SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                  โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                        ตะวันตก
               ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง



บทที ่ 1 วิ ธ ี ก ารทางประวั ต ิ ศ าสตร์ และการแบ่ ง ยุ ค
                   สมั ย ทางประวั ต ิ ศ าสตร์


  1.ประวั ต ิ ศ าสตร์
    หมายถึง การศึกษาเพื่ออธิบายอดีต สังคมของมนุษย์

ในมิติของเวลาโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ดังนั้น

ประวัติศาสตร์จึงเป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีตที่ส่งผลต่อ

สังคมของมนุษย์ และเราสามารถนำาเอาเรื่องราวในอดีตที่

ศึกษามาวิเคราะห์หรือทำานายเหตุการณ์ในอนาคตได้ด้วย

    ความสำาคัญของอดีต คือ อดีตจะครอบงำาความคิดและ

ความรู้ของเราอย่างกว้างขวางลึกซึ้ง อดีตที่เกี่ยวข้องกับ




                                                          1
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                      โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                            ตะวันตก
                   ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


กลุ่มคน/ความสำาคัญที่มีต่อเหตุการณ์และกลุ่มคนจะถูกนำา

มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน

    นักประวัติศาสตร์ จึงเป็นผู้บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้

สร้างประวัติศาสตร์ขึ้นจากหลักฐานประเภทต่างๆ ตามจุดมุ่ง

หมายและวิธีการคิด ซึ่งงานเขียนอาจนำาไปสู่การเป็นวิชา

ประวัติศาสต์ได้ในที่สุด ความมุ่งหมายในการเขียน

ประวัติศาสตร์ของนักประวัติศาสตร์ แบ่งได้ดังนี้

    -   นักประวัติศาสตร์รุ่นเก่า มุ่งสู่การรวมชาติ / รับใช้

        การเมือง

    -   นักประวัติศาสตร์รุ่นใหม่ มุ่งที่จะหาความจริง

        (Truth) จากอดีตและตีความโดยปราศจาก               อคติ

        (Bias)


                                                                2
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                      โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                            ตะวันตก
                   ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง




      2.วิ ธ ี ก ารทางประวั ต ิ ศ าสตร์
        หมายถึง กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทาง

ประวัติศาสตร์ ซึ่งเกิดจากวิธีวิจัยเอกสารและหลักฐานประ

กอบอื่นๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์

บนพื้นฐานของความเป็นเหตุเป็นผล และการวิเคราะห์

เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยขั้นตอนต่อไป
นี้

       ขั ้ น ที ่ ห นึ ่ ง การกำาหนดเป้าหมายหรือประเด็นที่

ต้องการศึกษา แสวงหาคำาตอบด้วยเหตุและผล (ศึกษาอะไร

ช่วงเวลาไหน สมัยใด และเพราะเหตุใด)




                                                              3
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                   โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                         ตะวันตก
                ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


    ขั ้ น ที ่ ส อง การค้นหาและรวบรวมหลักฐานประเภท

ต่างๆ ทั้งที่เป็นลานลักษณ์อักษร และไม่เป็นลายลักษณ์

อักษร ซึ่งได้แก่ วัตถุโบราณ ร่องรอยถิ่นที่อยู่อาศัย หรือการ

ดำาเนินชีวิต

    ขั ้ น ที ่ ส าม การวิเคราะห์หลักฐาน (การตรวจสอบ

การประเมินความน่าเชื่อถือ การประเมินคุณค่าของหลัก

ฐาน) การตีความหลักฐานอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีความ

เป็นกลาง และปราศจากอคติ

    ขั ้ น ที ่ ส ี ่ การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบคำาถามด้วยการ

เลือกสรรข้อเท็จจริงจากหลักฐานอย่างเคร่งครัด โดยไม่ใช้

ค่านิยมของตนเองไปตัดสินพฤติกรรมของคนในอดีต โดย




                                                                4
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                   โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                         ตะวันตก
                ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


พยายามเข้าใจความคิดของคนในยุคนั้น หรือนำาตัวเอง

เข้าไปอยู่ในยุคสมัยที่ตนศึกษา

    ขั ้ น ที ่ ห ้ า การนำาเสนอเรื่องที่ศึกษาและอธิบายได้

อย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย            มีความต่อ

เนื่อง น่าสนใจ ตลอดจนมีการอ้างอิงข้อเท็จจริง เพื่อให้ได้

งานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่า และมีความหมาย



  3.หลั ก ฐานทางประวั ต ิ ศ าสตร์
    หมายถึง ร่องรอยการกระทำาของมนุษย์ในอดีต ทั้งที่

ตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจกระทำา ทิ้งไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา

การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งเป็น 3

ประเภท ดังนี้

    3.1 ประเภทของหลั ก ฐานตามยุ ค สมั ย
                                                               5
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                    โรงเรียนสิริรัตนาธร
เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                          ตะวันตก
                 ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


   1.   หลั ก ฐานสมั ย ก่ อ นประวั ต ิ ศ าสตร์ คือ หลักฐาน

        ที่เกิดขึ้นก่อนที่มนุษย์จะประดิษฐ์ตัวอักษรใช้ เช่น

        เครื่องมือเครื่องใช้ ภาพเขียนตามผนังถำ้า ร่องรอย

        การกระทำาต่างๆ โครงกระดูกมนุษย์

   2.   หลั ก ฐานสมั ย ประวั ต ิ ศ าสตร์ คือ หลักฐานใน

        สมัยที่มนุษย์สามารถประดิษฐ์ตัวอักษรได้แล้ว โดย

        มนุษย์จะใช้ตัวอักษรเหล่านี้ในการบันทึกเรื่องราว

        ต่างๆ ตลอดจนร่องรอยการกระทำาทุกอย่างของ

        มนุษย์ในช่วงเวลาที่มีตัวอักษรใช้แล้ว

   3.2 ประเภทของหลั ก ฐานตามลั ก ษณะ
   1. หลั ก ฐานประเภทลายลั ก ษณ์ อ ั ก ษร ได้แก่ จารึก


        พงศาวดาร ตำานาน จดหมายเหตุ คำาให้การ เอกสาร


                                                             6
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                     โรงเรียนสิริรัตนาธร
เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                            ตะวันตก
                  ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


        ทางกฎหมาย สิ่งพิมพ์ต่างๆ รวมทั้งเอกสารของทาง

        ราชการ วรรณกรรม งานวิจัย ตำารา

   2.   หลั ก ฐานที ่ ไ ม่ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อ ั ก ษร ได้แก่

        หลักฐานทางโบราณคดี เครื่องมือเครื่องใช้

        ศิลปกรรมต่างๆ ตลอดจนสิ่งที่ใช้ในการดำารงชีวิต

        ประจำาวัน

   3.3 ประเภทของหลั ก ฐานตามลำ า ดั บ ความ

         สำ า คั ญ
   1.   หลั ก ฐานชั ้ น ต้ น /หลั ก ฐานปฐมภู ม ิ ได้แก่ หลัก

        ฐานที่สร้างขึ้นหรือแต่งขึ้นเมื่อเหตุการณ์นั้นๆเกิดขึ้น

        เป็นหลักฐานที่บ่งบอกให้รู้ถึงสภาพของเหตุการณ์ที่

        เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยผู้กระทำาหลักฐานจะอยู่



                                                                7
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                      โรงเรียนสิริรัตนาธร
เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                            ตะวันตก
                  ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


        ในเหตุการณ์หรือร่วมสมัยกับเหตุการณ์ เช่น โบราณ

        สถาน จารึก จดหมายเหตุ เป็นต้น

   2.   หลั ก ฐานชั ้ น ที ่ ส อง/หลั ก ฐานทุ ต ิ ย ภู ม ิ ได้แก่

        หลักฐานที่สร้างขึ้น หรือแต่งขึ้นเมื่อเหตุการณ์นั้น

        ล่วงไปแล้ว เป็นหลักฐานที่รวบรวมขึ้นจากหลักฐาน

        ชั้นต้น และเพิ่มเติมความคิดเห็น คำาวินิจฉัย ตลอดจน

        เหตุผลอื่นมาประกอบ เช่น บทความทางวิชาการ

        วิทยานิพนธ์ หนังสือประวัติศาสตร์ เป็นต้น

   3.   หลั ก ฐานชั ้ น ที ่ ส าม/หลั ก ฐานตติ ย ภู ม ิ ได้แก่

        เป็นหลักฐานที่รวบรวมมาจากหลักฐานชั้นต้นและ

        หลักฐานชั้นที่สอง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา

        ค้นคว้า อ้างอิง หรือเป็นตำารา เช่น สารานุกรม


                                                                    8
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                  โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                        ตะวันตก
               ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


      บรรณานุกรม ตำาราเรียนต่างๆ เป็นต้น หลักฐานชั้นที่

      สามนี้ทำาให้เราสามารถค้นคว้าหลักฐานชั้นต้นและ

      ชั้นที่สองได้ง่าย ช่วยประหยัดเวลาในการค้นคว้า


  4.การแบ่ ง ยุ ค ทางประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ากล
    การเรียนประวัติศาสตร์ คือ การเรียนเหตุการณ์ที่เกิด

ขึ้นตามลำาดับเวลาที่เกิดขึ้น ทำาความเข้าใจพัฒนาการของ

มนุษยชาติ แม้ว่าในแต่ละภูมิภาคจะมีความแตกต่างกันใน

ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์เพราะพัฒนาการทาง

ประวัติศาสตร์ในแต่ละแห่งเริ่มไม่พร้อมกัน แต่การแบ่งยุค

ทางประวัติศาสตร์ที่ยอมรับเป็นสากล แบ่งได้ดังนี้ ยุคก่อน

ประวัติศาสตร์ ซึ่งแบ่งออกเป็นยุคหิน และยุคโลหะ ส่วนยุค



                                                          9
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                   โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                         ตะวันตก
                ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


ประวัติศาสตร์แบ่งเป็นสมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ และ

สมัยปัจจุบันหรือที่เรียกกันว่า ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย

    นับตั้งแต่มนุษยชาติถือกำาเนิดขึ้นมาในโลกนี้ได้มีเรื่อง

ราวต่างๆ มากมายหลายด้านที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ เพื่อให้

เกิดความเข้าใจง่ายและตรงกัน จึงมีการแบ่งช่วงเวลาที่

ยาวนานนี้ออกเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย

ประวัติศาสตร์ ดังนี้

    4.1 สมั ย ก่ อ นประวั ต ิ ศ าสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยัง

ไม่มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้บันทึกเรื่องราวต่างๆ จึง

ต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจากหลักฐานที่มีการค้นพบ

เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ โครงกระดูก งานศิลปะต่างๆ โดย

รวมจะเห็นว่าในช่วงสมัยก่อนประวัติศาสตร์นี้ เครื่องมือ


                                                             10
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                    โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                          ตะวันตก
                 ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


เครื่องใช้ต่างๆ มักทำาด้วยหิน และโลหะ จึงเรียกว่า ยุคหิน

และยุคโลหะ

    4.1.1 ยุ ค หิ น เก่ า ในระยะนี้มนุษย์ดำารงชีวิตอยู่ด้วย

การล่าสัตว์เป็นสำาคัญ ดังนั้น จึงต้องเร่ร่อนไปตามฝูงสัตว์

อาศัยอยู่ตามถำ้าหรือเพิงผา ยังไม่มีถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่ง

เครื่องมือที่พบเป็นขวานหินกะเทาะ หรือขวานกำาปั้น ซึ่งยัง

ไม่มีความแหลมคม

    4.1.2 ยุ ค หิ น กลาง ในยุคนี้มนุษย์รู้จักทอผ้า ปัน
                                                     ้

ภาชนะดินเผา เริ่มมีพิธีกรรมเกี่วกับความตาย พัฒนาการ

ของเครื่องมือหิน คือ มีความแหลมคมมากขึ้น

    4.1.3 ยุ ค หิ น ใหม่ การเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญในยุคนี้

คือ มนุษย์รู้จักการเพาะปลูก ดังนั้น จึงต้องอาศัยอยู่เป็นหลัก


                                                              11
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                    โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                          ตะวันตก
                 ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


แหล่งมากขึ้น อย่างน้อยก็คือ 1 ฤดูกาลเก็บเกี่ยวจึงจะย้ายที่

อยู่ต่อไปยังที่ใหม่ได้ เมื่อมนุษย์อยู่เป็นหลักเป็นแหล่งขึ้น จึง

ทำาให้เกิดการสะสมและพัฒนาประสิทธิภาพของสิ่งประดิษฐ์

ได้มากขึ้น เครื่องมือหินในระยะนี้จึงเป็นเครื่องมือหินขัดที่มี

ความแหลมคมมากขึ้น เครื่องปั้นดินเผามีรูปร่างหลากหลาย

มากขึ้นตามประโยชน์ใช้สอย เริ่มมีการทำาเครื่องประดับเพื่อ

ความสวยงาม นอกจากนี้ เมื่อมนุษย์มาอยู่ร่วมกันเป็นชุมชน

ขนาดใหญ่ ทำาให้เกิดรูปแบบการปกครองชุมชน มีหวหน้าที่
                                           ั

มีอำานาจสิทธิ์ขาด มีการร่วมแรงกันทำางาน และเมื่อชุมชน

ขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ รูปแบบของรัฐหรืออาณาจักรจึงเกิด

ขึ้น มีการสร้างสรรค์วัฒนธรรมความเจริญเพื่อความสะดวก

สบายในการดำารงชีวิต


                                                              12
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                         โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                               ตะวันตก
                      ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


    4.1.4 ยุ ค สำ า ริ ด มีการใช้สำาริด ซึ่งเป็นโลหะผสม

ระหว่างทองแดงและดีบุก ซึ่งมนุษย์รู้จักใช้ในการทำาเครื่อง

มือเครื่องใช้ประเภทต่างๆ แทนที่หิน เช่น ขวาน หัวธนู

ภาชนะ ตลอดจนเครื่องประดับ เป็นต้น

    4.1.5 ยุ ค เหล็ ก เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักแร่เหล็ก ซึ่ง

เหล็กมีความทนทานกว่าสำาริด จึงมีการนำาเหล็กมาใช้ใน

การทำาเครื่องมือเครื่องใช้ให้มีความประณีตมากขึ้น และมี

ประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย




      น่ า รู ้ !!!




                                                            13
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                   โรงเรียนสิริรัตนาธร
เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                         ตะวันตก
               ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


     โลหะชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักนำามาถลุงและหลอมเพื่อ

นำามาใช้ คือ ทองแดง



      ยุ ค สมั ย      ลั ก ษณะการ           เครื ่ อ งมื อ
                       ดำ า รงชี ว ิ ต       ที ่ พ บ




                                                             14
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                    โรงเรียนสิริรัตนาธร
เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                           ตะวันตก
                ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


           ยุ ค หิ น ดำ า รงชี ว ิ ต ด้ ว ย      เครื ่ อ งมื อ
            เก่ า    การล่ า สั ต ว์ พื ช หิ น กะเทาะ
    ยุ ค                 ผลไม้ เ ป็ น           ขวานกำ า ปั ้ น
    หิ น ยุ ค หิ น มี กอาหาร ต ว์
                       ารล่ า สั                 เครื ่ อ งมื อ
           กลาง       แต่ พ ั ฒ นามาก           หิ น กะเทาะ
                             ขึ ้ น              ที ่ ม ี ค วาม
                                             ประณี ต
           ยุ ค หิ น อยู ่ ร วมกั น เป็ น ก ขวานหิ น ขั ด
            ใหม่      ลุ ่ ม มี ก ารเพาะ
                      ปลู ก ประดิ ษ ฐ์
                    เครื ่ อ งมื อ เครื ่ อ ง
                    ใช้ อ ย่ า งประณี ต




                                                                  15
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                    โรงเรียนสิริรัตนาธร
เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                          ตะวันตก
               ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


             ยุ ค   รู ้ จ ั ก นำ า ทองแดง     ภาชนะ
      ยุ ค สำ า ริ ด และดี บ ุ ก มาผสม สำ า ริ ด ขวาน
     โลห             หล่ อ ทำ า รู ป แบบ      สำ า ริ ด หั ว
       ะ     ยุ ค          ต่ า ง ๆ
                        นำ า เหล็ ก มา        เครืก ศร อ
                                                ลู ่ อ งมื

           เหล็ ก หลอมเป็ น เครื ่ อ ง เครื ่ อ งใช้
                     มื อ เครื ่ อ งใช้ ใ น   จากเหล็ ก
                       การล่ า สั ต ว์        เช่ น ขวาน


    4.2 สมั ย ประวั ต ิ ศ าสตร์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้
บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆแล้ว การศึกษาประวัติความ
เป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ นักวิชาการจึงใช้ทั้ง
จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก
จดหมายเหตุ เป็นต้น และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์
อักษร เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน วัด พระพุทธรูป เงินเหรียญ

                                                               16
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                    โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                          ตะวันตก
                 ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำาหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบ
เรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
    การแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะแบ่งโดยใช้
เหตุการณ์สำาคัญที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนของยุคสมัยเป็นตัวแบ่ง
ซึ่งมีคนแบ่งเอาไว้หลายแนวทาง เพราะมันไม่มีเส้นแบ่งที่
ชัดเจนให้เราเห็น แต่ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น

   4.2.1 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย โบราณ (An ci ent
Hi st or y ) สมัยนี้เป็นสมัยที่มนุษย์มีการสร้างสรรค์
อารยธรรมซึ่งเป็นอารยธรรมที่เป็นรากฐานในสมัยต่อๆมา
สมัยนี้สิ้นสุดลงพร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมัน
ตะวันตก ซึ่งเสียให้แก่อนารยชนเผ่าติวตอนิกหรือติวตัน ใน
ปีค.ศ. 476




                                                           17
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                   โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                         ตะวันตก
                ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


   4.2.2 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย กลาง (M edi ev al
Hi st or y ) เริ่มเมื่อปีค.ศ. 476 ลักษณะสำาคัญของยุคกลาง
คือ หลังจากการล่มสลายของมหาอำานาจทำาให้ยุโรปแตก
เป็นอาณาจักรมากมายและไม่มีขื่อแป จนตกเป็นเหยื่อของ
การรุกรานจากชนชาติภายนอก คริสต์ศาสนาจึงกลายเป็น
ที่พึ่งและสถาบันสูงสุดของยุโรปสมัยกลาง จนในศตวรรษที่
15 ชาติต่างๆในยุโรปสามารถรวมตัวกันเป็นประเทศรัฐ
(Nation-States) จนพัฒนากลายเป็นประเทศต่างๆใน
ปัจจุบันได้ และระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ในอาณาจักรแฟ
รงก์ต่างๆนั้นจะเป็นลักษณะของสมัยกลาง คือ นาย (lord) มี
ที่ดิน แบ่งที่ดิน (fief) ให้ลูกน้อง (vassal) ไปเพาะปลูก
เกษตรกรรมและสร้างกองทัพ ขณะเดียวกันลูกน้องต้องทำา
หน้าที่ คือจงรักภักดี และช่วยรบในสงคราม และลูกน้องก็
อาจจะมีลูกน้องอีกทีเป็นขั้นๆ นายที่ใหญ่ที่สุด คือ กษัตริย์

                                                             18
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                   โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                         ตะวันตก
                ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


แบ่งที่ดินเป็นแคว้นๆให้ขุนนางใหญ่ปกครอง และขุนนาง
เหล่านั้นก็มีขุนนางใต้บังคับบัญชาอีกทีระยะเวลาสิ้นสุดนั้น
บางกลุ่มถือเอาตอนที่กรุงสแตนติโนเปิลตกเป็นของพวก
เติร์ก ในปีค.ศ.1453 แต่บางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดเมื่อมีการค้น
พบทวีปอเมริกา ในปีค.ศ. 1492 และบางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุด
ลงพร้อมกับการเริ่มต้นการปฏิรูปต่างๆ ในยุโรป

   4.2.3 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย ใหม่ (M oder n
Hi st or y ) การเปลี่ยนจากสมัยกลางมาสู่สมัยใหม่มีสาเหตุ
ของการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ด้ า นเศรษฐกิ จ เกิดการตื่นตัว
ทางการค้า มีการสำารวจดินแดนใหม่ๆ (Age of
Discovery) กำ า เนิ ด ชนชั ้ น กลาง คือ พ่อค้าและ
ปัญญาชน ความเสื่อมของระบบฟิวดัล พระและขุนนางถูก
ลดบทบาท การปกครองเปลี ่ ย นไปสู ่ ร ะบอบ
สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ เกิดแนวคิดความเป็นรัฐชาติ
                                                          19
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                    โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                           ตะวันตก
                 ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


การปฏิ ว ั ต ิ ว ิ ท ยาศาสตร์ เรียกยุคนี้ว่า Age of Reason
และ Age of Enlightenment การปฏิ ร ู ป ศาสนา เกิด
นิกายโปรเตสแตนท์ โดย มาร์ติน ลูเธอร์ โดยสมัยใหม่นั้น
เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของประวัติศาสตร์สมัยกลางจนถึง
ปัจจุบัน แต่ก็มีบางกลุ่มที่ถือว่าสมัยนี้สิ้นสุดในราวค.ศ.
1900 และได้แบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งคือ ประวัติศาสตร์
สมัยปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่สิ้นสุดประวัติศาสตร์สมัยใหม่จนถึง
ปัจจุบัน เพราะระยะช่วงนี้เกิดเหตุการณ์ที่สำาคัญ ๆ ขึน
                                                    ้
มากมาย มีรายละเอียดที่มากจนสามารถแบ่งออกเป็นอีก
สมัยหนึ่งได้

    4.2.4 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย ปั จ จุ บ ั น

(Con t em por ar y Hi st or y ) นักวิชาการส่วนใหญ่

กำาหนดให้สมัยปัจจุบันเริ่มต้นในสมัยสงครามเย็น หลัง


                                                             20
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                   โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                         ตะวันตก
                ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นช่วงที่มีการประจัญหน้ากันระหว่าง

ลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีสหภาพโซเวียตเป็นผู้นำามีอิทธิพล

เหนือยุโรปตะวันออก กับสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำา มีอิทธิพล

เหนือยุโรปตะวันตก ทั้งสองมหาอำานาจแทรกแซงทางการ

เมืองในประเทศต่าง ๆ แต่ไม่มีสงครามระหว่างกันโดยตรง

เพราะต่างเกรงกลัวหายนะจากอาวุธนิวเคลียรส์ สงคราม

เย็นเริ่มยุติลงสมัยประธานาธิบดีโกบาชอฟ            ในค.ศ. 1989

เมื่อกำาแพงเบอร์ลินที่สหภาพโซเวียตเป็นผู้สร้างเพื่อแบ่งเขต

ปกครองเยอรมันถูกทำาลาย สงครามเย็นยุติอย่างเด็ดขาด

เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลาย ใน ค.ศ. 1991              ทุกวันนี้

สถานการณ์ในโลกร่วมสมัย (contemporary ) เปลี่ยนเป็น

ความขัดแย้งด้านความคิดทางศาสนาและการปราบปราม


                                                               21
กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                  โรงเรียนสิริรัตนาธร
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม
                        ตะวันตก
               ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง


การก่อการร้าย เช่น ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง อิสลา

เอล - ปาลเสลไตน์ เหตุการณ์ที่สำาคัญซึ่งส่งผลกระทบไปทั่ว

โลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกาหลังเหตุการณ์ 9/11 กับชาติมุสลิม

ในตะวันออกกลาง ได้แก่ อิรัก อัฟกานิสถาน และอิหร่าน

เป็นต้น




                                                        22

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1school
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์jeeraporn
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 

Mais procurados (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 

Destaque

ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์Thanawut Rattanadon
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์พัน พัน
 

Destaque (11)

ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
ช่วยเหลือ
ช่วยเหลือช่วยเหลือ
ช่วยเหลือ
 
ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 

Semelhante a บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213Jintananicha
 
พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117Cake Kingkan
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisแผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้Prachoom Rangkasikorn
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 

Semelhante a บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ (20)

Workhistrory1
Workhistrory1Workhistrory1
Workhistrory1
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
 
พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisแผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
 
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
 
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์+579+dltvhisp5+T1 p4 6-u01-his
 
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
History 1
History 1History 1
History 1
 

บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

  • 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง บทที ่ 1 วิ ธ ี ก ารทางประวั ต ิ ศ าสตร์ และการแบ่ ง ยุ ค สมั ย ทางประวั ต ิ ศ าสตร์ 1.ประวั ต ิ ศ าสตร์ หมายถึง การศึกษาเพื่ออธิบายอดีต สังคมของมนุษย์ ในมิติของเวลาโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ดังนั้น ประวัติศาสตร์จึงเป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีตที่ส่งผลต่อ สังคมของมนุษย์ และเราสามารถนำาเอาเรื่องราวในอดีตที่ ศึกษามาวิเคราะห์หรือทำานายเหตุการณ์ในอนาคตได้ด้วย ความสำาคัญของอดีต คือ อดีตจะครอบงำาความคิดและ ความรู้ของเราอย่างกว้างขวางลึกซึ้ง อดีตที่เกี่ยวข้องกับ 1
  • 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง กลุ่มคน/ความสำาคัญที่มีต่อเหตุการณ์และกลุ่มคนจะถูกนำา มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน นักประวัติศาสตร์ จึงเป็นผู้บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้ สร้างประวัติศาสตร์ขึ้นจากหลักฐานประเภทต่างๆ ตามจุดมุ่ง หมายและวิธีการคิด ซึ่งงานเขียนอาจนำาไปสู่การเป็นวิชา ประวัติศาสต์ได้ในที่สุด ความมุ่งหมายในการเขียน ประวัติศาสตร์ของนักประวัติศาสตร์ แบ่งได้ดังนี้ - นักประวัติศาสตร์รุ่นเก่า มุ่งสู่การรวมชาติ / รับใช้ การเมือง - นักประวัติศาสตร์รุ่นใหม่ มุ่งที่จะหาความจริง (Truth) จากอดีตและตีความโดยปราศจาก อคติ (Bias) 2
  • 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง 2.วิ ธ ี ก ารทางประวั ต ิ ศ าสตร์ หมายถึง กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทาง ประวัติศาสตร์ ซึ่งเกิดจากวิธีวิจัยเอกสารและหลักฐานประ กอบอื่นๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ บนพื้นฐานของความเป็นเหตุเป็นผล และการวิเคราะห์ เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยขั้นตอนต่อไป นี้ ขั ้ น ที ่ ห นึ ่ ง การกำาหนดเป้าหมายหรือประเด็นที่ ต้องการศึกษา แสวงหาคำาตอบด้วยเหตุและผล (ศึกษาอะไร ช่วงเวลาไหน สมัยใด และเพราะเหตุใด) 3
  • 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง ขั ้ น ที ่ ส อง การค้นหาและรวบรวมหลักฐานประเภท ต่างๆ ทั้งที่เป็นลานลักษณ์อักษร และไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร ซึ่งได้แก่ วัตถุโบราณ ร่องรอยถิ่นที่อยู่อาศัย หรือการ ดำาเนินชีวิต ขั ้ น ที ่ ส าม การวิเคราะห์หลักฐาน (การตรวจสอบ การประเมินความน่าเชื่อถือ การประเมินคุณค่าของหลัก ฐาน) การตีความหลักฐานอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีความ เป็นกลาง และปราศจากอคติ ขั ้ น ที ่ ส ี ่ การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบคำาถามด้วยการ เลือกสรรข้อเท็จจริงจากหลักฐานอย่างเคร่งครัด โดยไม่ใช้ ค่านิยมของตนเองไปตัดสินพฤติกรรมของคนในอดีต โดย 4
  • 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง พยายามเข้าใจความคิดของคนในยุคนั้น หรือนำาตัวเอง เข้าไปอยู่ในยุคสมัยที่ตนศึกษา ขั ้ น ที ่ ห ้ า การนำาเสนอเรื่องที่ศึกษาและอธิบายได้ อย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย มีความต่อ เนื่อง น่าสนใจ ตลอดจนมีการอ้างอิงข้อเท็จจริง เพื่อให้ได้ งานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่า และมีความหมาย 3.หลั ก ฐานทางประวั ต ิ ศ าสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทำาของมนุษย์ในอดีต ทั้งที่ ตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจกระทำา ทิ้งไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 3.1 ประเภทของหลั ก ฐานตามยุ ค สมั ย 5
  • 6. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง 1. หลั ก ฐานสมั ย ก่ อ นประวั ต ิ ศ าสตร์ คือ หลักฐาน ที่เกิดขึ้นก่อนที่มนุษย์จะประดิษฐ์ตัวอักษรใช้ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ ภาพเขียนตามผนังถำ้า ร่องรอย การกระทำาต่างๆ โครงกระดูกมนุษย์ 2. หลั ก ฐานสมั ย ประวั ต ิ ศ าสตร์ คือ หลักฐานใน สมัยที่มนุษย์สามารถประดิษฐ์ตัวอักษรได้แล้ว โดย มนุษย์จะใช้ตัวอักษรเหล่านี้ในการบันทึกเรื่องราว ต่างๆ ตลอดจนร่องรอยการกระทำาทุกอย่างของ มนุษย์ในช่วงเวลาที่มีตัวอักษรใช้แล้ว 3.2 ประเภทของหลั ก ฐานตามลั ก ษณะ 1. หลั ก ฐานประเภทลายลั ก ษณ์ อ ั ก ษร ได้แก่ จารึก พงศาวดาร ตำานาน จดหมายเหตุ คำาให้การ เอกสาร 6
  • 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง ทางกฎหมาย สิ่งพิมพ์ต่างๆ รวมทั้งเอกสารของทาง ราชการ วรรณกรรม งานวิจัย ตำารา 2. หลั ก ฐานที ่ ไ ม่ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อ ั ก ษร ได้แก่ หลักฐานทางโบราณคดี เครื่องมือเครื่องใช้ ศิลปกรรมต่างๆ ตลอดจนสิ่งที่ใช้ในการดำารงชีวิต ประจำาวัน 3.3 ประเภทของหลั ก ฐานตามลำ า ดั บ ความ สำ า คั ญ 1. หลั ก ฐานชั ้ น ต้ น /หลั ก ฐานปฐมภู ม ิ ได้แก่ หลัก ฐานที่สร้างขึ้นหรือแต่งขึ้นเมื่อเหตุการณ์นั้นๆเกิดขึ้น เป็นหลักฐานที่บ่งบอกให้รู้ถึงสภาพของเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยผู้กระทำาหลักฐานจะอยู่ 7
  • 8. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง ในเหตุการณ์หรือร่วมสมัยกับเหตุการณ์ เช่น โบราณ สถาน จารึก จดหมายเหตุ เป็นต้น 2. หลั ก ฐานชั ้ น ที ่ ส อง/หลั ก ฐานทุ ต ิ ย ภู ม ิ ได้แก่ หลักฐานที่สร้างขึ้น หรือแต่งขึ้นเมื่อเหตุการณ์นั้น ล่วงไปแล้ว เป็นหลักฐานที่รวบรวมขึ้นจากหลักฐาน ชั้นต้น และเพิ่มเติมความคิดเห็น คำาวินิจฉัย ตลอดจน เหตุผลอื่นมาประกอบ เช่น บทความทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ หนังสือประวัติศาสตร์ เป็นต้น 3. หลั ก ฐานชั ้ น ที ่ ส าม/หลั ก ฐานตติ ย ภู ม ิ ได้แก่ เป็นหลักฐานที่รวบรวมมาจากหลักฐานชั้นต้นและ หลักฐานชั้นที่สอง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า อ้างอิง หรือเป็นตำารา เช่น สารานุกรม 8
  • 9. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง บรรณานุกรม ตำาราเรียนต่างๆ เป็นต้น หลักฐานชั้นที่ สามนี้ทำาให้เราสามารถค้นคว้าหลักฐานชั้นต้นและ ชั้นที่สองได้ง่าย ช่วยประหยัดเวลาในการค้นคว้า 4.การแบ่ ง ยุ ค ทางประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ากล การเรียนประวัติศาสตร์ คือ การเรียนเหตุการณ์ที่เกิด ขึ้นตามลำาดับเวลาที่เกิดขึ้น ทำาความเข้าใจพัฒนาการของ มนุษยชาติ แม้ว่าในแต่ละภูมิภาคจะมีความแตกต่างกันใน ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์เพราะพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ในแต่ละแห่งเริ่มไม่พร้อมกัน แต่การแบ่งยุค ทางประวัติศาสตร์ที่ยอมรับเป็นสากล แบ่งได้ดังนี้ ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ ซึ่งแบ่งออกเป็นยุคหิน และยุคโลหะ ส่วนยุค 9
  • 10. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง ประวัติศาสตร์แบ่งเป็นสมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ และ สมัยปัจจุบันหรือที่เรียกกันว่า ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย นับตั้งแต่มนุษยชาติถือกำาเนิดขึ้นมาในโลกนี้ได้มีเรื่อง ราวต่างๆ มากมายหลายด้านที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ เพื่อให้ เกิดความเข้าใจง่ายและตรงกัน จึงมีการแบ่งช่วงเวลาที่ ยาวนานนี้ออกเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย ประวัติศาสตร์ ดังนี้ 4.1 สมั ย ก่ อ นประวั ต ิ ศ าสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยัง ไม่มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้บันทึกเรื่องราวต่างๆ จึง ต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจากหลักฐานที่มีการค้นพบ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ โครงกระดูก งานศิลปะต่างๆ โดย รวมจะเห็นว่าในช่วงสมัยก่อนประวัติศาสตร์นี้ เครื่องมือ 10
  • 11. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง เครื่องใช้ต่างๆ มักทำาด้วยหิน และโลหะ จึงเรียกว่า ยุคหิน และยุคโลหะ 4.1.1 ยุ ค หิ น เก่ า ในระยะนี้มนุษย์ดำารงชีวิตอยู่ด้วย การล่าสัตว์เป็นสำาคัญ ดังนั้น จึงต้องเร่ร่อนไปตามฝูงสัตว์ อาศัยอยู่ตามถำ้าหรือเพิงผา ยังไม่มีถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่ง เครื่องมือที่พบเป็นขวานหินกะเทาะ หรือขวานกำาปั้น ซึ่งยัง ไม่มีความแหลมคม 4.1.2 ยุ ค หิ น กลาง ในยุคนี้มนุษย์รู้จักทอผ้า ปัน ้ ภาชนะดินเผา เริ่มมีพิธีกรรมเกี่วกับความตาย พัฒนาการ ของเครื่องมือหิน คือ มีความแหลมคมมากขึ้น 4.1.3 ยุ ค หิ น ใหม่ การเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญในยุคนี้ คือ มนุษย์รู้จักการเพาะปลูก ดังนั้น จึงต้องอาศัยอยู่เป็นหลัก 11
  • 12. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง แหล่งมากขึ้น อย่างน้อยก็คือ 1 ฤดูกาลเก็บเกี่ยวจึงจะย้ายที่ อยู่ต่อไปยังที่ใหม่ได้ เมื่อมนุษย์อยู่เป็นหลักเป็นแหล่งขึ้น จึง ทำาให้เกิดการสะสมและพัฒนาประสิทธิภาพของสิ่งประดิษฐ์ ได้มากขึ้น เครื่องมือหินในระยะนี้จึงเป็นเครื่องมือหินขัดที่มี ความแหลมคมมากขึ้น เครื่องปั้นดินเผามีรูปร่างหลากหลาย มากขึ้นตามประโยชน์ใช้สอย เริ่มมีการทำาเครื่องประดับเพื่อ ความสวยงาม นอกจากนี้ เมื่อมนุษย์มาอยู่ร่วมกันเป็นชุมชน ขนาดใหญ่ ทำาให้เกิดรูปแบบการปกครองชุมชน มีหวหน้าที่ ั มีอำานาจสิทธิ์ขาด มีการร่วมแรงกันทำางาน และเมื่อชุมชน ขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ รูปแบบของรัฐหรืออาณาจักรจึงเกิด ขึ้น มีการสร้างสรรค์วัฒนธรรมความเจริญเพื่อความสะดวก สบายในการดำารงชีวิต 12
  • 13. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง 4.1.4 ยุ ค สำ า ริ ด มีการใช้สำาริด ซึ่งเป็นโลหะผสม ระหว่างทองแดงและดีบุก ซึ่งมนุษย์รู้จักใช้ในการทำาเครื่อง มือเครื่องใช้ประเภทต่างๆ แทนที่หิน เช่น ขวาน หัวธนู ภาชนะ ตลอดจนเครื่องประดับ เป็นต้น 4.1.5 ยุ ค เหล็ ก เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักแร่เหล็ก ซึ่ง เหล็กมีความทนทานกว่าสำาริด จึงมีการนำาเหล็กมาใช้ใน การทำาเครื่องมือเครื่องใช้ให้มีความประณีตมากขึ้น และมี ประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย น่ า รู ้ !!! 13
  • 14. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง โลหะชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักนำามาถลุงและหลอมเพื่อ นำามาใช้ คือ ทองแดง ยุ ค สมั ย ลั ก ษณะการ เครื ่ อ งมื อ ดำ า รงชี ว ิ ต ที ่ พ บ 14
  • 15. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง ยุ ค หิ น ดำ า รงชี ว ิ ต ด้ ว ย เครื ่ อ งมื อ เก่ า การล่ า สั ต ว์ พื ช หิ น กะเทาะ ยุ ค ผลไม้ เ ป็ น ขวานกำ า ปั ้ น หิ น ยุ ค หิ น มี กอาหาร ต ว์ ารล่ า สั เครื ่ อ งมื อ กลาง แต่ พ ั ฒ นามาก หิ น กะเทาะ ขึ ้ น ที ่ ม ี ค วาม ประณี ต ยุ ค หิ น อยู ่ ร วมกั น เป็ น ก ขวานหิ น ขั ด ใหม่ ลุ ่ ม มี ก ารเพาะ ปลู ก ประดิ ษ ฐ์ เครื ่ อ งมื อ เครื ่ อ ง ใช้ อ ย่ า งประณี ต 15
  • 16. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง ยุ ค รู ้ จ ั ก นำ า ทองแดง ภาชนะ ยุ ค สำ า ริ ด และดี บ ุ ก มาผสม สำ า ริ ด ขวาน โลห หล่ อ ทำ า รู ป แบบ สำ า ริ ด หั ว ะ ยุ ค ต่ า ง ๆ นำ า เหล็ ก มา เครืก ศร อ ลู ่ อ งมื เหล็ ก หลอมเป็ น เครื ่ อ ง เครื ่ อ งใช้ มื อ เครื ่ อ งใช้ ใ น จากเหล็ ก การล่ า สั ต ว์ เช่ น ขวาน 4.2 สมั ย ประวั ต ิ ศ าสตร์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้ บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆแล้ว การศึกษาประวัติความ เป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ นักวิชาการจึงใช้ทั้ง จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ เป็นต้น และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน วัด พระพุทธรูป เงินเหรียญ 16
  • 17. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำาหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบ เรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจนยิ่งขึ้น การแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะแบ่งโดยใช้ เหตุการณ์สำาคัญที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนของยุคสมัยเป็นตัวแบ่ง ซึ่งมีคนแบ่งเอาไว้หลายแนวทาง เพราะมันไม่มีเส้นแบ่งที่ ชัดเจนให้เราเห็น แต่ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น 4.2.1 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย โบราณ (An ci ent Hi st or y ) สมัยนี้เป็นสมัยที่มนุษย์มีการสร้างสรรค์ อารยธรรมซึ่งเป็นอารยธรรมที่เป็นรากฐานในสมัยต่อๆมา สมัยนี้สิ้นสุดลงพร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมัน ตะวันตก ซึ่งเสียให้แก่อนารยชนเผ่าติวตอนิกหรือติวตัน ใน ปีค.ศ. 476 17
  • 18. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง 4.2.2 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย กลาง (M edi ev al Hi st or y ) เริ่มเมื่อปีค.ศ. 476 ลักษณะสำาคัญของยุคกลาง คือ หลังจากการล่มสลายของมหาอำานาจทำาให้ยุโรปแตก เป็นอาณาจักรมากมายและไม่มีขื่อแป จนตกเป็นเหยื่อของ การรุกรานจากชนชาติภายนอก คริสต์ศาสนาจึงกลายเป็น ที่พึ่งและสถาบันสูงสุดของยุโรปสมัยกลาง จนในศตวรรษที่ 15 ชาติต่างๆในยุโรปสามารถรวมตัวกันเป็นประเทศรัฐ (Nation-States) จนพัฒนากลายเป็นประเทศต่างๆใน ปัจจุบันได้ และระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ในอาณาจักรแฟ รงก์ต่างๆนั้นจะเป็นลักษณะของสมัยกลาง คือ นาย (lord) มี ที่ดิน แบ่งที่ดิน (fief) ให้ลูกน้อง (vassal) ไปเพาะปลูก เกษตรกรรมและสร้างกองทัพ ขณะเดียวกันลูกน้องต้องทำา หน้าที่ คือจงรักภักดี และช่วยรบในสงคราม และลูกน้องก็ อาจจะมีลูกน้องอีกทีเป็นขั้นๆ นายที่ใหญ่ที่สุด คือ กษัตริย์ 18
  • 19. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง แบ่งที่ดินเป็นแคว้นๆให้ขุนนางใหญ่ปกครอง และขุนนาง เหล่านั้นก็มีขุนนางใต้บังคับบัญชาอีกทีระยะเวลาสิ้นสุดนั้น บางกลุ่มถือเอาตอนที่กรุงสแตนติโนเปิลตกเป็นของพวก เติร์ก ในปีค.ศ.1453 แต่บางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดเมื่อมีการค้น พบทวีปอเมริกา ในปีค.ศ. 1492 และบางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุด ลงพร้อมกับการเริ่มต้นการปฏิรูปต่างๆ ในยุโรป 4.2.3 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย ใหม่ (M oder n Hi st or y ) การเปลี่ยนจากสมัยกลางมาสู่สมัยใหม่มีสาเหตุ ของการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ด้ า นเศรษฐกิ จ เกิดการตื่นตัว ทางการค้า มีการสำารวจดินแดนใหม่ๆ (Age of Discovery) กำ า เนิ ด ชนชั ้ น กลาง คือ พ่อค้าและ ปัญญาชน ความเสื่อมของระบบฟิวดัล พระและขุนนางถูก ลดบทบาท การปกครองเปลี ่ ย นไปสู ่ ร ะบอบ สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ เกิดแนวคิดความเป็นรัฐชาติ 19
  • 20. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง การปฏิ ว ั ต ิ ว ิ ท ยาศาสตร์ เรียกยุคนี้ว่า Age of Reason และ Age of Enlightenment การปฏิ ร ู ป ศาสนา เกิด นิกายโปรเตสแตนท์ โดย มาร์ติน ลูเธอร์ โดยสมัยใหม่นั้น เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของประวัติศาสตร์สมัยกลางจนถึง ปัจจุบัน แต่ก็มีบางกลุ่มที่ถือว่าสมัยนี้สิ้นสุดในราวค.ศ. 1900 และได้แบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งคือ ประวัติศาสตร์ สมัยปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่สิ้นสุดประวัติศาสตร์สมัยใหม่จนถึง ปัจจุบัน เพราะระยะช่วงนี้เกิดเหตุการณ์ที่สำาคัญ ๆ ขึน ้ มากมาย มีรายละเอียดที่มากจนสามารถแบ่งออกเป็นอีก สมัยหนึ่งได้ 4.2.4 ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส มั ย ปั จ จุ บ ั น (Con t em por ar y Hi st or y ) นักวิชาการส่วนใหญ่ กำาหนดให้สมัยปัจจุบันเริ่มต้นในสมัยสงครามเย็น หลัง 20
  • 21. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นช่วงที่มีการประจัญหน้ากันระหว่าง ลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีสหภาพโซเวียตเป็นผู้นำามีอิทธิพล เหนือยุโรปตะวันออก กับสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำา มีอิทธิพล เหนือยุโรปตะวันตก ทั้งสองมหาอำานาจแทรกแซงทางการ เมืองในประเทศต่าง ๆ แต่ไม่มีสงครามระหว่างกันโดยตรง เพราะต่างเกรงกลัวหายนะจากอาวุธนิวเคลียรส์ สงคราม เย็นเริ่มยุติลงสมัยประธานาธิบดีโกบาชอฟ ในค.ศ. 1989 เมื่อกำาแพงเบอร์ลินที่สหภาพโซเวียตเป็นผู้สร้างเพื่อแบ่งเขต ปกครองเยอรมันถูกทำาลาย สงครามเย็นยุติอย่างเด็ดขาด เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลาย ใน ค.ศ. 1991 ทุกวันนี้ สถานการณ์ในโลกร่วมสมัย (contemporary ) เปลี่ยนเป็น ความขัดแย้งด้านความคิดทางศาสนาและการปราบปราม 21
  • 22. กลุ่มสาระการเรียนรู้้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนสิริรัตนาธร เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ส 32102 อายธรรม ตะวันตก ครูผู้สอน : ครูนำาโชค อุ่นเวียง การก่อการร้าย เช่น ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง อิสลา เอล - ปาลเสลไตน์ เหตุการณ์ที่สำาคัญซึ่งส่งผลกระทบไปทั่ว โลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกาหลังเหตุการณ์ 9/11 กับชาติมุสลิม ในตะวันออกกลาง ได้แก่ อิรัก อัฟกานิสถาน และอิหร่าน เป็นต้น 22