SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 68
Baixar para ler offline
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้


สาระที่ ๑ การอ่ าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหาในการ
                                                                   ั
                   ดําเนินชี วตและมีนิสัยรักการอ่าน
                              ิ

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ
                     ้                                     ่
                  เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู ้สึก
                  ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณและสร้างสรรค์
                                       ิ

สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลกภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงของภาษาภูมิ
                     ้                    ั                               ั
                  ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็ น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็ นคุณค่าและ
                 นํามาประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง
                                      ิ
มาตรฐานการเรียนร้ ู ตัวชีวดและสาระการเรียนรู้
                         ้ั

สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
                 ้                                                ั                     ํ
              ชีวต และมีนิสัยรักการอ่าน
                   ิ
  ชั้น                     ตัวชี้วด
                                  ั                                 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  ม.๑    ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว และ บทร้อย            การอ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย
         กรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน        - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย
                                                       - บทร้อยกรอง เช่น กลอนสุ ภาพ กลอนสักวา กาพย์ยานี
                                                       ๑๑ กาพยฉบง ๑๖ กาพยสุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่สุภาพ
                                                                    ์ ั          ์
         ๒. จับใจความสําคัญจากเรื่ องที่อ่าน            การอ่านจบใจความจากสื่อต่างๆ เช่น
                                                                         ั
         ๓. ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริ งกับข้อคิดเห็น      - เรื่ องเล่าจากประสบการณ์
            จากเรื่ องที่อ่าน                               - เรื่ องสั้น
         ๔. ระบุและอธิ บายคําเปรี ยบเทียบ และคําที่มี       - บทสนทนา
            หลายความหมายในบริบทต่างๆ จากการอ่าน             - นิทานชาดก
         ๕. ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณา
                       ํ                                    - วรรณคดีในบทเรี ยน
            จากบริ บท                                       - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์
         ๖. ระบุขอสังเกตและความสมเหตุสมผลของงาน
                     ้                                      - บทความ
            เขียนประเภทชักจูง โน้มน้าวใจ                    - สารคดี
                                                            - บันเทิงคดี
                                                            - เอกสารทางวิชาการที่มีคา ประโยค และขอความ
                                                                                      ํ                ้
                                                               ที่ตองใช้บริ บทช่วยพิจารณาความหมาย
                                                                     ้
                                                            - งานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจเชิงสร้างสรรค์
         ๗. ปฏิบติตามคู่มือแนะนาวิธีการใชงาน ของ
                   ั                  ํ         ้       การอ่านและปฏิบติตามเอกสารคู่มือ
                                                                               ั
         เครื่ องมือหรื อเครื่ องใช้ในระดับที่ยากขึ้น
         ๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียน  การอ่านหนังสื อตามความสนใจ เช่น
         อย่างหลากหลายเพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต          - หนังสื อที่นกเรี ยนสนใจและเหมาะสมกับวัย
                                                                            ั
                                                           - หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยนกําหนดร่ วมกัน
         ๙. มีมารยาทในการอ่าน                           มารยาทในการอ่าน

 ม.๒     ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้  การอ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย
         ถูกต้อง                                            - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยายและบทพรรณนา
                                                         - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนนิ ทาน
                                                       กลอนเพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง
ชั้น                      ตัวชี้วด
                                 ั                                    สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๒    ๒. จับใจความสําคัญ สรุ ปความ และอธิ บาย        การอานจบใจความจากสื่อต่างๆ เช่น
                                                               ่ ั
           รายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน                  - วรรณคดีในบทเรียน
       ๓. เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจใน          - บทความ
           บทเรียนต่างๆ ที่อ่าน                         - บันทึกเหตุการณ์
       ๔. อภิปรายแสดงความคิดเห็น และ ข้อโต้แย้ง         - บทสนทนา
           เกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน                      - บทโฆษณา
       ๕. วิเคราะห์และจําแนกข้อเท็จจริ ง ข้อมูล         - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
           สนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน       - งานเขียนหรื อบทความแสดงข้อเท็จจริ ง
       ๖. ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อ การ โน้มน้าว
                  ้                                    - เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
       หรื อความสมเหตุสมผลของงานเขียน                ภาษาไทย และกล่มสาระการเรียนรู้อื่น
                                                                        ุ
       ๗. อ่านหนังสื อ บทความ หรื อคําประพันธ์อย่าง    การอ่านตามความสนใจ เช่น

           หลากหลาย และประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่      - หนังสื ออ่านนอกเวลา
           ไดจากการอ่าน เพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
                ้                                       - หนังสื อที่นกเรี ยนสนใจและเหมาะสมกับวัย
                                                                      ั
                                                       - หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยนกําหนดร่ วมกัน
       ๘. มีมารยาทในการอ่าน                             มารยาทในการอ่าน
ม.๓    ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง         การอ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย

       ไดถกตองและเหมาะสมกบเรื่องที่อ่าน
          ู้ ้                ั                           - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทความทัวไปและบทความ
                                                                                       ่
                                                            ปกิณกะ
                                                         - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา
                                                           กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่สุภาพ
       ๒. ระบุความแตกต่างของคาที่มีความหมาย
                                      ํ                   การอานจบใจความจากสื่อต่างๆ เช่น
                                                                    ่ ั
            โดยตรงและความหมายโดยนย         ั                - วรรณคดีในบทเรี ยน
       ๓. ระบุใจความสาคญและรายละเอียดของข้อมูล
                           ํ ั                              - ข่าวและเหตุการณ์สาคญํ ั
            ที่สนับสนุนจากเรื่ องที่อ่าน                    - บทความ
       ๔. อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผัง          - บนเทิงคดี
                                                                  ั
                        ั      ่
            ความคิด บนทึก ยอความและรายงาน                   - สารคดี
       ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่อง ที่อ่าน        - สารคดีเชิงประวติั
            โดยใช้กลวิธีการเปรี ยบเทียบเพื่อให้ผอ่าน
                                                 ู้         - ตานาน
                                                                ํ
            เขาใจไดดีข้ ึน
               ้     ้                                      - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์
       ๖. ประเมินความถกตองของขอมล ที่ใช้
                             ู ้         ้ ู               - เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                                 ่
            สนับสนุนในเรื่ องที่อาน                          ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
       ๗. วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดบความ  ํ ั
       และความเป็ นไปได้ของเรื่ อง
       ๘. วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง
       เกี่ยวกบเรื่องที่อ่าน
                 ั
ชั้น                        ตัวชี้วด
                                     ั                               สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  ม.๓    ๙. ตีความและประเมินคุณค่า และแนวคิดที่ได้        การอ่านตามความสนใจ เช่น
            จากงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนําไปใช้           - หนังสื ออ่านนอกเวลา
            แก้ปัญหาในชีวิต                                 - หนังสื ออ่านตามความสนใจและตามวัยของ
                                                              นกเรี ยน
                                                               ั
                                                        - หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนด
         ๑๐. มีมารยาทในการอ่าน                           มารยาทในการอ่าน




สาระที่ ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราวในรู ปแบบ
              ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
  ชั้น                        ตัวชี้วด
                                     ั                               สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  ม.๑    ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด                 การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการ
                                                        เขียนตัวอักษรไทย
         ๒. เขียนสื่ อสารโดยใช้ถอยคําถูกต้องชัดเจน
                                ้                         การเขียนสื่ อสาร เช่น
            เหมาะสม และสละสลวย                              - การเขียนแนะนําตนเอง
                                                            - การเขียนแนะนําสถานที่สาคัญๆ
                                                                                      ํ
                                                        - การเขียนบนสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์
         ๓. เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุ                 การบรรยายประสบการณ์
            สาระสําคัญและรายละเอียดสนับสนุน
         ๔. เขียนเรี ยงความ                                การเขียนเรียงความเชิงพรรณนา
         ๕. เขียนย่อความจากเรื่ องที่อ่าน                 การเขียนยอความจากสื่อต่างๆ เช่น เรื่ องสั้น คํา
                                                                      ่
                                                         สอน โอวาท คาปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ
                                                                          ํ
                                                         คาสง บทสนทนาเรื่องเล่าประสบการณ์
                                                          ํ ั่
         ๖. เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่ อที่  การเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่ อ
            ได้รับ                                          ต่างๆ เช่น
                                                            - บทความ
                                                            - หนังสื ออ่านนอกเวลา
                                                            - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวน
                                                                                  ํ ั
                                                            - เหตุการณ์สาคญต่างๆ
                                                                            ํ ั
ชั้น                        ตัวชี้วด
                                   ั                                สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑    ๗. เขียนจดหมายส่วนตวและจดหมาย กิจธุระ
                          ั                            การเขียนจดหมายส่ วนตัว
                                                         - จดหมายขอความช่วยเหลือ
                                                         - จดหมายแนะนํา
                                                       การเขียนจดหมายกิ จธุ ระ

                                                         - จดหมายสอบถามข้อมูล
       ๘. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน         การเขียนรายงาน ไดแก่
                                                                          ้
                                                         - การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
                                                         - การเขียนรายงานโครงงาน
       ๙. มีมารยาทในการเขียน                             มารยาทในการเขียน
ม.๒    ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด                การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการ
                                                         เขียน ตัวอักษรไทย
       ๒. เขียนบรรยายและพรรณนา                         การเขียนบรรยายและพรรณนา


       ๓. เขียนเรี ยงความ                              การเขียนเรี ยงความเกี่ยวกับประสบการณ์
       ๔. เขียนย่อความ                                 การเขียนยอความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน
                                                                    ่                                     คํา
                                                         สอน บทความทางวิชาการ บนทึกเหตุการณ์
                                                                                     ั
                                                         เรื่ องราวในบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
                                                         นิทานชาดก
       ๕. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า                   การเขียนรายงาน
                                                         - การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
                                                         - การเขียนรายงานโครงงาน
       ๖. เขียนจดหมายกิจธุระ                           การเขียนจดหมายกิ จธุ ระ

                                                         - จดหมายเชิญวิทยากร
                                                         - จดหมายขอความอนุเคราะห์
       ๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู ้ ความ  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ
          คิดเห็น หรือโตแยง
                         ้ ้          ในเรื่องที่อ่าน    คิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อต่างๆ เช่น
                                                                         ้ ้
          อย่างมีเหตุผล                                  - บทความ
                                                         - บทเพลง
                                                         - หนังสื ออ่านนอกเวลา
                                                         - สารคดี
                                                         - บันเทิงคดี
       ๘. มีมารยาทในการเขียน                           มารยาทในการเขียน
ชั้น                       ตัวชี้วด
                                  ั                                  สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๓    ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด                    การคดลายมือตวบรรจงคร่ ึ งบรรทดตามรู ปแบบการ
                                                                   ั       ั                  ั
                                                             เขียนตัวอักษรไทย
       ๒. เขียนข้อความโดยใช้ถอยคําได้ถกต้องตาม
                             ้        ู                    การเขียนขอความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ
                                                                       ้
          ระดบภาษา
              ั                                              เช่น
                                                             - คําอวยพรในโอกาสต่างๆ
                                                             - คําขวัญ
                                                             - คําคม
                                                             - โฆษณา
                                                             - คติพจน์
                                                             - สุ นทรพจน์
       ๓. เขียนชีวประวัติหรื ออัตชีวประวัติโดยเล่า         การเขียนอัตชี วประวัติหรื อชี วประวัติ

          เหตุการณ์ ข้อคิดเห็น และทัศนคติในเรื่ องต่างๆ
       ๔. เขียนย่อความ                                 การเขียนยอความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ประวัติ
                                                                   ่
                                                        ตํานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดํารัส พระบรม
                                                        ราโชวาท จดหมายราชการ
       ๕. เขียนจดหมายกิจธุระ                          การเขียนจดหมายกิ จธุ ระ

                                                        - จดหมายเชิญวิทยากร
                                                        - จดหมายขอความอนุเคราะห์
                                                        - จดหมายแสดงความขอบคุณ
       ๖. เขียนอธิ บาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและ      การเขียนอธิ บาย ชี้ แจง แสดงความคิ ดเห็น และโต้แย้ง

           โต้แย้งอย่างมีเหตุผล                         ในเรื่ องต่างๆ
       ๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ
           คิดเห็น หรือโตแยง
                           ้ ้             ในเรื่อง     คิดเห็น หรื อโต้แย้งจากสื่ อต่างๆ เช่น
           ต่างๆ                                        - บทโฆษณา
                                                        - บทความทางวิชาการ
       ๘. กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยาย             การกรอกแบบสมครงาน   ั
           เกี่ยวกบความรู้และทกษะ ของตนเองที่
                  ั             ั
           เหมาะสมกับงาน
       ๙. เขียนรายงานการศึกษาคนควา และโครงงาน  การเขียนรายงาน ได้แก่
                                  ้ ้
                                                        - การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
                                                        - การเขียนรายงานโครงงาน
       ๑๐. มีมารยาทในการเขียน                         มารยาทในการเขียน
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส
                                         ิ
              ต่างๆ อย่างมีวจารณญาณและสร้างสรรค์
                            ิ
  ชั้น                        ตัวชี้วด
                                     ั                                      สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  ม.๑    ๑. พูดสรุ ปใจความสําคัญของเรื่ องที่ฟังและดู            การพดสรุปความ พดแสดงความรู้ ความคิดอยาง
                                                                       ู              ู                          ่
         ๒. เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่ฟังและดู                   สร้างสรรค์จากเรื่ องที่ฟังและดู
         ๓. พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับ           การพูดประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้อหา
            เรื่ องที่ฟังและดู                                    โน้มน้าว
         ๔. ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้ อหาโน้ม
            น้าวใจ
         ๕. พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า        การพูดรายงานการศึกษาคนควาจากแหล่งเรี ยนรู ้
                                                                                      ้ ้
            จากการฟัง การดู และการสนทนา                          ต่างๆ ในชุมชน และทองถ่ินของตน
                                                                                   ้
         ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพด      ู             มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
 ม.๒     ๑. พูดสรุ ปใจความสําคัญของเรื่ องที่ฟังและดู            การพูดสรุ ปความจากเรื่ องที่ฟังและดู
         ๒. วิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น และความ
                        ้                                        การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู
            น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่างๆ
         ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมี
            เหตุผลเพื่อนําข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการ
            ดําเนินชีวิต
         ๔. พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์              การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น
                                                                 - การพูดอวยพร
                                                                 - การพูดโน้มน้าว
                                                                 - การพดโฆษณา
                                                                        ู
         ๕. พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า        การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้

                                                                 ต่างๆ
         ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพด
                                          ู                      มารยาทในการฟัง การดู และการพด
                                                                                              ู
  ม.๓    ๑. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่ องจากการ             การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่ องจากการ
            ฟังและการดู                                          ฟังและการดู
         ๒. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดู              การพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู

            เพื่อนําข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต
         ๓. พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า        การพดรายงานการศึกษาคนควาเกี่ยวกบ
                                                                     ู               ้ ้       ั              ภูมิ
            จากการฟัง การดู และการสนทนา                          ปัญญาท้องถิ่น
         ๔. พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์              การพดในโอกาสต่างๆ เช่น
                                                                       ู
                                                                 - การพดโตวาที
                                                                         ู ้
                                                                 - การอภิปราย
                                                                 - การพูดยอวาที
ชั้น                     ตัวชี้วด
                                  ั                                 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  ม.๓    ๕. พูดโน้มน้าวโดยนําเสนอหลักฐานตามลาดบ  ํ ั      การพูดโน้มน้าว
            เนื้อหาอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
         ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพด    ู          มารยาทในการฟัง การดู และการพด
                                                                                       ู


สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลกภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ
                ้                      ั
              ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
  ชั้น                     ตัวชี้วด
                                  ั                                 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  ม.๑    ๑. อธิ บายลักษณะของเสี ยงในภาษาไทย         เสี ยงในภาษาไทย
                                                       

         ๒. สร้างคาในภาษาไทย
                   ํ                               การสร้างคา    ํ
                                                    - คาประสม คาซ้ า คาซอน
                                                          ํ             ํ ํ ํ ้
                                                    - คําพ้อง
         ๓. วิเคราะห์ชนิดและหนาที่ของคาในประโยค
                                ้       ํ          ชนิ ดและหน้าที่ของคํา

         ๔. วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพดและภาษา  ภาษาพด
                                             ู                ู
            เขียน                                  ภาษาเขียน

         ๕. แต่งบทร้อยกรอง                         กาพยยานี ๑๑
                                                            ์
         ๖. จําแนกและใช้สานวนที่เป็ นคําพังเพยและ
                          ํ                        สํานวนที่เป็ นคําพังเพยและสุ ภาษิต

            สุ ภาษิต
 ม.๒     ๑. สร้างคาในภาษาไทย
                    ํ                              การสร้างคาสมาส  ํ
         ๒. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามญประโยค
                                           ั       ลกษณะของประโยคในภาษาไทย
                                                      ั
            รวม และประโยคซอน  ้                       - ประโยคสามญ        ั
                                                      - ประโยครวม
                                                      - ประโยคซอน     ้
         ๓. แต่งบทร้อยกรอง                         กลอนสุ ภาพ

         ๔. ใชคาราชาศพท์
                ้ ํ    ั                           คําราชาศพท์ ั
         ๕. รวบรวมและอธิ บายความหมายของ คํา        คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
                                                        ํ
            ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ชั้น                     ตัวชี้วด
                                 ั                               สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 ม.๓     ๑. จาแนกและใชคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน
             ํ            ้ ํ                         คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
                                                        ํ
            ภาษาไทย
         ๒. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซบซอน
                                      ั ้           ประโยคซบซอนั ้
         ๓. วิเคราะห์ระดบภาษา
                        ั                           ระดบภาษา
                                                          ั
         ๔. ใช้คาทับศัพท์และศัพท์บญญัติ
                 ํ                ั                 คําทับศัพท์

                                                    คําศัพท์บญญัติ
                                                              ั
         ๕. อธิบายความหมายคาศพททางวิชาการและ
                           ํ ั ์                    คาศพททางวิชาการและวิชาชีพ
                                                       ํ ั ์
            วิชาชีพ
         ๖. แต่งบทร้อยกรอง                            โคลงสี่สุภาพ


สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนํามา
              ประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง
                              ิ
  ชั้น                    ตัวชี้วด
                                 ั                               สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  ม.๑    ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน    วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกบ  ั
                                                      - ศาสนา
                                                      - ประเพณี
                                                      - พิธีกรรม
                                                      - สุภาษิตคาสอน
                                                                 ํ
                                                      - เหตุการณ์ประวติศาสตร์
                                                                      ั
                                                      - บนเทิงคดี
                                                          ั
                                                      - บันทึกการเดินทาง
                                                      - วรรณกรรมทองถ่ิน
                                                                    ้
         ๒. วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ที่อ่าน     การวิเคราะห์คุณค่าและขอคิดจากวรรณคดีและ
                                                                           ้
            พร้อมยกเหตุผลประกอบ                       วรรณกรรม
         ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่
            อ่าน
         ๔. สรุ ปความรู้และขอคิดจากการอ่านเพื่อ
                             ้
            ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
                                    ํ
         ๕. ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย       บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
            กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ                                  ํ
                                                       - บทอาขยานตามที่กาหนด
                                                       - บทร้อยกรองตามความสนใจ
ชั้น                       ตัวชี้วด
                                  ั                             สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๒    ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านใน    วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกบ  ั
          ระดบที่ยากข้ ึน
              ั                                       - ศาสนา
                                                      - ประเพณี
                                                      - พิธีกรรม
                                                      - สุภาษิต คาสอน
                                                                 ํ
                                                      - เหตุการณ์ประวติศาสตร์
                                                                      ั
                                                      - บนเทิงคดี
                                                          ั
                                                      - บันทึกการเดินทาง
       ๒. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม        การวิเคราะห์คุณค่าและขอคิดจากวรรณคดี
                                                                           ้
          และวรรณกรรมทองถ่ินที่อ่าน พร้อมยก
                             ้                        วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น
          เหตุผลประกอบ
       ๓. อธิ บายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่
          อ่าน
       ๔. สรุ ปความรู้และขอคิดจากการอ่าน ไป
                           ้
          ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
                                  ํ
       ๕. ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย       บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
          กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ                  - บทอาขยานตามที่กาหนดํ
                                                      - บทร้อยกรองตามความสนใจ
ม.๓    ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรมและ            วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถ่ิน้
          วรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ยากยิงขึ้น
                                         ่            เกี่ยวกับ
                                                      - ศาสนา
                                                      - ประเพณี
                                                      - พิธีกรรม
                                                      - สุภาษิตคาสอน
                                                                 ํ
                                                      - เหตุการณ์ในประวติศาสตร์
                                                                         ั
                                                      - บนเทิงคดี
                                                           ั
       ๒. วิเคราะหวิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและ
                   ์                                การวิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดีและ

          วรรณกรรมที่อาน่                             วรรณกรรม
       ๓. สรุปความรู้และขอคิดจากการอ่าน เพื่อ
                          ้
          นําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
       ๔. ท่องจําและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่           บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
          กําหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ                        ํ
                                                       - บทอาขยานตามที่กาหนด
          สนใจและนําไปใช้อางอิง
                            ้                          - บทร้อยกรองตามความสนใจ
ภาษาไทย ท ๒๑๑๐๑ - ๒๓๑๐๑

   มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ - ๓
คําอธิบายรายวิชา
คําอธิบายรายวิชา
ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑           เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต

         ศึกษาอธิ บายลักษณะของเสี ยงในภาษาไทย คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ระบุขอสังเกต
                                                                                            ้
ของประเภทโน้มน้าวใจ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค วรรณคดีและวรรณกรรม ที่อ่าน จับ
ใจความสําคัญจากเรื่ องที่อ่าน สรุ ปเนื้ อหาจากการฟัง
         อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยาย เรี ยงความ
ย่อความและจดหมาย พูดสรุ ปใจความสําคัญ แสดงความคิดเห็น เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ อง ที่ฟังและดู ท่องจําบท
อาขยานและบทร้อยกรอง
         มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษาไทย
ในการสื่ อสาร

รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖
           ั
ท ๔.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๕.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕


รวมท้งหมด ๓๒ ตัวชี้วด
     ั              ั
คําอธิบายรายวิชา
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒            เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต

        ศึกษา อธิ บายคําเปรี ยบเทียบ คําที่มีหลายความหมาย คุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ระบุคาที่
                                                                                                 ํ
มีหลายความหมาย ความสมเหตุสมผล วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน จับใจความสําคัญจากเรื่ องที่
อ่าน ตีความคํายากในเอกสารวิชาการ สรุ ปข้อคิดที่ได้จากการฟัง
        อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนสื่ อสารแสดงความคิดเห็น รายงาน
การศึกษาค้นคว้าและโครงงาน พูดรายงานและเล่าเรื่ องจากเรื่ องที่ฟังและดู แต่งบทร้อยกรอง
        มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการเขียน ตระหนักและเห็นคุณค่าใน การใช้
ภาษาไทยในการสื่ อสาร

รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖
           ั
ท ๔.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๕.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕


รวมท้งหมด ๓๒ ตัวชี้วด
     ั              ั
คําอธิบายรายวิชา
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓                              กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑           เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต
          ศึกษาอธิ บายความหมายของคําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อ่าน ระบุขอสังเกต การโน้มน้าว วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยคความรวม ประโยคซ้อน
                ้
ประโยคซับซ้อน วรรณคดี วรรณกรรม จําแนกข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน จับใจความสําคัญ
จากเรื่ องที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดที่ได้จากการอ่าน ประเมินคุณค่าที่ได้ จากการอ่านวรรณคดีและ
                          ้ ้
วรรณกรรมเพื่อนาไปใชแกปัญหาในชีวิต
                   ํ
          อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง อ่านหนังสื อ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยาย
พรรณนา เรี ยงความ ย่อความ จดหมายกิจธุ ระและผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจ ในบทเรี ยนต่างๆ พูดสรุ ป
ใจความสําคัญในโอกาสต่าง ท่องจําบทอาขยาน บทร้อยกรอง
          มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่า ในการใช้
ภาษาไทยในการสื่ อสารให้ถูกต้อง

รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๗ ท ๒.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖
           ั
ท ๔.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕       ท ๕.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕

รวมท้งหมด ๓๑ ตัวชี้วด
     ั              ั
คําอธิบายรายวิชา
ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒            เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต

         ศึกษา อธิ บายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ระบุความสมเหตุสมผลของงานเขียน วิเคราะห์
ระดับภาษาที่ใช้ในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรมท้องถิ่น ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น จากเรื่ องที่อ่าน ฟัง
และดูอย่างมีเหตุผล สรุ ปความรู ้ที่ได้จากการอ่าน ประเมินคุณค่าที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
เพื่อนําไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวต    ิ
         อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง อ่านบทความ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนย่อความ
เรี ยงความ รายงานการศึกษาค้นคว้า และผังความคิด เพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนต่างๆ พูดรายงานเรื่ อง
หรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า แต่งบทร้อยกรอง และใช้คาราชาศัพท์
                                                     ํ
         มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าใน การใช้
ภาษาไทยในการสื่ อสารให้ถูกต้อง


รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๗ ท ๒.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖
           ั
ท ๔.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ ท ๕.๑ ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม,๒/๔, ม.๒/๕



รวมท้งหมด ๓๑ ตัวชี้วด
     ั              ั
คําอธิบายรายวิชา
ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑           เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต

         ศึกษา อธิ บายความหมายของคําศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ บอกคุณค่าบทอาขยานและ บทร้อย
กรอง ระบุความแตกต่างของคําที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย วิเคราะห์โครงสร้างประโยค
ซับซ้อน ระดับภาษา วิถีไทย วรรณคดีและวรรณกรรมที่ได้จากการอ่าน การฟัง และการดู โดยใช้กลวิธี
เปรี ยบเทียบ จําแนกคําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ตีความแนวคิดที่ได้จากการเขียน สรุ ปเน้ื อหา
วรรณคดี วรรณกรรม ความรู ้และข้อคิดจากการอ่าน
         อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนข้อความ ย่อความ
จดหมายกิจธุ ระ รายงานศึกษาค้นคว้า พูดรายงานเรื่ องที่ศึกษาค้นคว้า ในโอกาสต่างๆ ท่องจําบทอาขยาน บท
ร้อยกรองตามความสนใจ
         มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้และ
อนุรักษ์ภาษาไทย เพื่อใช้ในชีวตประจําวัน
                             ิ

รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม,๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖, ม.๓/๙,
           ั
ม.๓/๑๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม,๓/๔, ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๕ ท
๕.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒, ม.๓/๔



รวมท้งหมด ๒๒ ตัวชี้วด
     ั              ั
คําอธิบายรายวิชา
ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒            เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต

         ศึกษา อธิ บายความหมายของคําศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ ระบุใจความสําคัญ และรายละเอียด
ข้อมูล วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น ที่ได้จากการอ่าน การฟังและการดูเพื่อแสดง ความคิดเห็น วิจารณ์เรื่ อง
ที่อ่าน ฟังและดู ความสมเหตุสมผล การลําดับตามความเป็ นไปได้ของ เรื่ อง สรุ ปเนื้ อหาวรรณกรรมท้องถิ่น
ความรู ้ และข้อคิดจากการอ่าน
         อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนอธิ บายชี้ แจง แสดง
ความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ชีวประวัติและอัตชีวประวัติ กรอกแบบสมัครงาน พร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับ
ความรู ้และทักษะของตนเอง พูดโน้มน้าวโดยนําเสนอ
         มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้และ
อนุรักษ์ภาษาไทย เพื่อใช้ในชีวตประจําวัน
                             ิ


รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม,๓/๓, ม.๓/๖,ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐
           ั
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๕, ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๕ ท ๕.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒



รวมท้งหมด ๑๖ ตัวชี้วด
     ั              ั
โครงสร้างรายวชา
             ิ
วเิ คราะห์
มาตรฐาน
การเรียนรู้
วเิ คราะห์
 ตัวชี้วด
        ั
การวิเคราะห์ ตัวชี้วดสู่ การพัฒนาทักษะการคิด ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
                                                 ั
       สาระที่ ๑ การอ่ าน
       มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่ านสร้ างความรู้และความคิด เพือนําไปใช้ ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา
                                                                  ่
                         ในการดําเนินชี วตและมีนิสัยรักการอ่าน
                                         ิ
          ตัวชี้วด
                 ั            นักเรียนรู้ อะไร/ทําอะไรได้         ทักษะการคิด    ชิ้นงาน/ภาระงาน      แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ
                                                                                                                              ่
                                                                                                        พัฒนาทักษะการคิด
๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว   นักเรียนรู้ อะไร                     ๑.ทักษะการ -อ่านออกเสียงร้อย      -ศึกษาหลักการอ่านออกเสี ยง
และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง      -การอ่านออกเสียงบทร้อย               คิดเชื่อมโยง แกว ้                ร้อยแกวและอ่านทานอง
                                                                                                           ้         ํ
เหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน          ้ ้ ํ
                             แกวตองคานึงถึงอกขรวธี   ั ิ          ๒.ทักษะ      -อ่านทํานองเสนาะ     เสนาะ
                             การเว้นวรรคตอนให้                    การคิด                            -เลือกบทอ่านทานองเสนาะ
                                                                                                                 ํ
                             เหมาะสม รวมทั้งท่าทางและ
                                                                  บูรณาการ                          ที่ชอบและสนใจ
                             มารยาทการในการอ่าน ส่วน
                             การอ่านออกเสียงบทร้อย                                                  -ศึกษาการอ่านทํานองเสนาะ
                             กรองผูอ่านต้องออกเสี ยงให้
                                          ้
                             ถูกตองตามลกษณะคา
                                    ้           ั       ํ
                             ประพนธ์และทาลีลาน้ าเสียง
                                      ั           ํ       ํ
                             ให้สอดคล้องกับเรื่ องที่อ่าน
                             นักเรียนทําอะไรได้
                             -อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
                             และร้อยกรองได้เหมาะสมกับ
                             ลกษณะงานเขียนที่อ่าน
                               ั
๒. จบใจความสาคญจากเรื่อง
      ั     ํ ั              นักเรียนรู้ อะไร                     ๑.ทักษะการ -อ่านจับใจความ         -ศึกษาหลักการอ่านจับ
ที่อ่าน                      -การระบุคา/ประโยคสาคญ
                                             ํ              ํ ั   คิด        สําคัญจากบทความ        ใจความสําคัญ
                             ของเรื่ องที่อ่านและนํามาเรี ยบ      หลากหลาย และเน้ือเรื่อง           -อ่านจับใจความสําคัญจาก
                             เรี ยงใหม่ก็จะทําให้สามารถจับ        ๒.ทักษะ                           บทความและเนื้อเรื่ องที่
                             ใจความสาคญของเรื่องน้ นได้
                                            ํ ั               ั
                                                                  การคิด                              ํ
                                                                                                    กาหนดให้
                             นักเรียนทําอะไรได้
                                                                  วิจารณญาณ
                             -อ่านจบใจความสาคญได้
                                        ั           ํ ั
ตัวชี้วด
                     ั                    นักเรียนร้ ู อะไร/ทําอะไรได้           ทักษะการคิด       ชิ้นงาน/ภาระงาน         แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ
                                                                                                                                                   ่
                                                                                                                             พัฒนาทักษะการคิด
๓. ระบุเหตุและผล และ         นักเรียนรู้ อะไร                                    ๑.ทักษะการ -แบบฝึ กหดการแยก
                                                                                                         ั               -ศึกษาเนื้อหาการแยก
              ั ้
ขอเทจจริงกบขอคิดเห็นจาก
  ้ ็                        -ขอเทจจริงเป็นลกษณะของ
                                         ้ ็                         ั           คิดวเิ คราะห์ ขอเทจจริงขอคิดเห็น
                                                                                                 ้ ็       ้             ข้อเทจจริง ขอคิดเห็น
                                                                                                                                ็         ้
เรื่องที่อ่าน                เหตุการณ์ที่เกิดแล้ว หรื อมี                        ๒.ทักษะ       -การวิเคราะห์ข่าว         -อ่านเรื่ องต่าง ๆ แล้วแยก
                             เนื้อหาแสดงกฎเกณฑ์หรื อ                             การคิดมี                                ขอเทจจริง ขอคิดเห็น
                                                                                                                            ้ ็         ้
                             ข้อมูลที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว
                                                                                 วิจารณญาณ                               -อ่านเรื่ องต่าง ๆ แล้ว
                             ส่วนขอคิดเห็นเป็นลกษณะ
                                                ้                      ั
                             ของเนื้อความที่แสดงถึงความ                          ๓.ทักษะ                                 วเิ คราะห์เหตุผลเกี่ยวกบเรื่อง
                                                                                                                                                 ั
                             เชื่อ ค่านิยม และทัศนคติ                            การคิด                                  ที่อ่าน
                             ส่วนตว การจาแนกขอเทจจริง
                                                  ั           ํ          ้ ็        ้
                                                                                 แกปัญหา
                                  ั ้
                             กบขอคิดเห็นทาใหนกเรียน             ํ ้ ั
                             สามารถอ่านอยางมี                    ่
                             วจารณญาณ
                                ิ
                             นักเรียนทําอะไรได้
                             -จําแนกข้อเท็จจริ งและ
                             ขอคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้
                                   ้
                             พร้อมระบุสาเหตุและผลที่
                             ได้รับ
๔. ระบุและอธิบายคํา          นักเรียนรู้ อะไร                                    ๑.ทักษะการ      -ใบงานการ               -ศึกษาชนิดของคําที่มีหลาย
เปรี ยบเทียบ และคําที่มีหลาย -คาบางคามีหลายความหมาย
                                          ํ             ํ                        คิดวเิ คราะห์   เปรี ยบเทียบคําจาก      ความหมาย
ความหมายในบริบทต่างๆ จาก ทั้งความหมายโดยตรงและ
                                                                                 ๒.ทักษะคิด      บริ บทจากการอ่าน        -อธิ บายคําจากบริ บทต่าง ๆ
การอ่าน                      ความหมายเชิงเปรี ยบเทียบ                            เปรียบเทียบ     -การรวบรวมคํา           จากการอ่าน
                             จะตองพจารณาบริบทของคา
                                             ้ ิ                             ํ
                                                                                 ๓.ทักษะคิด      หลายความหมาย            -เปรี ยบเทียบคําจากการอ่าน
                             น้ น จึงจะแปลความหมายได้
                                       ั
                             ถูกตอง           ้                                  มี
                             นักเรียนทําอะไรได้                                  วิจารณญาณ
                             -แปลความหมายของคํา
                             ไดถูกตองตามบริบท
                                            ้ ้
๕. ตีความคายากในเอกสาร
            ํ                นักเรียนรู้ อะไร                                    ๑.ทักษะคิด      -การแยกคํายากจาก        -การศึกษาบทความต่าง ๆ
วชาการ โดยพิจารณาจาก
 ิ                           -การตีความคายากในเอกสาร        ํ                    วิเคราะห์       การอ่าน                 -การแยกคํายากจากเรื่ องที่
บริบท                        วชาการจาเป็นตองแปลความ
                              ิ                           ํ        ้             ๒.ทักษะ         -การอ่านตีความเรื่ อง   อ่านได้
                             โดยใชศพทานุกรมและ      ้ั
                                                                                 การตีความ       ต่าง ๆ                  -การตีความคํายากจาก
                             พิจารณาบริ บทของความนั้น
                             ๆ ด้วยจึงจะได้ความหมายของ                                                                   บทความที่อ่าน
                             คาที่ถูกตองชดเจน
                                     ํ                 ้ ั
ตัวชี้วด
                       ั                          นักเรียนรู้ อะไร/ทําอะไรได้                   ทักษะการคิด     ชิ้นงาน/ภาระงาน       แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ
                                                                                                                                                              ่
                                                                                                                                        พัฒนาทักษะการคิด
                                  นักเรียนทําอะไรได้
                                  -แปลความและตีความหมาย
                                  คายากจากเอกสารวชาการและ
                                          ํ                                  ิ
                                               ้ ํ ํ ั
                                  ใหคาจากดความได้
๖. ระบุขอสงเกตและความ
             ้ ั                  นักเรียนรู้ อะไร                                              ๑.ทักษะคิด -การอธิ บาย วิเคราะห์    -ศึกษาบทความประเภท
สมเหตุสมผลของงานเขียน             -การอ่านงานเขียนประเภทชก                                  ั   สังเคราะห์ บทความประเภท             โน้มน้าวใจต่าง ๆ
ประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ            จูงโนมนาวใจผอ่านตอง
                                                   ้ ้          ู้              ้               ๒.ทักษะคิด โน้มน้าวใจ               -วิเคราะห์บทความต่าง ๆ
                                  ประเมินความน่าเชื่อถือของ                                     มี                                  ตามเหตุผลและขอคิดเห็น
                                                                                                                                                    ้
                                  เนื้อความนั้นโดยใชหลกการ                     ้ ั
                                                                                                วจารณญาณ
                                                                                                  ิ                                 ขอเทจจริง
                                                                                                                                      ้ ็
                                  เหตุผลที่พิสูจน์ได้และได้รับ
                                  การยอมรับโดยทวไป                 ่ั
                                                                                                ๓.ทักษะคิด
                                  นักเรียนทําอะไรได้                                            เชิงมโน
                                  -อ่านงานเขียนแลวบอกเหตุ             ้                         ทศน์ั
                                                       ่
                                  ผลได้วาควรเชื่อถือหรื อไม่
๗. ปฏิบติตามคู่มือแนะนํา
           ั                      นักเรียนรู้ อะไร                                              ๑.ทักษะคิด       ํ ่ ั
                                                                                                              -ทาแผนพบแนะนํา        -ศึกษาการใช้อุปกรณ์ตาม
วิธีการใช้งานของเครื่องมือ        -เครื่ องมือ เครื่ องใช้ที่มี                                 ประยุกต์      การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ   คู่มือต่าง ๆ
หรื อเครื่ องใช้ในระดับที่ยากขึ้น วธีการใช้ ที่ซบซอน ผใช้
                                      ิ                     ั ้ ู้                              ๒.ทักษะคิด    -เขียนอธิ บายการ      -อธิ บายการปฏิบติตนได้
                                                                                                                                                      ั
                                  จะตองศึกษาคู่มือ ที่แนะนํา
                                                 ้
                                                                                                สร้างสรรค์    ปฏิบติตนไดถูกตอง
                                                                                                                    ั      ้ ้      ถูกต้องตามคู่มือแนะนํา
                                  การใชใหเ้ ขาใจอยางชดเจน
                                                    ้ ้                 ่ ั
                                  เสียก่อน เพื่อไม่ใหเ้ กิดความ                                               ตามคู่มือแนะนา ํ      -ใชเ้ ครื่องมือไดถูกตองตาม
                                                                                                                                                     ้ ้
                                  ผิดพลาดในการใชและเกิด                    ้                                                        คู่มือแนะนาต่าง ๆ
                                                                                                                                                 ํ
                                  ประโยชน์สูงสุด
                                  นักเรียนทําอะไรได้
                                  -อ่านคาแนะนาวธีการใชงาน
                                                     ํ       ํ ิ                        ้
                                  ของเครื่องมือเครื่องใชใน                        ้
                                  เอกสารคู่มือแลวนาไปปฏิบติ    ้ ํ                        ั
                                  ไดถูกตองเหมาะสม
                                              ้ ้
๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจาก นักเรียนรู้ อะไร                                                 ๑.ทักษะคิด -การเขียนข้อคิดที่ได้    -อ่านบทความต่าง ๆ แล้ว
การอ่านงานเขียนอยาง  ่            -การวเิ คราะห์คุณค่าที่ไดรับ                      ้           อนาคต      จากการอ่านวิเคราะห์      วิเคราะห์คุณค่าที่ได้จากเรื่ อง
หลากหลายเพื่อนาไปใช้
                   ํ              จาการอ่านท้ งดานการใชภาษาั ้                        ้         ๒.ทักษะคิด เรื่ องต่าง ๆ            -นักเรี ยนบอกการนําคุณค่าที่
แก้ปัญหาในชีวต   ิ                วธีการเขียน และขอคิดในการ
                                    ิ                                    ้
                                                                                                ประยุกต์                            ได้จากการอ่านไป
                                  ดารงชีวต จะทาใหสามารถ
                                        ํ                ิ    ํ ้
                                  นาความรู ้ไปประยุกต์ใช้
                                            ํ                                                                                                    ั ิ
                                                                                                                                    ประยุกต์ใช้กบชีวตอย่างไร
                                  ให้เกิดประโยชน์ได้
ตัวชี้วด
                ั       นักเรียนร้ ู อะไร/ทําอะไรได้    ทักษะการคิด   ชิ้นงาน/ภาระงาน     แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ
                                                                                                                  ่
                                                                                            พัฒนาทักษะการคิด
                       นักเรียนทําอะไรได้
                       -วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจาก
                       การอ่านและนาไปใช้
                                       ํ
                       แก้ปัญหาได้
๙. มีมารยาทในการอ่าน   นักเรียนรู้ อะไร                 ๑.ทักษะคิด -ใบงานสรุ ปมารยาท    -นักเรี ยนบอกมารยาทในการ
                       -ในการอ่านใดๆ ส่ิงสาคญที่
                                              ํ ั       เชิงมโน     ในการอ่าน           อ่านตามความเข้าใจของ
                                         ่ ิ่
                       ควรคํานึงเป็ นอยางยงคือตองมี
                                                  ้     ทศน์
                                                          ั                             นักเรี ยนว่ามีอะไรบ้าง
                       มารยาทในการอ่าน เพื่อให้         ๒.ทักษะคิด                      -นกเรียนศึกษามารยาทการ
                                                                                            ั
                       เกิดผลดีท้ งต่อตนเองและผูอื่น
                                   ั                ้
                                                        เปรียบเทียบ                     อ่านจากหนังสื อ
                       นักเรียนทําอะไรได้
                                                                                        -เปรี ยบเทียบมารยาทการ
                       -อ่านอยางมีมารยาท
                               ่
                                                                                        อ่านตามความเข้าใจของ
                                                                                        นกเรียนและหนงสือเรียนวา
                                                                                          ั              ั       ่
                                                                                        เหมือนหรือแตกต่างกน    ั
                                                                                        อย่างไร
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2kuraek1530
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 

Mais procurados (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 

Semelhante a วิเคราะห์หลักสูตรไทย55

หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 

Semelhante a วิเคราะห์หลักสูตรไทย55 (20)

หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
Thai 4
Thai 4Thai 4
Thai 4
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 

วิเคราะห์หลักสูตรไทย55

  • 1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่ าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหาในการ ั ดําเนินชี วตและมีนิสัยรักการอ่าน ิ สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ ้ ่ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู ้สึก ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณและสร้างสรรค์ ิ สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลกภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงของภาษาภูมิ ้ ั ั ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็ น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็ นคุณค่าและ นํามาประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ
  • 2. มาตรฐานการเรียนร้ ู ตัวชีวดและสาระการเรียนรู้ ้ั สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน ้ ั ํ ชีวต และมีนิสัยรักการอ่าน ิ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว และ บทร้อย  การอ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย กรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย - บทร้อยกรอง เช่น กลอนสุ ภาพ กลอนสักวา กาพย์ยานี ๑๑ กาพยฉบง ๑๖ กาพยสุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่สุภาพ ์ ั ์ ๒. จับใจความสําคัญจากเรื่ องที่อ่าน  การอ่านจบใจความจากสื่อต่างๆ เช่น ั ๓. ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริ งกับข้อคิดเห็น - เรื่ องเล่าจากประสบการณ์ จากเรื่ องที่อ่าน - เรื่ องสั้น ๔. ระบุและอธิ บายคําเปรี ยบเทียบ และคําที่มี - บทสนทนา หลายความหมายในบริบทต่างๆ จากการอ่าน - นิทานชาดก ๕. ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณา ํ - วรรณคดีในบทเรี ยน จากบริ บท - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ ๖. ระบุขอสังเกตและความสมเหตุสมผลของงาน ้ - บทความ เขียนประเภทชักจูง โน้มน้าวใจ - สารคดี - บันเทิงคดี - เอกสารทางวิชาการที่มีคา ประโยค และขอความ ํ ้ ที่ตองใช้บริ บทช่วยพิจารณาความหมาย ้ - งานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจเชิงสร้างสรรค์ ๗. ปฏิบติตามคู่มือแนะนาวิธีการใชงาน ของ ั ํ ้  การอ่านและปฏิบติตามเอกสารคู่มือ ั เครื่ องมือหรื อเครื่ องใช้ในระดับที่ยากขึ้น ๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียน  การอ่านหนังสื อตามความสนใจ เช่น อย่างหลากหลายเพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต - หนังสื อที่นกเรี ยนสนใจและเหมาะสมกับวัย ั - หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยนกําหนดร่ วมกัน ๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ม.๒ ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้  การอ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย ถูกต้อง - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยายและบทพรรณนา - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนนิ ทาน กลอนเพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง
  • 3. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๒. จับใจความสําคัญ สรุ ปความ และอธิ บาย  การอานจบใจความจากสื่อต่างๆ เช่น ่ ั รายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน - วรรณคดีในบทเรียน ๓. เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจใน - บทความ บทเรียนต่างๆ ที่อ่าน - บันทึกเหตุการณ์ ๔. อภิปรายแสดงความคิดเห็น และ ข้อโต้แย้ง - บทสนทนา เกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน - บทโฆษณา ๕. วิเคราะห์และจําแนกข้อเท็จจริ ง ข้อมูล - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ สนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน - งานเขียนหรื อบทความแสดงข้อเท็จจริ ง ๖. ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อ การ โน้มน้าว ้ - เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ หรื อความสมเหตุสมผลของงานเขียน ภาษาไทย และกล่มสาระการเรียนรู้อื่น ุ ๗. อ่านหนังสื อ บทความ หรื อคําประพันธ์อย่าง  การอ่านตามความสนใจ เช่น หลากหลาย และประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ - หนังสื ออ่านนอกเวลา ไดจากการอ่าน เพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต ้ - หนังสื อที่นกเรี ยนสนใจและเหมาะสมกับวัย ั - หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยนกําหนดร่ วมกัน ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ม.๓ ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง  การอ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย ไดถกตองและเหมาะสมกบเรื่องที่อ่าน ู้ ้ ั - บทร้อยแก้วที่เป็ นบทความทัวไปและบทความ ่ ปกิณกะ - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่สุภาพ ๒. ระบุความแตกต่างของคาที่มีความหมาย ํ  การอานจบใจความจากสื่อต่างๆ เช่น ่ ั โดยตรงและความหมายโดยนย ั - วรรณคดีในบทเรี ยน ๓. ระบุใจความสาคญและรายละเอียดของข้อมูล ํ ั - ข่าวและเหตุการณ์สาคญํ ั ที่สนับสนุนจากเรื่ องที่อ่าน - บทความ ๔. อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผัง - บนเทิงคดี ั ั ่ ความคิด บนทึก ยอความและรายงาน - สารคดี ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่อง ที่อ่าน - สารคดีเชิงประวติั โดยใช้กลวิธีการเปรี ยบเทียบเพื่อให้ผอ่าน ู้ - ตานาน ํ เขาใจไดดีข้ ึน ้ ้ - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ ๖. ประเมินความถกตองของขอมล ที่ใช้ ู ้ ้ ู - เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ่ สนับสนุนในเรื่ องที่อาน ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๗. วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดบความ ํ ั และความเป็ นไปได้ของเรื่ อง ๘. วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง เกี่ยวกบเรื่องที่อ่าน ั
  • 4. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๙. ตีความและประเมินคุณค่า และแนวคิดที่ได้  การอ่านตามความสนใจ เช่น จากงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนําไปใช้ - หนังสื ออ่านนอกเวลา แก้ปัญหาในชีวิต - หนังสื ออ่านตามความสนใจและตามวัยของ นกเรี ยน ั - หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนด ๑๐. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราวในรู ปแบบ ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการ เขียนตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่ อสารโดยใช้ถอยคําถูกต้องชัดเจน ้  การเขียนสื่ อสาร เช่น เหมาะสม และสละสลวย - การเขียนแนะนําตนเอง - การเขียนแนะนําสถานที่สาคัญๆ ํ - การเขียนบนสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ ๓. เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุ  การบรรยายประสบการณ์ สาระสําคัญและรายละเอียดสนับสนุน ๔. เขียนเรี ยงความ  การเขียนเรียงความเชิงพรรณนา ๕. เขียนย่อความจากเรื่ องที่อ่าน  การเขียนยอความจากสื่อต่างๆ เช่น เรื่ องสั้น คํา ่ สอน โอวาท คาปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ ํ คาสง บทสนทนาเรื่องเล่าประสบการณ์ ํ ั่ ๖. เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่ อที่  การเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่ อ ได้รับ ต่างๆ เช่น - บทความ - หนังสื ออ่านนอกเวลา - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวน ํ ั - เหตุการณ์สาคญต่างๆ ํ ั
  • 5. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๗. เขียนจดหมายส่วนตวและจดหมาย กิจธุระ ั  การเขียนจดหมายส่ วนตัว - จดหมายขอความช่วยเหลือ - จดหมายแนะนํา  การเขียนจดหมายกิ จธุ ระ - จดหมายสอบถามข้อมูล ๘. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน  การเขียนรายงาน ไดแก่ ้ - การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า - การเขียนรายงานโครงงาน ๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม.๒ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการ เขียน ตัวอักษรไทย ๒. เขียนบรรยายและพรรณนา  การเขียนบรรยายและพรรณนา ๓. เขียนเรี ยงความ  การเขียนเรี ยงความเกี่ยวกับประสบการณ์ ๔. เขียนย่อความ  การเขียนยอความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ่ คํา สอน บทความทางวิชาการ บนทึกเหตุการณ์ ั เรื่ องราวในบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น นิทานชาดก ๕. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า  การเขียนรายงาน - การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า - การเขียนรายงานโครงงาน ๖. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิ จธุ ระ - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ ๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู ้ ความ  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ คิดเห็น หรือโตแยง ้ ้ ในเรื่องที่อ่าน คิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อต่างๆ เช่น ้ ้ อย่างมีเหตุผล - บทความ - บทเพลง - หนังสื ออ่านนอกเวลา - สารคดี - บันเทิงคดี ๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
  • 6. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด  การคดลายมือตวบรรจงคร่ ึ งบรรทดตามรู ปแบบการ ั ั ั เขียนตัวอักษรไทย ๒. เขียนข้อความโดยใช้ถอยคําได้ถกต้องตาม ้ ู  การเขียนขอความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ ้ ระดบภาษา ั เช่น - คําอวยพรในโอกาสต่างๆ - คําขวัญ - คําคม - โฆษณา - คติพจน์ - สุ นทรพจน์ ๓. เขียนชีวประวัติหรื ออัตชีวประวัติโดยเล่า  การเขียนอัตชี วประวัติหรื อชี วประวัติ เหตุการณ์ ข้อคิดเห็น และทัศนคติในเรื่ องต่างๆ ๔. เขียนย่อความ การเขียนยอความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ประวัติ  ่ ตํานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดํารัส พระบรม ราโชวาท จดหมายราชการ ๕. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิ จธุ ระ - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ - จดหมายแสดงความขอบคุณ ๖. เขียนอธิ บาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและ  การเขียนอธิ บาย ชี้ แจง แสดงความคิ ดเห็น และโต้แย้ง โต้แย้งอย่างมีเหตุผล ในเรื่ องต่างๆ ๗. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ คิดเห็น หรือโตแยง ้ ้ ในเรื่อง คิดเห็น หรื อโต้แย้งจากสื่ อต่างๆ เช่น ต่างๆ - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ ๘. กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยาย  การกรอกแบบสมครงาน ั เกี่ยวกบความรู้และทกษะ ของตนเองที่ ั ั เหมาะสมกับงาน ๙. เขียนรายงานการศึกษาคนควา และโครงงาน  การเขียนรายงาน ได้แก่ ้ ้ - การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า - การเขียนรายงานโครงงาน ๑๐. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน
  • 7. สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส ิ ต่างๆ อย่างมีวจารณญาณและสร้างสรรค์ ิ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. พูดสรุ ปใจความสําคัญของเรื่ องที่ฟังและดู  การพดสรุปความ พดแสดงความรู้ ความคิดอยาง ู ู ่ ๒. เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่ฟังและดู สร้างสรรค์จากเรื่ องที่ฟังและดู ๓. พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับ  การพูดประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้อหา เรื่ องที่ฟังและดู โน้มน้าว ๔. ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้ อหาโน้ม น้าวใจ ๕. พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า  การพูดรายงานการศึกษาคนควาจากแหล่งเรี ยนรู ้ ้ ้ จากการฟัง การดู และการสนทนา ต่างๆ ในชุมชน และทองถ่ินของตน ้ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพด ู  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ม.๒ ๑. พูดสรุ ปใจความสําคัญของเรื่ องที่ฟังและดู  การพูดสรุ ปความจากเรื่ องที่ฟังและดู ๒. วิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น และความ ้  การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่างๆ ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมี เหตุผลเพื่อนําข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการ ดําเนินชีวิต ๔. พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์  การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น - การพูดอวยพร - การพูดโน้มน้าว - การพดโฆษณา ู ๕. พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า  การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้ ต่างๆ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพด ู  มารยาทในการฟัง การดู และการพด ู ม.๓ ๑. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่ องจากการ  การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่ องจากการ ฟังและการดู ฟังและการดู ๒. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดู  การพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู เพื่อนําข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต ๓. พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า  การพดรายงานการศึกษาคนควาเกี่ยวกบ ู ้ ้ ั ภูมิ จากการฟัง การดู และการสนทนา ปัญญาท้องถิ่น ๔. พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์  การพดในโอกาสต่างๆ เช่น ู - การพดโตวาที ู ้ - การอภิปราย - การพูดยอวาที
  • 8. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๕. พูดโน้มน้าวโดยนําเสนอหลักฐานตามลาดบ ํ ั  การพูดโน้มน้าว เนื้อหาอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพด ู  มารยาทในการฟัง การดู และการพด ู สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลกภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ ้ ั ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธิ บายลักษณะของเสี ยงในภาษาไทย เสี ยงในภาษาไทย  ๒. สร้างคาในภาษาไทย ํ  การสร้างคา ํ - คาประสม คาซ้ า คาซอน ํ ํ ํ ํ ้ - คําพ้อง ๓. วิเคราะห์ชนิดและหนาที่ของคาในประโยค ้ ํ  ชนิ ดและหน้าที่ของคํา ๔. วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพดและภาษา  ภาษาพด ู ู เขียน  ภาษาเขียน ๕. แต่งบทร้อยกรอง  กาพยยานี ๑๑ ์ ๖. จําแนกและใช้สานวนที่เป็ นคําพังเพยและ ํ  สํานวนที่เป็ นคําพังเพยและสุ ภาษิต สุ ภาษิต ม.๒ ๑. สร้างคาในภาษาไทย ํ  การสร้างคาสมาส ํ ๒. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามญประโยค ั  ลกษณะของประโยคในภาษาไทย ั รวม และประโยคซอน ้ - ประโยคสามญ ั - ประโยครวม - ประโยคซอน ้ ๓. แต่งบทร้อยกรอง  กลอนสุ ภาพ ๔. ใชคาราชาศพท์ ้ ํ ั  คําราชาศพท์ ั ๕. รวบรวมและอธิ บายความหมายของ คํา  คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ํ ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
  • 9. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. จาแนกและใชคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน ํ ้ ํ  คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ํ ภาษาไทย ๒. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซบซอน ั ้  ประโยคซบซอนั ้ ๓. วิเคราะห์ระดบภาษา ั  ระดบภาษา ั ๔. ใช้คาทับศัพท์และศัพท์บญญัติ ํ ั  คําทับศัพท์  คําศัพท์บญญัติ ั ๕. อธิบายความหมายคาศพททางวิชาการและ ํ ั ์  คาศพททางวิชาการและวิชาชีพ ํ ั ์ วิชาชีพ ๖. แต่งบทร้อยกรอง  โคลงสี่สุภาพ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนํามา ประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน  วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกบ ั - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิตคาสอน ํ - เหตุการณ์ประวติศาสตร์ ั - บนเทิงคดี ั - บันทึกการเดินทาง - วรรณกรรมทองถ่ิน ้ ๒. วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ที่อ่าน  การวิเคราะห์คุณค่าและขอคิดจากวรรณคดีและ ้ พร้อมยกเหตุผลประกอบ วรรณกรรม ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่ อ่าน ๔. สรุ ปความรู้และขอคิดจากการอ่านเพื่อ ้ ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง ํ ๕. ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ ํ - บทอาขยานตามที่กาหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ
  • 10. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านใน  วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกบ ั ระดบที่ยากข้ ึน ั - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิต คาสอน ํ - เหตุการณ์ประวติศาสตร์ ั - บนเทิงคดี ั - บันทึกการเดินทาง ๒. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม  การวิเคราะห์คุณค่าและขอคิดจากวรรณคดี ้ และวรรณกรรมทองถ่ินที่อ่าน พร้อมยก ้ วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น เหตุผลประกอบ ๓. อธิ บายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่ อ่าน ๔. สรุ ปความรู้และขอคิดจากการอ่าน ไป ้ ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง ํ ๕. ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาหนดํ - บทร้อยกรองตามความสนใจ ม.๓ ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรมและ  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถ่ิน้ วรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ยากยิงขึ้น ่ เกี่ยวกับ - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิตคาสอน ํ - เหตุการณ์ในประวติศาสตร์ ั - บนเทิงคดี ั ๒. วิเคราะหวิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและ ์  การวิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดีและ วรรณกรรมที่อาน่ วรรณกรรม ๓. สรุปความรู้และขอคิดจากการอ่าน เพื่อ ้ นําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง ๔. ท่องจําและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า กําหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ ํ - บทอาขยานตามที่กาหนด สนใจและนําไปใช้อางอิง ้ - บทร้อยกรองตามความสนใจ
  • 11. ภาษาไทย ท ๒๑๑๐๑ - ๒๓๑๐๑ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ - ๓
  • 13. คําอธิบายรายวิชา ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ศึกษาอธิ บายลักษณะของเสี ยงในภาษาไทย คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ระบุขอสังเกต ้ ของประเภทโน้มน้าวใจ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค วรรณคดีและวรรณกรรม ที่อ่าน จับ ใจความสําคัญจากเรื่ องที่อ่าน สรุ ปเนื้ อหาจากการฟัง อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยาย เรี ยงความ ย่อความและจดหมาย พูดสรุ ปใจความสําคัญ แสดงความคิดเห็น เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ อง ที่ฟังและดู ท่องจําบท อาขยานและบทร้อยกรอง มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษาไทย ในการสื่ อสาร รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ั ท ๔.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๕.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕ รวมท้งหมด ๓๒ ตัวชี้วด ั ั
  • 14. คําอธิบายรายวิชา ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ศึกษา อธิ บายคําเปรี ยบเทียบ คําที่มีหลายความหมาย คุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ระบุคาที่ ํ มีหลายความหมาย ความสมเหตุสมผล วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน จับใจความสําคัญจากเรื่ องที่ อ่าน ตีความคํายากในเอกสารวิชาการ สรุ ปข้อคิดที่ได้จากการฟัง อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนสื่ อสารแสดงความคิดเห็น รายงาน การศึกษาค้นคว้าและโครงงาน พูดรายงานและเล่าเรื่ องจากเรื่ องที่ฟังและดู แต่งบทร้อยกรอง มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการเขียน ตระหนักและเห็นคุณค่าใน การใช้ ภาษาไทยในการสื่ อสาร รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ั ท ๔.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖ ท ๕.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕ รวมท้งหมด ๓๒ ตัวชี้วด ั ั
  • 15. คําอธิบายรายวิชา ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ศึกษาอธิ บายความหมายของคําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ที่อ่าน ระบุขอสังเกต การโน้มน้าว วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยคความรวม ประโยคซ้อน ้ ประโยคซับซ้อน วรรณคดี วรรณกรรม จําแนกข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน จับใจความสําคัญ จากเรื่ องที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดที่ได้จากการอ่าน ประเมินคุณค่าที่ได้ จากการอ่านวรรณคดีและ ้ ้ วรรณกรรมเพื่อนาไปใชแกปัญหาในชีวิต ํ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง อ่านหนังสื อ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยาย พรรณนา เรี ยงความ ย่อความ จดหมายกิจธุ ระและผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจ ในบทเรี ยนต่างๆ พูดสรุ ป ใจความสําคัญในโอกาสต่าง ท่องจําบทอาขยาน บทร้อยกรอง มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่า ในการใช้ ภาษาไทยในการสื่ อสารให้ถูกต้อง รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๗ ท ๒.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖ ั ท ๔.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ รวมท้งหมด ๓๑ ตัวชี้วด ั ั
  • 16. คําอธิบายรายวิชา ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ศึกษา อธิ บายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ระบุความสมเหตุสมผลของงานเขียน วิเคราะห์ ระดับภาษาที่ใช้ในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรมท้องถิ่น ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น จากเรื่ องที่อ่าน ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล สรุ ปความรู ้ที่ได้จากการอ่าน ประเมินคุณค่าที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อนําไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวต ิ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง อ่านบทความ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนย่อความ เรี ยงความ รายงานการศึกษาค้นคว้า และผังความคิด เพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนต่างๆ พูดรายงานเรื่ อง หรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า แต่งบทร้อยกรอง และใช้คาราชาศัพท์ ํ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าใน การใช้ ภาษาไทยในการสื่ อสารให้ถูกต้อง รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๗ ท ๒.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖ ั ท ๔.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ ท ๕.๑ ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม,๒/๔, ม.๒/๕ รวมท้งหมด ๓๑ ตัวชี้วด ั ั
  • 17. คําอธิบายรายวิชา ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ศึกษา อธิ บายความหมายของคําศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ บอกคุณค่าบทอาขยานและ บทร้อย กรอง ระบุความแตกต่างของคําที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย วิเคราะห์โครงสร้างประโยค ซับซ้อน ระดับภาษา วิถีไทย วรรณคดีและวรรณกรรมที่ได้จากการอ่าน การฟัง และการดู โดยใช้กลวิธี เปรี ยบเทียบ จําแนกคําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ตีความแนวคิดที่ได้จากการเขียน สรุ ปเน้ื อหา วรรณคดี วรรณกรรม ความรู ้และข้อคิดจากการอ่าน อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนข้อความ ย่อความ จดหมายกิจธุ ระ รายงานศึกษาค้นคว้า พูดรายงานเรื่ องที่ศึกษาค้นคว้า ในโอกาสต่างๆ ท่องจําบทอาขยาน บท ร้อยกรองตามความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้และ อนุรักษ์ภาษาไทย เพื่อใช้ในชีวตประจําวัน ิ รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม,๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖, ม.๓/๙, ั ม.๓/๑๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม,๓/๔, ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๕ ท ๕.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒, ม.๓/๔ รวมท้งหมด ๒๒ ตัวชี้วด ั ั
  • 18. คําอธิบายรายวิชา ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ศึกษา อธิ บายความหมายของคําศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ ระบุใจความสําคัญ และรายละเอียด ข้อมูล วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น ที่ได้จากการอ่าน การฟังและการดูเพื่อแสดง ความคิดเห็น วิจารณ์เรื่ อง ที่อ่าน ฟังและดู ความสมเหตุสมผล การลําดับตามความเป็ นไปได้ของ เรื่ อง สรุ ปเนื้ อหาวรรณกรรมท้องถิ่น ความรู ้ และข้อคิดจากการอ่าน อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนอธิ บายชี้ แจง แสดง ความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ชีวประวัติและอัตชีวประวัติ กรอกแบบสมัครงาน พร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับ ความรู ้และทักษะของตนเอง พูดโน้มน้าวโดยนําเสนอ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้และ อนุรักษ์ภาษาไทย เพื่อใช้ในชีวตประจําวัน ิ รหัสตัวชี้วด ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม,๓/๓, ม.๓/๖,ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐ ั ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๕, ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๕ ท ๕.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒ รวมท้งหมด ๑๖ ตัวชี้วด ั ั
  • 22. การวิเคราะห์ ตัวชี้วดสู่ การพัฒนาทักษะการคิด ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ั สาระที่ ๑ การอ่ าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่ านสร้ างความรู้และความคิด เพือนําไปใช้ ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา ่ ในการดําเนินชี วตและมีนิสัยรักการอ่าน ิ ตัวชี้วด ั นักเรียนรู้ อะไร/ทําอะไรได้ ทักษะการคิด ชิ้นงาน/ภาระงาน แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ ่ พัฒนาทักษะการคิด ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้ว นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะการ -อ่านออกเสียงร้อย -ศึกษาหลักการอ่านออกเสี ยง และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง -การอ่านออกเสียงบทร้อย คิดเชื่อมโยง แกว ้ ร้อยแกวและอ่านทานอง ้ ํ เหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน ้ ้ ํ แกวตองคานึงถึงอกขรวธี ั ิ ๒.ทักษะ -อ่านทํานองเสนาะ เสนาะ การเว้นวรรคตอนให้ การคิด -เลือกบทอ่านทานองเสนาะ ํ เหมาะสม รวมทั้งท่าทางและ บูรณาการ ที่ชอบและสนใจ มารยาทการในการอ่าน ส่วน การอ่านออกเสียงบทร้อย -ศึกษาการอ่านทํานองเสนาะ กรองผูอ่านต้องออกเสี ยงให้ ้ ถูกตองตามลกษณะคา ้ ั ํ ประพนธ์และทาลีลาน้ าเสียง ั ํ ํ ให้สอดคล้องกับเรื่ องที่อ่าน นักเรียนทําอะไรได้ -อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และร้อยกรองได้เหมาะสมกับ ลกษณะงานเขียนที่อ่าน ั ๒. จบใจความสาคญจากเรื่อง ั ํ ั นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะการ -อ่านจับใจความ -ศึกษาหลักการอ่านจับ ที่อ่าน -การระบุคา/ประโยคสาคญ ํ ํ ั คิด สําคัญจากบทความ ใจความสําคัญ ของเรื่ องที่อ่านและนํามาเรี ยบ หลากหลาย และเน้ือเรื่อง -อ่านจับใจความสําคัญจาก เรี ยงใหม่ก็จะทําให้สามารถจับ ๒.ทักษะ บทความและเนื้อเรื่ องที่ ใจความสาคญของเรื่องน้ นได้ ํ ั ั การคิด ํ กาหนดให้ นักเรียนทําอะไรได้ วิจารณญาณ -อ่านจบใจความสาคญได้ ั ํ ั
  • 23. ตัวชี้วด ั นักเรียนร้ ู อะไร/ทําอะไรได้ ทักษะการคิด ชิ้นงาน/ภาระงาน แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ ่ พัฒนาทักษะการคิด ๓. ระบุเหตุและผล และ นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะการ -แบบฝึ กหดการแยก ั -ศึกษาเนื้อหาการแยก ั ้ ขอเทจจริงกบขอคิดเห็นจาก ้ ็ -ขอเทจจริงเป็นลกษณะของ ้ ็ ั คิดวเิ คราะห์ ขอเทจจริงขอคิดเห็น ้ ็ ้ ข้อเทจจริง ขอคิดเห็น ็ ้ เรื่องที่อ่าน เหตุการณ์ที่เกิดแล้ว หรื อมี ๒.ทักษะ -การวิเคราะห์ข่าว -อ่านเรื่ องต่าง ๆ แล้วแยก เนื้อหาแสดงกฎเกณฑ์หรื อ การคิดมี ขอเทจจริง ขอคิดเห็น ้ ็ ้ ข้อมูลที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว วิจารณญาณ -อ่านเรื่ องต่าง ๆ แล้ว ส่วนขอคิดเห็นเป็นลกษณะ ้ ั ของเนื้อความที่แสดงถึงความ ๓.ทักษะ วเิ คราะห์เหตุผลเกี่ยวกบเรื่อง ั เชื่อ ค่านิยม และทัศนคติ การคิด ที่อ่าน ส่วนตว การจาแนกขอเทจจริง ั ํ ้ ็ ้ แกปัญหา ั ้ กบขอคิดเห็นทาใหนกเรียน ํ ้ ั สามารถอ่านอยางมี ่ วจารณญาณ ิ นักเรียนทําอะไรได้ -จําแนกข้อเท็จจริ งและ ขอคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้ ้ พร้อมระบุสาเหตุและผลที่ ได้รับ ๔. ระบุและอธิบายคํา นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะการ -ใบงานการ -ศึกษาชนิดของคําที่มีหลาย เปรี ยบเทียบ และคําที่มีหลาย -คาบางคามีหลายความหมาย ํ ํ คิดวเิ คราะห์ เปรี ยบเทียบคําจาก ความหมาย ความหมายในบริบทต่างๆ จาก ทั้งความหมายโดยตรงและ ๒.ทักษะคิด บริ บทจากการอ่าน -อธิ บายคําจากบริ บทต่าง ๆ การอ่าน ความหมายเชิงเปรี ยบเทียบ เปรียบเทียบ -การรวบรวมคํา จากการอ่าน จะตองพจารณาบริบทของคา ้ ิ ํ ๓.ทักษะคิด หลายความหมาย -เปรี ยบเทียบคําจากการอ่าน น้ น จึงจะแปลความหมายได้ ั ถูกตอง ้ มี นักเรียนทําอะไรได้ วิจารณญาณ -แปลความหมายของคํา ไดถูกตองตามบริบท ้ ้ ๕. ตีความคายากในเอกสาร ํ นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะคิด -การแยกคํายากจาก -การศึกษาบทความต่าง ๆ วชาการ โดยพิจารณาจาก ิ -การตีความคายากในเอกสาร ํ วิเคราะห์ การอ่าน -การแยกคํายากจากเรื่ องที่ บริบท วชาการจาเป็นตองแปลความ ิ ํ ้ ๒.ทักษะ -การอ่านตีความเรื่ อง อ่านได้ โดยใชศพทานุกรมและ ้ั การตีความ ต่าง ๆ -การตีความคํายากจาก พิจารณาบริ บทของความนั้น ๆ ด้วยจึงจะได้ความหมายของ บทความที่อ่าน คาที่ถูกตองชดเจน ํ ้ ั
  • 24. ตัวชี้วด ั นักเรียนรู้ อะไร/ทําอะไรได้ ทักษะการคิด ชิ้นงาน/ภาระงาน แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ ่ พัฒนาทักษะการคิด นักเรียนทําอะไรได้ -แปลความและตีความหมาย คายากจากเอกสารวชาการและ ํ ิ ้ ํ ํ ั ใหคาจากดความได้ ๖. ระบุขอสงเกตและความ ้ ั นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะคิด -การอธิ บาย วิเคราะห์ -ศึกษาบทความประเภท สมเหตุสมผลของงานเขียน -การอ่านงานเขียนประเภทชก ั สังเคราะห์ บทความประเภท โน้มน้าวใจต่าง ๆ ประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ จูงโนมนาวใจผอ่านตอง ้ ้ ู้ ้ ๒.ทักษะคิด โน้มน้าวใจ -วิเคราะห์บทความต่าง ๆ ประเมินความน่าเชื่อถือของ มี ตามเหตุผลและขอคิดเห็น ้ เนื้อความนั้นโดยใชหลกการ ้ ั วจารณญาณ ิ ขอเทจจริง ้ ็ เหตุผลที่พิสูจน์ได้และได้รับ การยอมรับโดยทวไป ่ั ๓.ทักษะคิด นักเรียนทําอะไรได้ เชิงมโน -อ่านงานเขียนแลวบอกเหตุ ้ ทศน์ั ่ ผลได้วาควรเชื่อถือหรื อไม่ ๗. ปฏิบติตามคู่มือแนะนํา ั นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะคิด ํ ่ ั -ทาแผนพบแนะนํา -ศึกษาการใช้อุปกรณ์ตาม วิธีการใช้งานของเครื่องมือ -เครื่ องมือ เครื่ องใช้ที่มี ประยุกต์ การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ คู่มือต่าง ๆ หรื อเครื่ องใช้ในระดับที่ยากขึ้น วธีการใช้ ที่ซบซอน ผใช้ ิ ั ้ ู้ ๒.ทักษะคิด -เขียนอธิ บายการ -อธิ บายการปฏิบติตนได้ ั จะตองศึกษาคู่มือ ที่แนะนํา ้ สร้างสรรค์ ปฏิบติตนไดถูกตอง ั ้ ้ ถูกต้องตามคู่มือแนะนํา การใชใหเ้ ขาใจอยางชดเจน ้ ้ ่ ั เสียก่อน เพื่อไม่ใหเ้ กิดความ ตามคู่มือแนะนา ํ -ใชเ้ ครื่องมือไดถูกตองตาม ้ ้ ผิดพลาดในการใชและเกิด ้ คู่มือแนะนาต่าง ๆ ํ ประโยชน์สูงสุด นักเรียนทําอะไรได้ -อ่านคาแนะนาวธีการใชงาน ํ ํ ิ ้ ของเครื่องมือเครื่องใชใน ้ เอกสารคู่มือแลวนาไปปฏิบติ ้ ํ ั ไดถูกตองเหมาะสม ้ ้ ๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจาก นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะคิด -การเขียนข้อคิดที่ได้ -อ่านบทความต่าง ๆ แล้ว การอ่านงานเขียนอยาง ่ -การวเิ คราะห์คุณค่าที่ไดรับ ้ อนาคต จากการอ่านวิเคราะห์ วิเคราะห์คุณค่าที่ได้จากเรื่ อง หลากหลายเพื่อนาไปใช้ ํ จาการอ่านท้ งดานการใชภาษาั ้ ้ ๒.ทักษะคิด เรื่ องต่าง ๆ -นักเรี ยนบอกการนําคุณค่าที่ แก้ปัญหาในชีวต ิ วธีการเขียน และขอคิดในการ ิ ้ ประยุกต์ ได้จากการอ่านไป ดารงชีวต จะทาใหสามารถ ํ ิ ํ ้ นาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ ํ ั ิ ประยุกต์ใช้กบชีวตอย่างไร ให้เกิดประโยชน์ได้
  • 25. ตัวชี้วด ั นักเรียนร้ ู อะไร/ทําอะไรได้ ทักษะการคิด ชิ้นงาน/ภาระงาน แนวการจัดการเรียนรู้ เพือ ่ พัฒนาทักษะการคิด นักเรียนทําอะไรได้ -วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจาก การอ่านและนาไปใช้ ํ แก้ปัญหาได้ ๙. มีมารยาทในการอ่าน นักเรียนรู้ อะไร ๑.ทักษะคิด -ใบงานสรุ ปมารยาท -นักเรี ยนบอกมารยาทในการ -ในการอ่านใดๆ ส่ิงสาคญที่ ํ ั เชิงมโน ในการอ่าน อ่านตามความเข้าใจของ ่ ิ่ ควรคํานึงเป็ นอยางยงคือตองมี ้ ทศน์ ั นักเรี ยนว่ามีอะไรบ้าง มารยาทในการอ่าน เพื่อให้ ๒.ทักษะคิด -นกเรียนศึกษามารยาทการ ั เกิดผลดีท้ งต่อตนเองและผูอื่น ั ้ เปรียบเทียบ อ่านจากหนังสื อ นักเรียนทําอะไรได้ -เปรี ยบเทียบมารยาทการ -อ่านอยางมีมารยาท ่ อ่านตามความเข้าใจของ นกเรียนและหนงสือเรียนวา ั ั ่ เหมือนหรือแตกต่างกน ั อย่างไร