้สอนที่ทาการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์ ข้อควรคานึง - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ ทาการสอน - กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือ สถาบันการศึกษา หน่วยงานอื่นอย่างหลากหลาย - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะใน ลาดับที่ 1 – 3 7. สถานที่ทาการแข่งขัน ควรใช้ห้องเรียนที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน 8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ การแข่งขันแต่ละระดับ ผู้เข้าแข่งขันที่ได้ลาดับที่ 1 – 3 จากระดับภาคเป็นตัวแทนเข้าแข่งขัน ในระดับชาติ ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์ หมายเหตุ 1. นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการคัดเลือก จากระดับภาคและระดับเขตพื้นที่ 2. ไม่อนุญาตให้นาเครื่องคิดเลขหรืออุปกรณ์ช่วยอื่นๆ เข้าไปในห้องแข่งขัน 3. กรรมการคุมสอบแจกกระดาษทดให้ในห้องสอบ และห้ามนาออกจากห้องสอบ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 3
  • 4. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน การแข่งขันแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.1 ระดับประถมศึกษา - ผู้เข้าแข่งขันเป็นนักเรียนชั้น ป.4–6 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - ผู้เข้าแข่งขันเป็นนักเรียนชั้น ม.1–3 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - ผู้เข้าแข่งขันเป็นนักเรียนชั้น ม.4–6 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน 2.1 แข่งขันประเภททีม 2.2 เข้าแข่งขัน ระดับละ 1 ทีม และเลือกเพียง 1 ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์เท่านั้น 3. วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน 3.1 ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน ทีมละ 3 คน พร้อมชื่อครูที่ปรึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ทีมละ 2 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด 3.2 รายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน โครงงานคณิตศาสตร์ที่เข้าร่วมแข่งขันในแต่ละระดับ มีการพิจารณาตัดสิน 2 ประเภท ดังนี้ ประเภทที่ 1 โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ประเภทที่ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ที่บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ได้แก่ 1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง 2. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจเก็บรวบรวมข้อมูล 3. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ 3.3 ในแต่ละระดับโรงเรียนสามารถส่งโครงงานคณิตศาสตร์เข้าแข่งขันประเภทใดก็ได้ เพียงประเภทเดียว 3.4 การตัดสินในแต่ละระดับจะแยกการตัดสินออกเป็นสองประเภท คือ 3.4.1 ประเภทที่ 1 โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ 3.4.2 ประเภทที่ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ที่บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ 3.5 ส่งรายงานโครงงานคณิตศาสตร์เป็นรูปเล่มล่วงหน้าก่อนการแข่งขัน 2 สัปดาห์ โครงงานละ 5 ชุด ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 4
  • 5. 3.6 นาแผงโครงงานคณิตศาสตร์มาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน 60 ซม. 60 ซม. ก ข ก 60 ซม. 120 ซม. 3.7 อุปกรณ์อื่นๆ ที่นามาสาธิตอาจวางบนโต๊ะ ถ้ายื่นออกมาจากโต๊ะต้องไม่เกิน 60 ซม. 3.8 นาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ต่อคณะกรรมการ ใช้เวลาไม่เกิน 10 นาที และตอบข้อซักถาม ใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที 3.9 สื่อทีใช้ในการนาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ ผู้ส่งโครงงานเข้าแข่งขันจัดเตรียมมาเอง ่ 3.10 พื้นที่จัดวางแผงโครงงานคณิตศาสตร์ คณะกรรมการจัดให้เท่ากันไม่เกิน 1.50 ม. × 1.00 ม. 4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน 4.1 การกาหนดหัวข้อโครงงานคณิตศาสตร์สอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา 5 คะแนน 4.2 ความสาคัญของโครงงานคณิตศาสตร์ 10 คะแนน 4.3 จุดมุ่งหมาย และสมมติฐาน (ถ้ามี) 10 คะแนน 4.4 เนื้อหา ความสอดคล้องเหมาะสมถูกต้องตามหลักการของคณิตศาสตร์ 15 คะแนน 4.5 วิธีดาเนินงาน/ วิธีคิด (กรณีสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบาย) และผลที่ได้รับ 10 คะแนน 4.6 ขนาดแผงโครงงานและการแสดงผลงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 5 คะแนน 4.7 การนาเสนอปากเปล่า 10 คะแนน 4.8 การตอบข้อซักถาม (เน้นการซักถามในประเด็นเกี่ยวกับคณิตศาสตร์) 10 คะแนน 4.9 การเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร์ถูกต้องตามรูปแบบ 10 คะแนน 4.10 การนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า 5 คะแนน 4.11 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10 คะแนน 5. เกณฑ์การตัดสิน ร้อยละ 80 - 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ร้อยละ 60 – 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง ต่ากว่าร้อยละ 60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นทีสิ้นสุด ่ 6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับละ 3 - 5 คน ของแต่ละประเภทโครงงาน คุณสมบัติของคณะกรรมการ - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 5
  • 6. - เป็นครูที่ทาการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทมีความสามารถด้านโครงงาน ี่ คณิตศาสตร์ - เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์ ข้อควรคานึง - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทาการสอน - กรรมการควรมีที่มาจาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่นอย่างหลากหลาย - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลาดับที่ 1-3 7. สถานที่ทาการแข่งขัน ควรใช้ห้องเรียนหรือสถานที่ ที่มีโต๊ะ เก้าอี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน 8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ 8.1 ทีมที่ได้คะแนนสูงสุด ลาดับที่ 1 – 3 จากการแข่งขันระดับภาคจะได้เป็นตัวแทนเข้าแข่งขันใน ระดับชาติ แยกตามระดับและประเภทของโครงงานที่แข่งขัน 8.2 ในกรณีที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า 3 ทีม ให้พิจารณาลาดับที่ตามลาดับข้อของ เกณฑ์การให้คะแนน เช่น ทีมที่ได้คะแนนข้อที่ 4.1 เท่ากัน ให้ดูคะแนนข้อที่ 4.2 ทีมใดได้คะแนน ข้อที่ 4.2 มากกว่าถือเป็นทีมที่ชนะ แต่ถ้าข้อที่ 4.2 เท่ากัน ให้ดูคะแนนในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อ ให้ใช้วิธีจับฉลาก ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์และโครงงาน คณิตศาสตร์ 9. รูปแบบการเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร์ (ปกนอก) โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง............................................................................................................................. .......... โดย 1......................................................................................................................................... 2............................................................................................................................ ............ 3............................................................................................................................ ............. โรงเรียน........................................................... สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ................... รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภท............................................................................. ระดับ........................ เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62 ประจาปีการศึกษา 2555 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 6
  • 7. (ปกใน) โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง........................................................................................................................ โดย 1................................................................................................................................. ......... 2.......................................................................................................................................... 3............................................................................................................................ .............. ครูที่ปรึกษา 1......................................................................................................................................... 2......................................................................................................................................... โรงเรียน........................................................... สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา .................................. รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภท..............................................................................ระดับ………................ เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62 ประจาปีการศึกษา 2555 รายละเอียดในเล่มประกอบด้วย บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญตาราง สารบัญรูปภาพ บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ ความยาวไม่เกิน 20 หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนินการ บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ไม่เกิน 10 หน้า ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 7
  • 8. หมายเหตุ 1. ขนาดของกระดาษเขียนรายงานให้ใช้กระดาษพิมพ์ ขนาด A4 พิมพ์หน้าเดียว เฉพาะบทที่ 1-5 ความยาวไม่เกิน 20 หน้า อาจมีภาคผนวกได้อีกไม่เกิน 10 หน้า รายงานฉบับใดที่มีความยาวเกินกว่าที่กาหนด จะถูกตัดคะแนน 2. ทารายงานส่ง จานวน 5 ชุด (ส่งให้คณะกรรมการก่อนการแข่งขัน 2 สัปดาห์) 3. นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการคัดเลือก จากระดับภาค และ ระดับเขตพื้นที่ แบบประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด สพป. / ศส. ............................................ สพม. .................................................... ชื่อโครงงาน .................................................................................................................................................. ประเภท ........................................................................................................................................................ โรงเรียน .......................................................................... จังหวัด .............................................................. ข้อที่ รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 1 การกาหนดหัวข้อโครงงานสอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา 5 2 ความสาคัญของโครงงาน 10 3 จุดมุ่งหมาย และ สมมติฐาน(ถ้ามี) 10 4 เนื้อหา ความสอดคล้องเหมาะสมถูกต้องตามหลักการของ 15 คณิตศาสตร์ 5 วิธีดาเนินงาน/ วิธีคิด (กรณีสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบาย) และผล 10 ที่ได้รับ 6 ขนาดแผงโครงงานและการแสดงผลงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 5 7 การนาเสนอปากเปล่า 10 8 การตอบข้อซักถาม (เน้นการซักถามในประเด็นเกี่ยวกับ 10 คณิตศาสตร์) 9 การเขียนรายงานโครงงานถูกต้องตามรูปแบบ 10 10 การนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า 5 11 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10 คะแนนรวม 100 ข้อคิดเห็น .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ................................................ กรรมการ (........................................) ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 8
  • 9. การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP 1. ระดับและคุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน การแข่งขันแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.1 ระดับประถมศึกษา ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 เท่านั้น 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 เท่านั้น 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน 2.1 ประเภททีม 2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขัน ทีมละ 2 คน 3. วิธีดาเนินการแข่งขัน และรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน 3.1 ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน ระดับละ 1 ทีม พร้อมชื่อครูผู้ฝึกสอน 2 คน ตามแบบฟอร์ม ที่กาหนด 3.2 กาหนดโจทย์การแข่งขัน จานวน 5 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 100 คะแนน 3.3 เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน 2 ชั่วโมง 30 นาที 4. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม 100 คะแนน กาหนดรายละเอียด ดังนี้ 4.1โจทย์การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GSP จานวน 4 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน รวม 80 คะแนน ซึ่งแต่ละข้อใช้เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ 4.1.1 ความสมบูรณ์และถูกต้องของรูปหรือแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ 10 คะแนน 4.1.2 ความคิดและความสมเหตุสมผลของคาตอบและกระบวนการแก้ปัญหา 5 คะแนน 4.1.3 การพูดนาเสนอถูกต้องชัดเจน 5 คะแนน 4.2 โจทย์การสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP จานวน 1 ข้อ 20 คะแนน 4.2.1 ความเป็นพลวัต ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความสวยงาม และความเหมาะสม 10 คะแนน 4.2.2 ผลงานสื่อความหมายได้สอดคล้องและเชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่อง 5 คะแนน 4.2.3 การพูดนาเสนอถูกต้องชัดเจน 5 คะแนน 5. เกณฑ์การตัดสิน ร้อยละ 80 - 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ร้อยละ 60 – 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง ต่ากว่าร้อยละ 60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 9
  • 10. 6. คณะกรรมการ การแข่งขัน ระดับละ 3 – 5 คน คุณสมบัติของคณะกรรมการ - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทมีความเชี่ยวชาญโปรแกรม GSP ี่ - เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์ ข้อควรคานึง - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับที่ทาการสอน - กรรมการควรมีที่มาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานอื่นอย่างหลากหลาย - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลาดับที่ 1- 3 7. สถานที่แข่งขัน ห้องคอมพิวเตอร์และโปรแกรม GSP ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน 8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ 8.1 ทีมที่ได้คะแนนสูงสุด ลาดับที่ 1 – 3 จากการแข่งขันระดับภาคจะได้เป็นตัวแทน เข้าแข่งขันในระดับชาติ 8.2 ในกรณีที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า 3 ทีม ให้พิจารณาลาดับที่ตาม ลาดับข้อของการให้คะแนน เช่น มีทีมที่ได้คะแนนข้อที่ 1 เท่ากันให้ดูคะแนนข้อที่ 2 ทีมใดได้คะแนนข้อที่ 2 มากกว่าถือเป็นทีมทีชนะแต่ถ้าข้อที่ 2 เท่ากัน ให้ดูคะแนนในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ใช้วิธี ่ จับฉลาก ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์และโปรแกรม GSP หมายเหตุ นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการ คัดเลือกจากระดับภาคและระดับเขตพื้นที่ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 10
  • 11. การแข่งขันคิดเลขเร็ว 1. ระดับและคุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน การแข่งขันแบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้ 1.1 ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านั้น 1.2 ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านั้น 1.4 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน 2.1 ประเภทเดี่ยว 2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขันระดับละ 1 คน 3. วิธีดาเนินการและหลักเกณฑ์การแข่งขัน 3.1 วิธีดาเนินการแข่งขัน ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน พร้อมชื่อครูผู้ฝึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด 3.2 หลักเกณฑ์การแข่งขัน 3.2.1 ระดับประถมศึกษา (ป.1 – 3 และ ป.4 – 6) ใช้การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง ถอดรากลาดับที่ n (ลาดับที่ของรากเป็นจานวนเต็มบวก n จานวนแรก และในการ ถอดราก ถ้าไม่ใช่รากอันดับที่ 2 ต้องใส่อันดับทีของรากจากตัวเลขที่สุ่มมา) เพื่อหาผลลัพธ์ ่ 3.2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1 –3 และ ม.4 – 6) ใช้การดาเนินการทาง คณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง ถอดราก (ในการถอดราก ถ้าไม่ใช่รากอันดับที่ 2 ต้องใส่อันดับที่ ของรากจากตัวเลขที่สุ่มมา) สามารถใช้ แฟกทอเรียล และซิกมา ได้ (หากมีการใช้ ซิกมาต้องเขียนให้ถูกต้อง ตามหลักคณิตศาสตร์ ทั้งนี้ ตัวเลขที่ปรากฏอยู่กับ  ต้องเป็นตัวเลขที่โจทย์กาหนดให้) เพื่อหาผลลัพธ์ 3.2.3 ในการคิดคานวณต้องใช้ตัวเลขให้ครบทุกตัว และใช้ได้ตวละ 1 ครั้งเท่านั้น ั 3.2.4 การเขีย นตอบให้แสดงความสัมพันธ์ของวิธีการและคาตอบในรูปของสมการ (ระดับ ประถมศึกษา อาจจะแสดงวิธีคิดทีละขั้นตอนก็ได้) 3.3 การจัดการแข่งขัน แข่งขัน 2 รอบ ดังนี้ 3.3.1 ระดับประถมศึกษา (ป.1 –3 และ ป.4 – 6) รอบที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลัพธ์ 2 หลัก รอบที่ 2 จานวน 20 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลัก 3.3.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1–3 และ ม. 4–6) รอบที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 2 หลัก รอบที่ 2 จานวน 20 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลัก ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 11
  • 12. 3.4 วิธีการแข่งขัน 3.4.1 กรรมการเตรียมกระดาษคาตอบ ขนาด 1 ของกระดาษ A4 ดังตัวอย่าง 4 ชื่อ-สกุล..................................................โรงเรียน................................................เลขที่ ............... ข้อ ........ วิธีการและคาตอบ พื้นที่สาหรับทดเลข 3.4.2 กรรมการแจกกระดาษคาตอบตามจานวนข้อ 3.4.3 สุ่มตัวเลขจากโปรแกรม GSP เป็นโจทย์และผลลัพธ์ ซึ่งตัวเลขที่สุ่มได้ต้องไม่ซ้า เกินกว่า 2 ตัว หรือถ้าสุ่มได้เลข 0 ต้องมีเพียงตัวเดียวเท่านั้น 3.4.4 เมื่อหมดเวลาแต่ละข้อให้กรรมการเก็บกระดาษคาตอบ 3.4.5 เมื่อหมดรอบแรก ให้พัก 10 นาที 4. เกณฑ์การให้คะแนน 4.1 ผู้ที่ได้คาตอบเท่ากับผลลัพธ์ที่กาหนด และวิธีการถูกต้อง ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน 4.2 ถ้าไม่มีผู้ใดได้คาตอบเท่ากับผลลัพธ์ที่กาหนด ผู้ที่ได้คาตอบใกล้เคียงกับผลลัพธ์มากที่สุด และ วิธีการถูกต้อง เป็นผู้ได้คะแนน (ผลลัพธ์ที่ได้ต้องเป็นจานวนเต็มเท่านั้น) 5. เกณฑ์การตัดสิน ในกรณีที่มีผู้ชนะลาดับที่ 1 – 3 มากกว่า 3 คน ให้กาหนดโจทย์แข่งขันใหม่เฉพาะผู้ที่ได้คะแนน เท่ากัน โดยแข่งขันทีละข้อ (ลักษณะโจทย์และผลลัพธ์เหมือนกับการแข่งขันรอบที่สอง) จนกว่าจะได้ผู้ชนะ ตามลาดับที่ต้องการ คณะกรรมการ รวมคะแนนรอบที่ 1 และรอบที่ 2 แล้วนาคะแนนรวมคิดเทียบเกณฑ์การตัดสิน ดังนี้ ร้อยละ 80 - 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ร้อยละ 60 – 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง ต่ากว่าร้อยละ 60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด 6. คณะกรรมการการแข่งขัน 6.1 ระดับประถมศึกษา (ป.1 – 3 และ ป.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขัน จานวน 12 – 15 คน 6.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1 – 3 และ ม.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขัน จานวน 12 – 15 คน คุณสมบัติของคณะกรรมการ - เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - เป็นครูผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์หรือโปรแกรม GSP - ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 12
  • 13. ข้อควรคานึง - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานอื่นอย่างหลากหลาย - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลาดับที่ 1 – 3 7. สถานที่ทาการแข่งขัน ห้องที่มีคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรม GSP ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้ 8. การเข้าแข่งขันระดับชาติ การแข่งขันแต่ละระดับ ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด ลาดับที่ 1 – 3 จากการแข่งขันระดับภาคจะได้ เป็นตัวแทนเข้าแข่งขันในระดับชาติ ข้อเสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์ หมายเหตุ 4. ไม่อนุญาตให้นาเครื่องคิดเลขหรืออุปกรณ์ช่วยอื่นๆ เข้าไปในห้องแข่งขัน 5. นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขัน ระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ที่ได้รับการ คัดเลือก จากระดับภาค และระดับเขตพื้นที่ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 13
  • 14. รายชื่อคณะทางานประชุมปฏิบัติการ คณะทางานจัดทาแนวการดาเนินกิจกรรมการเข้าค่ายคณิตศาสตร์นักเรียนมัธยมศึกษา ระหว่างวันที่ ๑๙ – ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเดอะริช ถนนพระราม ๕ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี -------------------------------------------- ที่ปรึกษา ดร.เบญจลักษณ์ น้าฟ้า รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นางสาววีณา อัครธรรม ผู้อานวยการสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน 1. ดร.ไพจิตร สดวกการ ศน.เชี่ยวชาญ (ข้าราชการบานาญ) 2. ดร.บุญทอง บุญทวี ศน.สพม.เขต ๒ ช่วยราชการ สวก.สพฐ. 3. นายอภิชาติ เพชรพลอย ศน.สพม.เขต ๕ ช่วยราชการ สวก.สพฐ. 4. นางกัญญา วัฒนถาวร ศน.สพม.เขต ๑๐ ช่วยราชการ สวก.สพฐ. 5. นางอนงลักษณ์ เย็นภากนกโชติ ครู ร.ร.บ้านหลุมข้าว สพป.ลพบุรี เขต ๑ 6. นายประจักษ์ ศรสาลี หศน. สพป.กาแพงเพชร.เขต ๑ 7. นายเอนก รัศมี ศน. สพป.ลพบุรี.เขต ๑ 8. นายนิพนธ์ สารถ้อย ศน. สพป.น่าน.เขต ๑ 9. นางรัญญาภัทร์ อัยรา ศน. สพป.อุทัยธานี.เขต ๑ 10. นายภูริวรรษ คาอ้ายกาวิน รอง ผอ.ร.ร.พิบูลประชาสรรค์ กทม. 11. นางจินดา อยู่เป็นสุข ครู ร.ร.ราชวินิตมัธยม สพม. เขต ๑ 12. นางวิไล กุนทีกาญจน์ ครู ร.ร.มักกะสัน สพม. เขต ๑ 13. น.ส.ลัดดา ด่านวิริยะกุล ครู ร.ร.ราชวินิตบางแคปานขา สพม. เขต ๑ 14. นางมณฑกานต์ สุธีรธรรม ครู ร.ร.สุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์ สพม.เขต ๒ 15. นายเสน่ห์ ประทุม ครู ร.ร. มวกเหล็กวิทยา สพม. เขต ๔ 16. นายอานาจ สุสุขเสียง ครู ร.ร.พิบูลวิทยาลัย สพม. เขต ๕ 17. น.ส.จีราวัฒน์ มีลักษณะ ครู ร.ร.โพธิ์ทอง “จินดามณี” สพม. เขต ๕ 18. นางยุพา ลาเจียก ครู ร.ร.องครักษ์ สพม.เขต ๗ 19. นายวิทยา ทองสมจิตต์ ครู ร.ร.กรรณสูตศึกษาลัย สพม. เขต ๙ 20. นางยุวดี ทองยี่สุ่น ครู ร.ร.ภัทรญาณวิทยา สพม. เขต ๙ 21. นางสาวพเยาว์ แก้วตา ครู ร.ร.กันทราลักษณ์ สพม.เขต ๒๘ 22. นายณัฐพล นพเก้า ครู ร.ร. ตราษตระการคุณ สพม. เขต ๑๗ 23. นายลือชัย ทิพรังศรี ครู ร.ร.หนองฉางวิทยา สพม. เขต ๔๒ 24. นางสาวจิตสุดา ธราพร ครู ร.ร.บ้านคลองแห้ง สพป.กระบี่ ------------------------------- ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 14