SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
วงดนตรี สากล

ลักษณะวงดนตรีสากล เราจะแบ่งลักษณะของวงดนตรีสากลออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันดังนี้
          1. วง Orchestra
          2. วง Band
          1. วง Orchestra หรือ ดุริยางค์ เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทหนึ่งที่ใ ช้ เครื่องดนตรีประเภท
เครื่องสาย (String) เป็นหลัก หรือเป็นเครื่องที่มีบทบาทมากที่สุด สาคัญที่สุดมากกว่าเครื่องดนตรีกลุ่มอื่น ๆ
          2. วง Band เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทที่ใช้เครื่องดนตรีประเภท เครื่องเป่า เป็นหลัก หรือเป็น
เครื่องที่มีบทบาทมากที่สุด

ชนิดของวง Orchestra
        1. Symphony Orchestra เป็นวงดนตรีขนาดใหญ่มากประกอบด้วยเครื่องดนตรี 4 กลุ่ม คือ
               1. เครื่องสาย
               2. เครื่องลมไม้
               3. เครื่องเป่าทองเหลือง
               4. เครื่องเคาะ
        ขนาดของวง
               วงเล็ก Small Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 60 - 80 คน
               วงกลาง Medium Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 80 - 100 คน
               วงใหญ่ Full Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 100 คนขึ้นไป
        2. Orchestra for accompaniments for opera วงดุริยางค์ประเภทนี้ใช้บรรเลง ประกอบการแสดง
โอเปรา คล้ายกับละครหรือลิเกของไทย ที่ต้องมีดนตรีบรรเลงประกอบด้วย ใช้นักดนตรี ประมาณ 60 คนหรือ
มากกว่า
        3. Chamber Orchestra วงดุริยางค์ประเภทนี้เป็นวงเล็ก ๆ มีผู้เล่นไม่เกิน 20 คน บางครั้งเราเรียก
วงดนตรีประเภทนี้ว่า Chamber Music เพราะวงประเภทนี้ตั้งขึ้นเพื่อร่วมกันเล่นหรือบรรเลง เพื่อการผ่อนคลาย
อารมณ์และพบปะสังสรรค์ยามว่าง เพลงที่เล่นก็เป็นเพลงง่าย ๆ และผู้เล่นอาจจมีตั้งแต่ 2 คนถึง 9 คน

ชนิดของวง Band
         1. Symphonic Band เป็นวงที่มีเครื่องเป่าเป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญ ประกอบด้วย เครื่องเป่าลมไม้
เครื่องเป่าทองเหลือง เครื่องเคาะ และ ดับเบิ้ลเบส กลุ่มเครื่องเป่าลมไม้จะมี คลาริเนท บีแฟล๊ต เป็นจานวนมาก
เปรียบเสมือนกับ ไวโอลิน ของวง Orchestra ตัวอย่างเพลง Kentucky Sunrise
           2. Military Band (วงโยธวาทิต) ตามมาตรฐานวงชนิดนี้จะมีผู้เล่นอยู่ราว 54 คน ประกอบด้วย
เครื่องลมไม้ เครื่องทองเหลือง เครื่องเคาะ แต่จะไม่ใช้ ดับเบิ้ลเบส วงประเภทนี้จะใช้ในพิธีสวนสนามของทหาร
หรือขบวนแห่ต่าง ๆ ตัวอย่างเพลง Battle Hyme of the republic , Stars & Stripes Forever "
         3. Brass Band วงชนิดนี้คล้ายกับวงโยธวาทิตต่างกันก็ตรงที่ ไม่มี เครื่องลมไม้ และ เครื่องสายใด ๆเลย
         4. Jazz Band วงแจ๊ส วงดนตรีแบบนี้เกิดขึ้นในกลุ่มนิโกรเป็นครั้งแรกและในปั จจุบันนี้วงแจ๊สส่วนใหญ่
ก็ยังเจริญอยู่กับพวกนิโกร วงดนตรีประเภทนี้ประกอบด้วย กลุ่มแซ๊กโซโฟน ซึ่งมีโซปราโนแซ๊กโซโฟน อัลโตแซ๊ก
โซโฟน เทนเนอร์แซ๊กโซโฟน บาริโทนแซ๊กโซโฟน คลาริเนท ทรัมเป็ท ทรอมโบน ดับเบิ้ลเบส เปียนโน และ
เครื่อง Percussion ตามความเหมาะสม เช่น กลองชุด ทอมบา บองโก มารากัส เป็นต้น

           ั
เรี ยนรู ้กบครู อานาจ                                                                                   หน้า 1
วงดนตรี สากล

          5. Combo Band (วงคอมโบ) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก มุ่งประกอบการขับร้องเป็นส่วนใหญ่ นิยมนาไป
บรรเลงตามร้านอาการ ไนท์คลับ หรือตามสถานที่เริงรมย์ต่าง ๆ วงดนตรีประเภทนี้มีจานวนนักดนตรีและ
เครื่องดนตรีไม่แน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่ความสะดวกในการจัดวง แต่ส่วนมากมักประกอบด้วยเครื่องดนตรีคือ trumpet,
Tenor Saxophone , Alto Saxophone , Trombone , Piano กีตาร์คอร์ด กีต้ารเบส กลองชุด เครื่องประกอบ
จังหวะอื่น ๆ
         นอกจากนี้ยังมีวงดนตรีที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่อีกหลายชนิด ซึ่งวงที่เกิดขึ้นใหม่นี้ก็อาศัย ดัดแปลง ปรับปรุง แก้ไข
จากของเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ปัจจุบันที่ต้องการความง่าย ๆ สะดวก สบาย รวดเร็ว
เช่น
          6. Shadow (วงชาโดว์) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก สะดวกในการขนย้ายไปแสดงในที่ต่าง ๆ ใช้บรรเลง
ประกอบการขับร้อง และบางครั้งบรรเลงเฉพาะดนตรีอย่างเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้มี กีต้าร์ลีด (เมโลดี้) กีต้าร์คอร์ด
กีต้าร์เบส กลองชุด เครื่องประกอบจังหวะอื่น ๆ
          7. String combo วงดนตรีประเภทนี้ดัดแปลงมาจากวงคอมโบ และวงชาโดว์ คื อ นาเอาเครื่องดนตรี
ในวงชาโดว์ผสมกับวงคอมโบ แต่ยังคงให้เครื่องดนตรีประเภทกีต้าร์ เป็นเครื่องทีมีความสาคัญกว่าเครื่องดนตรีอื่นๆ
                                                                                    ่
          8. Folk Song วงโฟล์คซอง เป็นวงดนตรีขนาดเล็กที่สุด มีผู้เล่นไม่เกินวงละ 3 คน แต่ที่นิยมมากที่สุด
นิยมเพียงคนเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้ กีต้าร์โปร่งเพียงอย่างเดียว โดยที่ผู้เล่นกีต้าร์จะร้องและดีดกีต้าร์ไปด้วย
          9. String Band เป็นวงดนตรีที่ปรับปรุงจากวง คอมโบ โดยเพิ่ม ไวโอลิน มาร่วมบรรเลงด้วยประมาณ
6 - 10 คัน เพื่อให้ ไวโอลิน เหล่านี้เล่น เป็นทานอง และ back ground ทาให้เพลงที่บรรเลงมีความไพเราะยิ่งขึ้น
หนักแน่นขึ้น วงประเภทนี้ได้รับความนิยมทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น วงดารากร วงเจมส์ลาส

วงดนตรีสากล วงดนตรีสากลแบ่งได้เป็น 8 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
         1. วงซิมโฟนี ออร์เคสตร้า ( Symphony Orchestra) วงประเภทนี้มีขนาดใหญ่ประกอบด้วย
เครื่องดนตรีครบทุกกลุ่ม ขนาดของวงมีขนาดเล็ก 40-60 คน ขนาดกลาง 60-80 คนและวงใหญ่ 80-110 คน
หรือมากกว่านั้น ขนาดของวงจะใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับเครื่องสายเป็นหลัก และผู้เล่นต้องมีฝีมือดี รวมถึงวาทยากร
(conductor) ก็ต้องมีความสามารถอย่างยอดเยี่ยม ถ้าใช้เฉพาะเครื่องสายของวง Symphony Orchestra ก็
เรียกว่า String Orchestra
          2. วงโยธวาทิต (Military Band) ประกอบด้วยเครื่องเป่าครบทุกกลุ่ม คือ เครื่องลมไม้ เครื่องทองเหลือง
และกลุ่มเครื่องกระทบ ได้แก่เครื่องดนตรีที่ให้จังหวะทั้งหลาย วงโยธวาทิตมีมาตั้งแต่สมัยโรมันใช้บรรเลงเพลง
เดินแถวเพื่อปลุกใจทหาร ในสมัยสงครามครูเสด ได้ซบเซาไปพักหนึ่ง และเจริญอีกในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14
ต่อมาในสมัยของนโปเลียน ได้ปรับปรุงให้มีเครื่องดนตรีอีกหลายชนิด เช่น พวกขลุ่ยผิว พวกปี่และแตร และต่อมา
ก็เป็นต้นแบบของวงโยธวาทิต ในราวกลางศตวรรษที่ 19 เมื่ออดอลฟ์แซกซ์ นักประดิษฐ์ชาวเบลเยี่ยมได้ประดิษฐ์
แซกโซโฟนและแตรต่างๆ ในตระกูลแซกฮอร์นจึงได้นามาไว้กับวงโยธวาทิตด้วย จึงสมบูรณ์ดังได้กล่าวมาแล้ว
ปัจจุบันวงโยธวาทิตมาตรฐานของอังกฤษใช้เครื่องดนตรี 56 ชิ้น
          3. แตรวง(Brass Band) คือวงที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องทองเหลืองและเครื่องกระทบ
แตรวงเหมาะสาหรับใช้บรรเลงกลางแจ้ง การแห่ต่างๆ เช่น ในประเทศไทยใช้แห่นาค แห่เทียนพรรษา เป็นต้น
แตรวงมาตรฐานของอังกฤษใช้เครื่องดนตรี 26 ชิ้น



           ั
เรี ยนรู ้กบครู อานาจ                                                                                        หน้า 2
วงดนตรี สากล

           4. วงแชมเบอร์มิวสิค (Chamber Music) หมายถึงวงดนตรีประเภทบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีที่เหมาะ
สาหรับแสดงภายในห้องโถง หรือสถานที่ที่จุผู้ฟังได้เพียงจานวนน้อย ในสมัยแรกเล่นกันในห้องโถงตามราชสานัก
หรือคฤหาสถ์ของขุนนางในยุโรป และนักดนตรีเล่นกันเองในหมู่เพื่อนฝูง ต่อมาคนเริ่มสนใจมากขึ้นสถานที่คับแคบ
จึงเลื่อนไปเล่นในห้องโถงใหญ่และใน Concert Hall ซึ่งจัดไว้เพื่อการแสดงดนตรีโดยเฉพาะแชมเบอร์มิวสิค
เน้นความสาคัญของนักดนตรีทุกคนเท่าๆ กัน โดยปกติจะมีนักดนตรี 2-9 คน และเรียกชื่อต่างๆกันตามจานวน
ของผู้บรรเลงดังนี้
                   จานวนผู้บรรเลง 2 คน              เรียกว่า ดู (Duo)
                   จานวนผู้บรรเลง 3 คน              เรียกว่า ตริโอ (Trio)
                   จานวนผู้บรรเลง 4 คน              เรียกว่า ควอเตท (Quartet)
                   จานวนผู้บรรเลง 5 คน              เรียกว่า ควินเตท (Quintet)
                   จานวนผู้บรรเลง 6 คน              เรียกว่า เซกซ์เตท (Sextet)
                   จานวนผู้บรรเลง 7 คน              เรียกว่า เซปเตท (Septet)
                   จานวนผู้บรรเลง 8 คน              เรียกว่า ออกเตท (Octet)
                   จานวนผู้บรรเลง 9 คน              เรียกว่า โนเนท (Nonet)
           5. วงแจ๊ซซ์ (Jazz) ดนตรีแจ๊ซซ์ เกิดจากพวกทาสนิโกร ที่นิวออร์ลีนหลังจากนโปเลียนขายนิวออร์ลีน
ให้อเมริกา พวกอเมริกันขาว โอไฮโอ แถบฝั่งแม่น้ามิสซิสซิปปี้ พวกอเมริกัน จากอเมริกาตะวันตก ก็อพยพเข้า
เมืองนิวออร์ลีนจึงทาให้เมืองนี้ประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติรวมถึง ฝรั่งเศส สเปนและอังกฤษด้วย พวกนิโกร
ดังกล่าว พอว่างจากงานก็ชุมนุมกันร้องราทาเพลง เครื่องดนตรีที่ใช้ทาขึ้นตามมีตามเกิด เอาไม้ไผ่มาเหลาเจาะเป็น
เครื่องเป่า เอาหนังวัวมาขึงทาเป็นกลองตี พวกที่คิดแจซซ์ขึ้น สันนิษฐานว่าเป็นพวกกองโก(Gongoes) พวกนี้บูชา
งูใหญ่ เป็นพวกที่มีจิตใจเมตตากรุณาและสุภาพที่สุด โดยได้รากฐานจากเพลงสวดของพวกนิโกร(Nigro spiritual)
ซึงแต่งขึนก่อนพวกทาสจะได้รับการปลดปล่อยเป็นอิสระ
  ่      ้
            6. วงปอปปูลามิวสิค (Popular Music) หรือวงดนตรีลีลาศ ใช้บรรเลงตามงานรื่นเริงทั่วไป
ประกอบด้วยเครื่องดนตรีกลุ่ม แซกโซโฟนกลุ่มเครื่องทองเหลืองและกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ
            7. วงคอมโบ(Combo band) หรือสตริงคอมโบ เป็นวงที่เอาเครื่องดนตรีบางส่วนมาจาก
Popular Music อีกทั้งลักษณะของเพลงและสไตล์การเล่นก็เหมือนกัน จานวนเครื่องดนตรีส่วนมากอยู่ระหว่าง
ประมาณ 3 –10 ชิ้น เครื่องดนตรีจะมีพวกริทึม(Rhythm) และพวกเครื่องเป่าทั้งลมไม้และเครื่องทองเหลือง
เครื่องดนตรีที่ใช้เป็นหลักคือ กลองชุด เบส เปียโน หรือมีเครื่องเป่าผสมด้วยจะเป็นเครื่องลมไม้หรือทองเหลือง
ก็ได้ไม่จากัดจานวน แต่รวมแล้วต้องไม่เหมือนกับปอปปูลามิวสิค วงคอมโบก็เป็น สมอลล์ แบนด์ (small Band)
แบบหนึ่ง ดังนั้นวงนี้จึงเป็นวงที่มีขนาดไม่ใหญ่นักเหมาะสาหรับเล่นตามงานรื่นเริงทั่วๆ ไป นอกจากนั้นยังเหมาะ
สาหรับเพลงประเภทไลท์มิวสิค อีกด้วย
             8. วงชาร์โด (Shadow)เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณ 20 ปีมานี่เอง ในอเมริกา
วงดนตรีประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือคณะThe Beattle หรือสี่เต่าทอง เครื่องดนตรีในสมัยแรก มี 4 ชิ้น คือ
                   1. กีตาร์เมโลดี้(หรือกีตาร์โซโล)   2. กีตาร์คอร์ด 3. กีตาร์เบส 4. กลองชุด
              วงชาโดว์ ในระยะหลังได้นาออร์แกนและพวกเครื่องเป่า เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ตทรอมโบนเข้ามาผสม
และบางทีอาจมี ไวโอลินผสมด้วย เพลงของพวกนี้ส่วนใหญ่จะเร่าร้อน ซึ่งได้รับความนิยมมากในหมู่วัยรุ่น
โดยเฉพาะเพลงประเภท อันเดอร์กราว


           ั
เรี ยนรู ้กบครู อานาจ                                                                                หน้า 3

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยlove5710
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนโครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนAim Itsarisari
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Maimai Pudit
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์Lilrat Witsawachatkun
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีวิริยะ ทองเต็ม
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 

Mais procurados (20)

เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนโครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 

Destaque

เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguest98f4132
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยJirapan Kamking
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguest03bcafe
 
Musical Instrument
Musical InstrumentMusical Instrument
Musical Instrumentditmusix
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยleemeanshun minzstar
 
Cómo las tecnologías de colaboración y Virtualización aumentan la producti...
Cómo las tecnologías  de colaboración y  Virtualización  aumentan la producti...Cómo las tecnologías  de colaboración y  Virtualización  aumentan la producti...
Cómo las tecnologías de colaboración y Virtualización aumentan la producti...Asociación de Marketing Bancario Argentino
 
Alyssa Milano Pictures
Alyssa Milano PicturesAlyssa Milano Pictures
Alyssa Milano Picturessonicivory
 
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012Sandstone Press
 
новогодний калейдоскоп
новогодний калейдоскопновогодний калейдоскоп
новогодний калейдоскопmsikanov
 
Dr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesDr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesSoroya Bacchus
 

Destaque (20)

การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 2
การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 2การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 2
การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 2
 
ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 3
การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 3การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 3
การขับร้องประสานเสียง ชุดที่ 3
 
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
Musical Instrument
Musical InstrumentMusical Instrument
Musical Instrument
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
 
Week 11 (2014) Composites
Week 11 (2014) CompositesWeek 11 (2014) Composites
Week 11 (2014) Composites
 
Cómo las tecnologías de colaboración y Virtualización aumentan la producti...
Cómo las tecnologías  de colaboración y  Virtualización  aumentan la producti...Cómo las tecnologías  de colaboración y  Virtualización  aumentan la producti...
Cómo las tecnologías de colaboración y Virtualización aumentan la producti...
 
Alyssa Milano Pictures
Alyssa Milano PicturesAlyssa Milano Pictures
Alyssa Milano Pictures
 
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
 
Disrupción Digital en la Industria de Seguros: Impacto en el Negocio y TI
Disrupción Digital en la Industria de Seguros: Impacto en el Negocio y TIDisrupción Digital en la Industria de Seguros: Impacto en el Negocio y TI
Disrupción Digital en la Industria de Seguros: Impacto en el Negocio y TI
 
новогодний калейдоскоп
новогодний калейдоскопновогодний калейдоскоп
новогодний калейдоскоп
 
Dr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesDr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured Magazines
 
Civiele Techniek
Civiele TechniekCiviele Techniek
Civiele Techniek
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 

Semelhante a วงดนตรีสากล

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลmanoprd
 

Semelhante a วงดนตรีสากล (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
05 mf
05 mf05 mf
05 mf
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
Music
MusicMusic
Music
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 

วงดนตรีสากล

  • 1. วงดนตรี สากล ลักษณะวงดนตรีสากล เราจะแบ่งลักษณะของวงดนตรีสากลออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันดังนี้ 1. วง Orchestra 2. วง Band 1. วง Orchestra หรือ ดุริยางค์ เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทหนึ่งที่ใ ช้ เครื่องดนตรีประเภท เครื่องสาย (String) เป็นหลัก หรือเป็นเครื่องที่มีบทบาทมากที่สุด สาคัญที่สุดมากกว่าเครื่องดนตรีกลุ่มอื่น ๆ 2. วง Band เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทที่ใช้เครื่องดนตรีประเภท เครื่องเป่า เป็นหลัก หรือเป็น เครื่องที่มีบทบาทมากที่สุด ชนิดของวง Orchestra 1. Symphony Orchestra เป็นวงดนตรีขนาดใหญ่มากประกอบด้วยเครื่องดนตรี 4 กลุ่ม คือ 1. เครื่องสาย 2. เครื่องลมไม้ 3. เครื่องเป่าทองเหลือง 4. เครื่องเคาะ ขนาดของวง วงเล็ก Small Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 60 - 80 คน วงกลาง Medium Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 80 - 100 คน วงใหญ่ Full Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 100 คนขึ้นไป 2. Orchestra for accompaniments for opera วงดุริยางค์ประเภทนี้ใช้บรรเลง ประกอบการแสดง โอเปรา คล้ายกับละครหรือลิเกของไทย ที่ต้องมีดนตรีบรรเลงประกอบด้วย ใช้นักดนตรี ประมาณ 60 คนหรือ มากกว่า 3. Chamber Orchestra วงดุริยางค์ประเภทนี้เป็นวงเล็ก ๆ มีผู้เล่นไม่เกิน 20 คน บางครั้งเราเรียก วงดนตรีประเภทนี้ว่า Chamber Music เพราะวงประเภทนี้ตั้งขึ้นเพื่อร่วมกันเล่นหรือบรรเลง เพื่อการผ่อนคลาย อารมณ์และพบปะสังสรรค์ยามว่าง เพลงที่เล่นก็เป็นเพลงง่าย ๆ และผู้เล่นอาจจมีตั้งแต่ 2 คนถึง 9 คน ชนิดของวง Band 1. Symphonic Band เป็นวงที่มีเครื่องเป่าเป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญ ประกอบด้วย เครื่องเป่าลมไม้ เครื่องเป่าทองเหลือง เครื่องเคาะ และ ดับเบิ้ลเบส กลุ่มเครื่องเป่าลมไม้จะมี คลาริเนท บีแฟล๊ต เป็นจานวนมาก เปรียบเสมือนกับ ไวโอลิน ของวง Orchestra ตัวอย่างเพลง Kentucky Sunrise 2. Military Band (วงโยธวาทิต) ตามมาตรฐานวงชนิดนี้จะมีผู้เล่นอยู่ราว 54 คน ประกอบด้วย เครื่องลมไม้ เครื่องทองเหลือง เครื่องเคาะ แต่จะไม่ใช้ ดับเบิ้ลเบส วงประเภทนี้จะใช้ในพิธีสวนสนามของทหาร หรือขบวนแห่ต่าง ๆ ตัวอย่างเพลง Battle Hyme of the republic , Stars & Stripes Forever " 3. Brass Band วงชนิดนี้คล้ายกับวงโยธวาทิตต่างกันก็ตรงที่ ไม่มี เครื่องลมไม้ และ เครื่องสายใด ๆเลย 4. Jazz Band วงแจ๊ส วงดนตรีแบบนี้เกิดขึ้นในกลุ่มนิโกรเป็นครั้งแรกและในปั จจุบันนี้วงแจ๊สส่วนใหญ่ ก็ยังเจริญอยู่กับพวกนิโกร วงดนตรีประเภทนี้ประกอบด้วย กลุ่มแซ๊กโซโฟน ซึ่งมีโซปราโนแซ๊กโซโฟน อัลโตแซ๊ก โซโฟน เทนเนอร์แซ๊กโซโฟน บาริโทนแซ๊กโซโฟน คลาริเนท ทรัมเป็ท ทรอมโบน ดับเบิ้ลเบส เปียนโน และ เครื่อง Percussion ตามความเหมาะสม เช่น กลองชุด ทอมบา บองโก มารากัส เป็นต้น ั เรี ยนรู ้กบครู อานาจ หน้า 1
  • 2. วงดนตรี สากล 5. Combo Band (วงคอมโบ) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก มุ่งประกอบการขับร้องเป็นส่วนใหญ่ นิยมนาไป บรรเลงตามร้านอาการ ไนท์คลับ หรือตามสถานที่เริงรมย์ต่าง ๆ วงดนตรีประเภทนี้มีจานวนนักดนตรีและ เครื่องดนตรีไม่แน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่ความสะดวกในการจัดวง แต่ส่วนมากมักประกอบด้วยเครื่องดนตรีคือ trumpet, Tenor Saxophone , Alto Saxophone , Trombone , Piano กีตาร์คอร์ด กีต้ารเบส กลองชุด เครื่องประกอบ จังหวะอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีวงดนตรีที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่อีกหลายชนิด ซึ่งวงที่เกิดขึ้นใหม่นี้ก็อาศัย ดัดแปลง ปรับปรุง แก้ไข จากของเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ปัจจุบันที่ต้องการความง่าย ๆ สะดวก สบาย รวดเร็ว เช่น 6. Shadow (วงชาโดว์) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก สะดวกในการขนย้ายไปแสดงในที่ต่าง ๆ ใช้บรรเลง ประกอบการขับร้อง และบางครั้งบรรเลงเฉพาะดนตรีอย่างเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้มี กีต้าร์ลีด (เมโลดี้) กีต้าร์คอร์ด กีต้าร์เบส กลองชุด เครื่องประกอบจังหวะอื่น ๆ 7. String combo วงดนตรีประเภทนี้ดัดแปลงมาจากวงคอมโบ และวงชาโดว์ คื อ นาเอาเครื่องดนตรี ในวงชาโดว์ผสมกับวงคอมโบ แต่ยังคงให้เครื่องดนตรีประเภทกีต้าร์ เป็นเครื่องทีมีความสาคัญกว่าเครื่องดนตรีอื่นๆ ่ 8. Folk Song วงโฟล์คซอง เป็นวงดนตรีขนาดเล็กที่สุด มีผู้เล่นไม่เกินวงละ 3 คน แต่ที่นิยมมากที่สุด นิยมเพียงคนเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้ กีต้าร์โปร่งเพียงอย่างเดียว โดยที่ผู้เล่นกีต้าร์จะร้องและดีดกีต้าร์ไปด้วย 9. String Band เป็นวงดนตรีที่ปรับปรุงจากวง คอมโบ โดยเพิ่ม ไวโอลิน มาร่วมบรรเลงด้วยประมาณ 6 - 10 คัน เพื่อให้ ไวโอลิน เหล่านี้เล่น เป็นทานอง และ back ground ทาให้เพลงที่บรรเลงมีความไพเราะยิ่งขึ้น หนักแน่นขึ้น วงประเภทนี้ได้รับความนิยมทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น วงดารากร วงเจมส์ลาส วงดนตรีสากล วงดนตรีสากลแบ่งได้เป็น 8 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. วงซิมโฟนี ออร์เคสตร้า ( Symphony Orchestra) วงประเภทนี้มีขนาดใหญ่ประกอบด้วย เครื่องดนตรีครบทุกกลุ่ม ขนาดของวงมีขนาดเล็ก 40-60 คน ขนาดกลาง 60-80 คนและวงใหญ่ 80-110 คน หรือมากกว่านั้น ขนาดของวงจะใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับเครื่องสายเป็นหลัก และผู้เล่นต้องมีฝีมือดี รวมถึงวาทยากร (conductor) ก็ต้องมีความสามารถอย่างยอดเยี่ยม ถ้าใช้เฉพาะเครื่องสายของวง Symphony Orchestra ก็ เรียกว่า String Orchestra 2. วงโยธวาทิต (Military Band) ประกอบด้วยเครื่องเป่าครบทุกกลุ่ม คือ เครื่องลมไม้ เครื่องทองเหลือง และกลุ่มเครื่องกระทบ ได้แก่เครื่องดนตรีที่ให้จังหวะทั้งหลาย วงโยธวาทิตมีมาตั้งแต่สมัยโรมันใช้บรรเลงเพลง เดินแถวเพื่อปลุกใจทหาร ในสมัยสงครามครูเสด ได้ซบเซาไปพักหนึ่ง และเจริญอีกในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ต่อมาในสมัยของนโปเลียน ได้ปรับปรุงให้มีเครื่องดนตรีอีกหลายชนิด เช่น พวกขลุ่ยผิว พวกปี่และแตร และต่อมา ก็เป็นต้นแบบของวงโยธวาทิต ในราวกลางศตวรรษที่ 19 เมื่ออดอลฟ์แซกซ์ นักประดิษฐ์ชาวเบลเยี่ยมได้ประดิษฐ์ แซกโซโฟนและแตรต่างๆ ในตระกูลแซกฮอร์นจึงได้นามาไว้กับวงโยธวาทิตด้วย จึงสมบูรณ์ดังได้กล่าวมาแล้ว ปัจจุบันวงโยธวาทิตมาตรฐานของอังกฤษใช้เครื่องดนตรี 56 ชิ้น 3. แตรวง(Brass Band) คือวงที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องทองเหลืองและเครื่องกระทบ แตรวงเหมาะสาหรับใช้บรรเลงกลางแจ้ง การแห่ต่างๆ เช่น ในประเทศไทยใช้แห่นาค แห่เทียนพรรษา เป็นต้น แตรวงมาตรฐานของอังกฤษใช้เครื่องดนตรี 26 ชิ้น ั เรี ยนรู ้กบครู อานาจ หน้า 2
  • 3. วงดนตรี สากล 4. วงแชมเบอร์มิวสิค (Chamber Music) หมายถึงวงดนตรีประเภทบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีที่เหมาะ สาหรับแสดงภายในห้องโถง หรือสถานที่ที่จุผู้ฟังได้เพียงจานวนน้อย ในสมัยแรกเล่นกันในห้องโถงตามราชสานัก หรือคฤหาสถ์ของขุนนางในยุโรป และนักดนตรีเล่นกันเองในหมู่เพื่อนฝูง ต่อมาคนเริ่มสนใจมากขึ้นสถานที่คับแคบ จึงเลื่อนไปเล่นในห้องโถงใหญ่และใน Concert Hall ซึ่งจัดไว้เพื่อการแสดงดนตรีโดยเฉพาะแชมเบอร์มิวสิค เน้นความสาคัญของนักดนตรีทุกคนเท่าๆ กัน โดยปกติจะมีนักดนตรี 2-9 คน และเรียกชื่อต่างๆกันตามจานวน ของผู้บรรเลงดังนี้ จานวนผู้บรรเลง 2 คน เรียกว่า ดู (Duo) จานวนผู้บรรเลง 3 คน เรียกว่า ตริโอ (Trio) จานวนผู้บรรเลง 4 คน เรียกว่า ควอเตท (Quartet) จานวนผู้บรรเลง 5 คน เรียกว่า ควินเตท (Quintet) จานวนผู้บรรเลง 6 คน เรียกว่า เซกซ์เตท (Sextet) จานวนผู้บรรเลง 7 คน เรียกว่า เซปเตท (Septet) จานวนผู้บรรเลง 8 คน เรียกว่า ออกเตท (Octet) จานวนผู้บรรเลง 9 คน เรียกว่า โนเนท (Nonet) 5. วงแจ๊ซซ์ (Jazz) ดนตรีแจ๊ซซ์ เกิดจากพวกทาสนิโกร ที่นิวออร์ลีนหลังจากนโปเลียนขายนิวออร์ลีน ให้อเมริกา พวกอเมริกันขาว โอไฮโอ แถบฝั่งแม่น้ามิสซิสซิปปี้ พวกอเมริกัน จากอเมริกาตะวันตก ก็อพยพเข้า เมืองนิวออร์ลีนจึงทาให้เมืองนี้ประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติรวมถึง ฝรั่งเศส สเปนและอังกฤษด้วย พวกนิโกร ดังกล่าว พอว่างจากงานก็ชุมนุมกันร้องราทาเพลง เครื่องดนตรีที่ใช้ทาขึ้นตามมีตามเกิด เอาไม้ไผ่มาเหลาเจาะเป็น เครื่องเป่า เอาหนังวัวมาขึงทาเป็นกลองตี พวกที่คิดแจซซ์ขึ้น สันนิษฐานว่าเป็นพวกกองโก(Gongoes) พวกนี้บูชา งูใหญ่ เป็นพวกที่มีจิตใจเมตตากรุณาและสุภาพที่สุด โดยได้รากฐานจากเพลงสวดของพวกนิโกร(Nigro spiritual) ซึงแต่งขึนก่อนพวกทาสจะได้รับการปลดปล่อยเป็นอิสระ ่ ้ 6. วงปอปปูลามิวสิค (Popular Music) หรือวงดนตรีลีลาศ ใช้บรรเลงตามงานรื่นเริงทั่วไป ประกอบด้วยเครื่องดนตรีกลุ่ม แซกโซโฟนกลุ่มเครื่องทองเหลืองและกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ 7. วงคอมโบ(Combo band) หรือสตริงคอมโบ เป็นวงที่เอาเครื่องดนตรีบางส่วนมาจาก Popular Music อีกทั้งลักษณะของเพลงและสไตล์การเล่นก็เหมือนกัน จานวนเครื่องดนตรีส่วนมากอยู่ระหว่าง ประมาณ 3 –10 ชิ้น เครื่องดนตรีจะมีพวกริทึม(Rhythm) และพวกเครื่องเป่าทั้งลมไม้และเครื่องทองเหลือง เครื่องดนตรีที่ใช้เป็นหลักคือ กลองชุด เบส เปียโน หรือมีเครื่องเป่าผสมด้วยจะเป็นเครื่องลมไม้หรือทองเหลือง ก็ได้ไม่จากัดจานวน แต่รวมแล้วต้องไม่เหมือนกับปอปปูลามิวสิค วงคอมโบก็เป็น สมอลล์ แบนด์ (small Band) แบบหนึ่ง ดังนั้นวงนี้จึงเป็นวงที่มีขนาดไม่ใหญ่นักเหมาะสาหรับเล่นตามงานรื่นเริงทั่วๆ ไป นอกจากนั้นยังเหมาะ สาหรับเพลงประเภทไลท์มิวสิค อีกด้วย 8. วงชาร์โด (Shadow)เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณ 20 ปีมานี่เอง ในอเมริกา วงดนตรีประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือคณะThe Beattle หรือสี่เต่าทอง เครื่องดนตรีในสมัยแรก มี 4 ชิ้น คือ 1. กีตาร์เมโลดี้(หรือกีตาร์โซโล) 2. กีตาร์คอร์ด 3. กีตาร์เบส 4. กลองชุด วงชาโดว์ ในระยะหลังได้นาออร์แกนและพวกเครื่องเป่า เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ตทรอมโบนเข้ามาผสม และบางทีอาจมี ไวโอลินผสมด้วย เพลงของพวกนี้ส่วนใหญ่จะเร่าร้อน ซึ่งได้รับความนิยมมากในหมู่วัยรุ่น โดยเฉพาะเพลงประเภท อันเดอร์กราว ั เรี ยนรู ้กบครู อานาจ หน้า 3