SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 72
Baixar para ler offline
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เล่มที่ 2 เรื่อง เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์
อานาจ ศรีทิม
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
11
คานา
ในปัจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
ให้มากที่สุด เพื่อให้นักเรียนมีนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ อยู่เสมอ ดังนั้นการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน
เป็นแนวทางหนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าและสามารถเรียนรู้หาคาตอบได้ด้วยตนเอง
ผู้เขียนจึงได้ดาเนินการสร้างเอกสารประกอบการเรียน ราย วิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 6 เล่ม เป็นเอกสารที่ผู้เขียนดาเนินการสร้างตรงตาม หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เขียนได้ค้นคว้า รวบรวม เนื้อหา ความรู้จากตาราและ
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการปฏิบัติจริง
ที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน สาหรับเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ประกอบด้วย
เนื้อหาเกี่ยวกับเครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์ ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนที่จัดทาเล่มนี้
สามารถแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพต่อไป นอกจากนั้นครูอาจารย์ที่สนใจสามารถ
ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตร
อย่างมีประสิทธิภาพ
ขอขอบคุณ นายธวัชชัย เทศขา ผู้อานวยการโรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ นายอาวุธ เพ็งแตง
ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม นายอภิรัฐ จันดาหาญ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนตะพานหิน นางกมลรัตน์ มีไชโย ค รูชานาญการพิเศษ นางธันยพร เขียวเขิน
ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ และนางศิริพร ภู่ดี ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนบ้านหนองหูช้าง ที่ได้กรุณาตรวจสอบเอกสารประกอบการเรียน และให้ข้อเสนอแนะ
ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
อานาจ ศรีทิม
11
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
จุดประสงค์การเรียนรู้ ง
คาชี้แจง จ
กระดาษคาตอบ ฉ
แบบทดสอบก่อนเรียน ช
เรื่องที่ 1 เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ 1
- กิจกรรมที่ 1 8
เรื่องที่ 2 เครื่องมือตัด 9
- กิจกรรมที่ 2 18
เรื่องที่ 3 เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ 19
- กิจกรรมที่ 3 31
เรื่องที่ 4 เครื่องมือเจาะ 32
- กิจกรรมที่ 4 38
เรื่องที่ 5 เครื่องมือยึดตรึงและวัสดุยึดตรึงไม้ 39
- กิจกรรมที่ 5 52
แบบทดสอบหลังเรียน 53
11
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ภาคผนวก 55
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 56
- เฉลยกิจกรรมที่ 1 57
- เฉลยกิจกรรมที่ 2 58
- เฉลยกิจกรรมที่ 3 59
- เฉลยกิจกรรมที่ 4 60
- เฉลยกิจกรรมที่ 5 61
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 62
บรรณานุกรม 63
11
จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเครื่องมือช่างไม้
ครุภัณฑ์ แล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้
1. สามารถบอกชื่อเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
2. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบและข้อควรระวัง
ในการใช้งานได้
3. สามารถใช้เครื่องมือวัดระยะและการร่างแบบที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
4. สามารถบอกชื่อเครื่องมือตัดที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
5. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือตัด และข้อควรระวังในการใช้งานได้
6. สามารถใช้เครื่องมือตัดที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
7. สามารถบอกชื่อเครื่องมือไสและตกแต่งไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
8. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือไสและตกแต่งไม้และข้อควรระวัง
ในการใช้งานได้
9. สามารถใช้เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
10. สามารถบอกชื่อเครื่องมือเจาะที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
11. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือเจาะและข้อควรระวังในการใช้งานได้
12. สามารถใช้เครื่องมือเจาะที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
13. สามารถบอกชื่อเครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
14. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงไม้และ
ข้อควรระวังในการใช้งานได้
15. สามารถใช้เครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
11
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโน โลยี สาระการอาชีพ
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ เป็นเอกสารสาหรับนักเรียน เพื่อใช้ประกอบ
การเรียนรู้ และ ฝึกทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม โดยนักเรียนสามารถใช้เอกสารประกอบการเรียน
ได้ด้วยตนเองตามแนวทางตามลาดับดังนี้
1. ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อศึกษาจบแล้ว จะได้รับความรู้
อะไรบ้าง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน
3. ให้นักเรียนศึกษาและทาความเข้าใจเนื้อหา เรื่องที่ 1 เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ เรื่องที่ 2
เครื่องมือตัด เรื่องที่ 3 เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ เรื่องที่ 4 เครื่องมือเจาะ และเรื่องที่ 5 เครื่องมือ
ยึดตรึงและวัสดุยึดตรึงไม้
4. ทากิจกรรมตามที่กาหนดให้ด้วยตนเอง ถ้าทาไม่ได้ หรือสงสัยให้อ่านทบทวนเนื้อหาใหม่
5. ตรวจคาตอบกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 และกิจกรรมที่ 5
จากเฉลยในส่วนของภาคผนวก
6. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ
7. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลยในส่วนของ
ภาคผนวก
8. สรุปคะแนนในแบบสรุปผลการเรียน
11
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เล่มที่ 2 เรื่องเครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์
ชื่อ ................................................................................................................ เลขที่ .............................
แบบทดสอบก่อนเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สรุปผลการเรียน
คะแนนเต็ม คะแนน
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ์การประเมิน
80 - 100 % = ดีมาก
70 – 79 % = ดี
60 - 69 % = พอใช้
0 - 59 % = ควรปรับปรุง
กระดาษคาตอบ
คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดคือเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบทั้งหมด
ก. ดินสอ ไม้บรรทัด ตลับเมตร ฉากลอง
ข. ไม้บรรทัด ตลับเมตร กบไม้ สว่าน
ค. ดินสอ ตลับเมตร กระดาษทราย สว่าน
ง. ไม้บรรทัด ตลับเมตร ฉากลอง ตะไบ
2. ข้อดีของขอเกี่ยวที่ปลายสายวัดของตลับเมตรคือข้อใด
ก. ใช้ขีดไม้บอกระยะ
ข. ใช้ยึดเกี่ยวกับชิ้นงาน
ค. ใช้ตัดเศษไม้
ง. ใช้ขูดผิวไม้ให้เรียบ
3. เลื่อยลันดามีกี่แบบ อะไรบ้าง
ก. 1 แบบ คือ แบบฟันตัด
ข. 1 แบบ คือ แบบฟันหนู
ค. 2 แบบ คือ แบบฟันตัด และแบบฟันหนู
ง. 2 แบบ คือ แบบฟันตัด และแบบฟันโกรก
4. ก่อนใช้งานเลื่อยไฟฟ้า สิ่งแรกที่ต้องทาคือสิ่งใด
ก. เสียบปลั๊ก
ข. ฝนคมใบมีด
ค. ตรวจสภาพทั่วไปของเลื่อยไฟฟ้า
ง. เปิดสวิตซ์
แบบทดสอบก่อนเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์
5. กระดาษทรายเบอร์ใด มีความละเอียดมากที่สุด
ก. เบอร์ 1
ข. เบอร์ 2
ค. เบอร์ 3
ง. เบอร์ 4
6. เมื่อใช้งานเครื่องมือไสไม้เสร็จแล้ว ก่อนเก็บเข้าที่จะต้องทาอย่างไร
ก. ทาน้ามัน
ข. เปาหรือใช้แปรงปัดฝุ่นออก
ค. ตรวจสอบสายไฟ
ง. ล็อคสวิตซ์เปิด – ปิดทุกครั้ง
7. เครื่องมือเจาะไม้ที่นิยมใช้งานในปัจจุบันคือ
ก. สว่านเฟือง
ข. สว่านข้อเสือ
ค. สว่านแบบกด
ง. สว่านไฟฟ้า
8. ตัวล็อคสวิตซ์ ของสว่านไฟฟ้ามีประโยชน์อย่างไร
ก. ช่วยป้ องกันการทางานของสว่าน
ข. ช่วยยึดจับสวิตซ์ให้ติดกับตัวสว่าน
ค. ช่วยล็อคสวิตซ์ให้สว่านทางานโดยไม่ต้องกด
ง. ช่วยป้ องกันไม่ให้วัตถุต่างๆ ไปโดนสวิตซ์เปิด – ปิด
9. เครื่องมือใดที่นิยมใช้ยึดจับชิ้นงานไม้ในขณะปฏิบัติงานไม้
ก. แม่แรง
ข. ปากกาหัวโต๊ะ
ค. สลักเกลียว
ง. ตะปู
10. กาวลาเท็ก ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์อย่างไร
ก. ทายึดอุปกรณ์ช่างไม้
ข. ผสมกับขี้เลื่อยให้ยัดอุดร่องรอยต่าง ๆ ของไม้
ค. ใช้ผสมน้ามันทาไม้
ง. ใช้ต่อไม้ให้ยาวขึ้น
**********************
เรื่องที่ 1
เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ
เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ
เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ เป็ นเครื่องมือที่ใช้สาหรับการกาหนดหรือร่างแบบ
ลงบนชิ้นงาน เครื่องมือชนิดนี้จัดเป็นเครื่องมือประเภทแรกที่สาคัญที่สุดกับการทางานเนื่องจาก
ขนาดหรือรูปแบบของชิ้นงานจะถูกต้องหรือเที่ยงตรงได้ ส่วนหนึ่งจะเป็นผลมาจากเครื่องมือเหล่านี้
ดังนั้นเพื่อจะได้ผลงานที่ดีและมีคุณภาพจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ใช้ จะต้องมีความรู้เรื่องเครื่องมือ และ
มีประสบการณ์ที่ถูกต้องในการใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็นอย่างดี
1. บรรทัดเหล็ก
นิยมใช้กับงานช่างไม้ทั่วไป มีหลายขนาด มาตราวัดระยะที่อยู่บนไม้บรรทัดจะเป็นระบบ
อังกฤษ (นิ้ว) ระบบเมตริก (เซนติเมตร) หรือทั้งสองระบบรวมกันก็ได้(ดังภาพที่ 2.1)
ภาพที่ 2.1 บรรทัดเหล็ก
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจดูสภาพทั่วไปของบรรทัดเหล็ก
2. เวลาวัดให้ปลายบรรทัดเหล็กที่มีหน่วยวัดเป็นศูนย์อยู่ชิดติดกับขอบไม้ที่วัด
3. อ่านตัวเลขที่ต้องการวัดความยาว หรือกาหนดจุดสัญลักษณ์ตามความยาวที่ต้องการ
4. ใช้วัดได้ทั้งหน่วยที่เป็นเซนติเมตรและหน่วยนิ้ว (ดังภาพที่ 2.2)
ภาพที่ 2.2 การใช้งานบรรทัดเหล็ก
การป้ องกันอันตรายจากการใช้งาน
1. ใช้งานด้วยความระมัดระวัง
2. ไม่นาบรรทัดเหล็กมาเล่นกัน เพราะบรรทัดเหล็กทาด้วยเหล็กมีความคม อาจทาให้เกิด
อันตรายได้
3. เหมาะสาหรับงานวัดระยะเท่านั้น ไม่ควรนาไปใช้ตัด
2. ตลับเมตร
ตลับเมตร (ดังภาพที่2.3) เป็นเครื่องมือวัดระยะที่นิยมใช้กันมากที่สุดกับงานช่างไม้ ตัวตลับ
ทาด้วยพลาสติก ส่วนสายวัดจะทาด้วยโลหะแผ่น บางชนิดบิดงอได้ จึงสามารถวัดได้ทั้งส่วนที่เป็น
เส้นตรงและส่วนที่เป็นเส้นโค้ง ที่ปลายสายวัดจะทาเป็นขอเกี่ยว ใช้สาหรับเกี่ยวเข้ากับขอบชิ้นงาน
มีตัวล็อคสายวัด เพื่อให้สะดวกต่อการวัดและสามารถป้ องกันมิให้สายวัดหลุดเข้าไปในตลับได้อีกด้วย
บนสายวัดจะมีมาตราวัดระยะทั้งชนิดที่บอกเป็นเซนติเมตรและบอกเป็นนิ้ว ใช้กับงานที่ต้องการ
ความละเอียดและความเที่ยงตรงสูง
ภาพที่ 2.3 ตลับเมตร
วิธีการใช้งาน
1. ดึงสายวัดออกจากตลับเมตร
2. ใช้ขอเกี่ยว เกี่ยวเข้ากับขอบชิ้นงานที่ต้องการวัด (ดังภาพที่ 2.4)
3. อ่านมาตราวัดที่บอกทั้งชนิดที่บอกเป็นเซนติเมตรและนิ้ว
4. ใช้งานได้ทั้งวัดความยาว หรือกาหนดจุดสัญลักษณ์ตามความยาวที่ต้องการ
ภาพที่ 2.4 ใช้ขอเกี่ยวกับชิ้นงานที่ต้องการวัด
การป้ องกันอันตรายจากการใช้
1. เวลาดึงสายวัดออกจากตลับเมตรให้ดึงด้วยความระมัดระวัง เพราะสายวัดทาด้วยโลหะ
แผ่นบาง อาจบาดอวัยวะของร่างกายได้
2. เมื่อเกี่ยวขอวัดกับชิ้นงาน ควรกดล็อคสายวัดด้วย เพื่อป้ องกันไม่ให้สายวัดม้วนกลับเข้า
ตลับเมตร หรือตวัดโดนอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
3. ห้ามนาสายวัดมาใช้ตัดชิ้นงานใดๆ เพราะจะทาให้สายวัดเสียหาย
4. ห้ามโยนตลับเมตรให้กัน ควรส่งกันระหว่างมือกับมือ เพราะตลับเมตรทาด้วยโลหะ
เมื่อโดนร่างกายอาจได้รับบาดเจ็บ หรือถ้าตกหล่นจะเสียหายได้
3. ฉากลอง
ฉากลอง (ดังภาพที่ 2.5) บางทีเรียกฉากตาย ฉากชนิดนี้ทามุมกับด้ามฉาก 90 องศา ด้ามฉาก
ทาด้วยโลหะ ใบฉากทาด้วยโลหะ ด้ามฉากยังจาแนกออกตามลักษณะการสร้าง ได้ 2 แบบ คือ
แบบตรงใช้วัดหรือตรวจสอบได้เฉพาะมุม 90 องศา กับปลายด้ามที่ติดกับใบฉากตัดเป็นมุม 45 องศา
ซึ่งสามารถวัดหรือตรวจสอบได้ทั้งมุม 45 องศา และ 90 องศา
ภาพที่ 2.5 ฉากลองหรือฉากตาย
วิธีการใช้งาน
1. ใช้ฉากวัดมุม 90 องศา (ไม้2 ชิ้น) โดยให้ด้ามฉากวางชิดกับไม้ชิ้นล่าง ส่วนไม้ที่ตั้งขึ้น
ให้ชิดกับใบฉาก เพื่อประกอบชิ้นงานไม้ให้ได้ฉาก
2. ใช้ฉากวัดมุม 90 องศา (ไม้1 ชิ้น) โดยให้ด้ามฉากวางชิดกับไม้ด้านล่างในส่วนที่ตัด
ส่วนขอบไม้ให้ชิดกับใบฉาก (ดังภาพที่ 2.6) เพื่อตรวจสอบการตัดไม้ให้ได้ฉาก
3. ใช้ปลายด้ามฉากวัดมุม 45 องศา โดยให้ด้ามฉากวางชิดกับไม้ด้านล่าง และขีดเส้น
ไปตามใบฉาก (ใช้ได้ทั้งการวัดมุม 45 องศา และเพื่อทาสัญลักษณ์ก่อนการตัดไม้)
ภาพที่ 2.6 ใช้ฉากวัดมุม 90 องศา (ไม้ชิ้นเดียว)
การป้ องกันอันตรายจากการใช้
1. ฉากลองทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
2. ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้
3. เวลาใช้งานห้ามหยอกล้อหรือเล่นกัน เพราะงานที่ทาจะเสียหายไม่ได้มาตรฐาน
4. ดินสอ
ดินสอ (ดังภาพที่ 2.7) จัดเป็นเครื่องมือขีดไม้ที่นิยมใช้กันมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กับงานช่างไม้ ทั้งนี้เนื่องจากรอยขีดจากดินสอสามารถมองเห็นง่าย และสามารถลบออกได้ง่าย
เมื่อไม่ต้องการ
ภาพที่ 2.7 ดินสอ
วิธีการใช้งาน
ใช้ขีดทาสัญลักษณ์ทั่วไป หรือใช้ลากเส้นทาสัญลักษณ์ก่อนตัดไม้(ดังภาพที่ 2.8)
ภาพที่ 2.8 ใช้ดินสอลากเส้นทาสัญลักษณ์ก่อนตัดไม้
การป้ องกันอันตรายจากการใช้
1. เนื่องจากดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่มแทง
ร่างกายได้
2. ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืม พลาดหกล้ม หรือนั่ง
อาจทิ่มแทงโดนร่างกายได้
5. ขอขีดไม้
ขอขีดไม้ (ดังภาพที่ 2.9) เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดลงบนเนื้อไม้ขนานไปตามแนวของขอบไม้
เพื่อใช้ในการแบ่งไม้สาหรับเลื่อยโกรกและตัด เพื่อให้ได้ไม้ที่มีขนาดถูกต้องตามความต้องการ
ขอขีดไม้ประกอบไปด้วยหมุด คาน ลิ่ม และหัวของหัวขีด ส่วนประกอบทั้งหมดทาด้วยไม้ ยกเว้น
หมุดที่ทาด้วยเหล็ก หัวของหัวขีดสามารถเลื่อนไปมาบนคานได้ โดยมีลิ่มสาหรับล็อคคานให้ติดกับ
หัวขอขีดที่ปลายคานจะมีหมุด ซึ่งใช้เป็นตัวขีดลงไปบนเนื้อไม้ประกอบติดอยู่
ภาพที่ 2.9 ขอขีดไม้
วิธีการใช้งาน
1. เลื่อนปรับระดับความยาวของขอขีดไม้ตามที่ต้องการ แล้วยึดล็อคลิ่มไว้
2. ให้ตัวคานของขีดไม้ชิดแนบสนิทกับไม้ ทาการขีดเพื่อทาสัญลักษณ์ (ดังภาพที่ 2.10)
ภาพที่ 2.10 การใช้งานขอขีดไม้
การป้ องกันอันตรายจากการใช้
1. ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง
เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้
2. ตัวขอขีดไม้เป็นไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บได้
หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้
กิจกรรมที่ 1
เรื่อง เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
คาสั่ง : ให้นักเรียนอ่านชื่อเครื่องมือในแต่ละข้อแล้วพิจารณาว่าข้อใดเป็นเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ
และทาเครื่องหมาย  ถ้าไม่ใช่ให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อนั้น ( 10 คะแนน )
.................... 1. ดินสอ .................... 6. เลื่อยลันดา
.................... 2. สิ่ว .................... 7. ตลับเมตร
.................... 3. ปากกาจับไม้ .................... 8. แม่แรง
.................... 4. ฉากลอง .................... 9. ไม้บรรทัด
.................... 5. ขอขีดไม้ .................... 10. ไขควง
คาสั่ง : ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและได้ใจความ ( 10 คะแนน )
1. ไม้บรรทัดมีหน่วยวัดความยาวเป็นนิ้วและ ........................................
2. การใช้ไม้บรรทัดวัดความยาว ควรวางไม้บรรทัดด้านที่หน่วยวัดเป็นศูนย์ไว้ .................. ของชิ้นงาน
3. สายวัดของตลับเมตรจะมี.................................ไว้เกี่ยวกับขอบชิ้นงาน
4. ถ้าไม่ต้องการให้สายวัดของตลับม้วนกลับเข้าที่เดิม ต้อง .................... ล็อคสายวัด
5. ฉากลองหรือฉากตายใช้วัดมุม 90 องศา และ ............... องศา
6. ใช้.................................... วัดมุมการเข้าไม้ว่าได้ฉากหรือไม่
7. รอยขีดจากดินสอสามารถมองเห็นง่าย และสามารถ....................ได้ง่ายเมื่อไม่ต้องการ
8. ............................... จัดเป็นเครื่องมือขีดไม้ที่นิยมใช้กันมากที่สุด
9. ขอขีดไม้ เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดลงบนเนื้อไม้ขนานไปตามแนว..........................
10. ขอขีดไม้ทั้งหมดทาด้วยไม้ ยกเว้น ................ ที่ทาด้วยเหล็ก ใช้ขีดไม้
เรื่องที่ 2
เครื่องมือตัด
เครื่องมือตัด
เครื่องมือตัดที่ใช้กับงานช่างไม้ ได้แก่ เลื่อย ช่างไม้จะใช้เลื่อยเพื่อตัดไม้ ให้ได้ขนาดและ
รูปร่างตามที่ต้องการ เลื่อยมีหลายชนิดแต่ละชนิดจะมีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
แตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะกับงานแต่ละประเภท
1. เลื่อยลันดา
เลื่อยลันดา แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ ได้ 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนที่เป็นมือจับซึ่งอาจจะทาด้วย
ไม้หรือพลาสติก กับส่วนที่เป็นใบเลื่อย ซึ่งทาด้วยเหล็ก ที่ปลายของใบเลื่อยจะเจา ะรูไว้สาหรับแขวน
ส่วนที่โคนของใบเลื่อยจะมีตัวเลขบอกขนาดความยาว และจานวนของฟันต่อนิ้วของเลื่อย
เลื่อยลันดาสามารถจาแนกออกตามลักษณะของฟันเลื่อยได้เป็น 2 แบบ ด้วยกันคือเลื่อยฟันตัด
(Crosscut Saw) (ดังภาพที่ 2.11) และเลื่อยฟันโกรก (Rip Saw) (ดังภาพที่ 2.12)
ภาพที่ 2.11 เลื่อยลันดาชนิดฟันตัด
ภาพที่ 2.12 เลื่อยลันดาชนิดฟันโกรก
วิธีการใช้งาน
เลื่อยตัดและเลื่อยโกรก (Crosscut and rip saw)
1. การเลื่อยตัด เลื่อยชนิดนี้จะใช้ตัดไม้ตาม ขวางเสี้ยนไม้ฟันของเลื่อยมีความคมสลับกัน
ทั้งซ้ายและขวา สามารถตัดชิ้นไม้ที่มีความกว้างกว่าตัวเลื่อยได้
2. การเลื่อยโกรก หมายถึง การผ่าหรือตัดไม้ตามความยาวของเสี้ยนได้ ฟันของเลื่อยจะห่าง
และเอียงองศามากกว่าเลื่อยตัด
การใช้เลื่อย
การใช้เลื่อยได้อย่างถูกต้องกับงานที่ทา และสามารถใช้ได้อย่างถูกวิธี ถือว่าเป็นหัวใจของ
การทางาน เพราะไม่เพียงแต่จะทาให้ผลงานที่ได้รับเรียบร้อยแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังจะช่วยให้
เลื่อยอยู่ในสภาพที่ดีและไม่ทื่อเร็วจนเกินไป มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้นอีกด้วย
ขั้นตอนในการใช้เลื่อยที่ถูกวิธี คือ
1. การเตรียมงาน
ก่อนที่จะเริ่มทาการเลื่อยไม้ ให้ดาเนินการเตรียมงาน ดังต่อไปนี้ คือ
1.1 เลือกชนิดและขนาดของเลื่อยให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่จะทา
1.2 จัดเตรียมชิ้นงานที่จะเลื่อย ได้แก่การร่างแบบหรือการขีดแนวลงบนชิ้นงานตาม
ที่ต้องการ (ดังภาพที่ 2.13)
1.3 จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่างๆ อาทิเช่น ปากกาหัวโต๊ะ ปากกาไม้
เป็นต้น
ภาพที่ 2.13 ขีดแนวลงบนชิ้นงานก่อนทาการเลื่อย
2. การเลื่อย
ลาดับขั้นในการเลื่อยไม้ที่ถูกวิธี มีดังต่อไปนี้
2.1 วางไม้ลงบนม้ารองเลื่อย ให้ปลายไม้ด้านที่ต้องการเลื่อยอยู่ทางด้านขวามือ
(สาหรับผู้ถนัดขวา) แล้วใช้เข่าซ้ายกดไม้เข้ากับม้ารองเลื่อย
2.2 จับเลื่อยด้วยมือขวา โดยให้นิ้วชี้วางทาบไปบนใบเลื่อย การจับดังกล่าวจะทาให้
สะดวกต่อการควบคุมเลื่อยในขณะทาการเลื่อย
2.3 ใช้มือซ้ายจับที่ขอบไม้ด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือเป็นตัวควบคุม (ดังภาพที่ 2.14)
2.4 จรดฟันเลื่อยด้านโคนชิดเส้นด้านนอกที่ขอบไม้ และประมาณ 60 องศา สาหรับ
การโกรกไม้หรือซอยไม้ ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาช่วยควบคุมใบเลื่อยแล้วค่อย ๆ ดึงเลื่อยเข้าหาตัวเป็น
การเริ่มเลื่อย
2.5 ชักเลื่อยยาวๆ ช้าๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอ โดยออกแรงกดเล็กน้อย ในขณะที่ดัน
ใบเลื่อยไปข้างหน้า ตามองที่เส้นหรือแนวที่จะตัดเพื่อให้เลื่อยตรงเส้นและ ปากไม้ที่ตัดได้ฉาก ขณะ
ดึงเลื่อยกลับเข้าหาตัวให้ผ่อนแรงกด ทั้งนี้เนื่องจากฟันเลื่อยได้ถูกออกแบบให้กินเนื้อไม้ในขณะที่
ดันไปข้างหน้าเท่านั้น
2.6 เมื่อเลื่อยไม้ใกล้จะขาด ให้ใช้มือซ้ายอ้อมไปจับชิ้นงานที่กาลังจะขาด จากนั้นให้
ชักเลื่อยถี่ ๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอจนกว่าชิ้นงานจะขาดออกจากกัน จะสามารถป้ องกันมิให้ไม้ฉีกได้
(ดังภาพที่ 2.15)
2.7 ตรวจสอบการตัดไม้ด้วยฉาก
ภาพที่ 2.14 ใช้มือซ้ายจับที่ขอบไม้ด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือเป็นตัวควบคุม
ภาพที่ 2.15 เมื่อเลื่อยไม้ใกล้ขาด ให้ใช้มือซ้ายอ้อมไปจับชิ้นงานที่กาลังจะขาด
การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อย
1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้
2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย
หลุดเข้าปอดได้
3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา
2. เลื่อยรอ
เลื่อยรอ (ดังภาพที่ 2.16) บางที่เรียกเลื่อยสันแข็ง ลักษณะคล้ายเลื่อยลันดา แต่ใบเลื่อยจะเป็น
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสั้นและบางกว่า ดังนั้นจึงต้องมีสันเลื่อยซึ่งทาเป็นเหล็กประกบยึดแน่นเป็นเส้นตรง
ตลอดสันของใบเลื่อย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงในขณะทาการเลื่อย ด้ามถือทาด้วยไม้แบบต่างๆ ลักษณะ
ของฟันเลื่อยเหมือนกับเลื่อยฟันตัดมีจานวนฟันตั้งแต่ 13 ถึง 15 ฟันต่อนิ้ว
ภาพที่ 2.16 เลื่อยรอ
วิธีการใช้งาน
เลื่อยชนิดนี้วัตถุประสงค์ในการสร้างก็เพื่อที่จะใช้ในการรอปากไม้ เพื่อเข้าปากไม้มุมตู้
เข้ากรอบรูป เข้ากรอบวงกบประตูหน้าต่าง นอกจากนั้นยังสามารถใช้ในการตัด ปากไม้หรือลิ่มไม้
ผ่าเดือย และตัดไม้ชิ้นเล็ก ๆ ซึ่งเลื่ อยบางชนิดไม่สามารถจะตัดไม้หรือใช้ตัดส่วนอื่นๆ ที่ต้องการ
ความละเอียดเรียบร้อยและประณีต (ดังภาพที่ 2.17)
ภาพที่ 2. 17 การใช้เลื่อยรอ
เลื่อยรอเหมาะสาหรับใช้งานเลื่อยตกแต่งปากไม้ที่ต้องการความประณีตของการเข้าไม้
ในลักษณะของงาน ดังนี้
1. งานเลื่อยตัดแต่งบ่าเดือย กระทาหลังจากการเลื่อยผ่านแนวเส้นของตัวเดือยที่ชิ้นงานไม้แล้ว
ยังคงเหลือการทาบ่าเดือย ชิ้นงานไม้จะถูกนามาเลื่อยตัดแต่งบ่าเดือย โดยการใช้เลื่อยรอเป็นเครื่องมือ
ตัดแต่งบ่าเดือย มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้
1.1 จับยึดไม้หรือชิ้นงานที่ต้องการเลื่อยตัดบ่าให้แน่นบนที่รองตัดไม้
1.2 ปรับแต่งใบเลื่อยให้ฟันเลื่อยรอ วางชิดริมแนวเส้นด้านนอก ของบ่าเดือยที่ต้องการตัด
1.3 เลื่อยตัดเอียงเล็กน้อยให้ฟันเลื่อยกินไม้อยู่ในแนวเส้นและให้ไม้ขาดออกจากกัน
เมื่อฟันเลื่อยกินไม้พอดีชิดริมแนวเส้นด้านในของบ่าเดือย เมื่อไม้ขาดออกจากกัน
2. งานปรับแต่งความห่างของปากไม้ การเข้าไม้ในงานประณีต จาเป็นต้องใช้เลื่อยรอ
เลื่อยปรับแต่งความห่างของปากไม้ ช่วยให้การเข้าไม้มีปากไม้ที่เข้ากันได้สนิท มีวิธีปฏิบัติดังนี้
2.1 ปรับตั้งชิ้นงานการเข้าไม้ให้มีมุมองศา และมีปากไม้ที่ประกอบเข้าด้วยกันที่ยังไม่สนิท
ให้มีความห่างเท่ากับขนาดความกว้างของคลองเลื่อยรอและยึดจับชิ้นงานการเข้าไม้ให้แน่น
2.2 ปรับตั้งใบเลื่อยรอให้ฟันเลื่อยตัดกินเนื้อไม้ตลอดแนวต่อระหว่างปากไม้ที่เข้ากัน
ไม่สนิทออกให้เท่ากับปากไม้ที่ห่าง เพื่อให้ปากไม้ประกอบเข้าด้วยกันได้สนิท
2.3 ถ้าปากไม้ยังไม่สนิท ให้ปรับตั้งชิ้นงานการเข้าไม้และใช้เลื่อยรอตัดปรับแต่งปากไม้
ที่สนิทออก ให้เท่ากับปากไม้ที่ห่าง เพื่อให้ปากไม้ประกอบเข้าด้วยกันได้สนิท
การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยรอ
1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้
2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย
ที่อาจหลุดเข้าปากได้
3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา
4. ทุกครั้งที่ใช้เลื่อยรอต้องแน่ใจว่าฟันเลื่อยรอมีความคมและมีคลองเลื่อยที่ถูกต้อง
5. หลีกเลี่ยงการเลื่อยให้ฟันเลื่อยรอถูกของแข็ง เช่น ตะปูที่ติดหรือฝังอยู่ในเนื้อไม้
6. หลีกเลี่ยงการบิดใบเลื่อยรอ เพื่อให้ไม้ที่ถูกตัดขาดออกจากกัน
3. เลื่อยหางหนู
เลื่อยหางหนู (ดังภาพที่ 2.18) เป็นเลื่อยที่มีลักษณะเล็ก แหลม มีขนาดใหญ่และฟันหยาบ
มีด้ามจับทาด้วยไม้
ภาพที่ 2.18 เลื่อยหางหนู
วิธีการใช้งาน
เลื่อยชนิดนี้ใช้ในการตัด เจาะรูหรือใช้เลื่อยส่วนโค้ง (ดังภาพที่ 2.19) ซึ่งเลื่อยชนิดอื่น
ไม่สามารถจะเลื่อยได้ เช่น งานเจาะรางน้าตามชายคาและอื่น ๆ นอกจากนั้นก็ยังสามารถใช้ประโยชน์
ในงานช่างครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับไม้ได้อีกด้วย
ภาพที่ 2.19 การใช้เลื่อยหางหนูเลื่อยส่วนโค้งเว้า
การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยหางหนู
1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้
2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย
ที่อาจหลุดเข้าปอดได้
3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา
4. เลื่อยฉลุ
เลื่อยฉลุ (ดังภาพที่ 2.20) เป็นเลื่อยที่ใช้ในงานตัด เจาะ ฉลุวงกลม หรือส่วนโค้งต่าง ๆ
ในการทาลวดลาย นอกจากนั้นยังใช้ในงานตัดไม้บัวเพื่อเข้ามุมต่าง ๆ
ภาพที่ 2.20 เลื่อยฉลุ
วิธีการใช้งาน
ใบเลื่อยของเลื่อยชนิดนี้มีหลายขนาด การเลือกใช้จะขึ้นอยู่กับปร ะเภทของงาน ลักษณะของ
ฟันเลื่อยจะเป็นแบบฟันโกรก เวลาติดใบเลื่อยเข้ากับ โครงจะต้องให้ปลายฟันชี้มาทางด้านมือจับเสมอ
ทั้งนี้เนื่องจากเลื่อยชนิดนี้ได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับงานละเอียดจึงต้องให้ใบเลื่อยตัดในขณะที่ดึงเลื่อย
มาทางด้านหลังหรือในขณะดึงเลื่อยลง (ดังภาพที่ 2.21) ทั้งนี้เพื่อสะดวกต่อการควบคุมการเลื่อย
ดังนั้นจึงต้องใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟันเลื่อยชี้มาทางด้าน มือจับเสมอ ยกเว้นกรณีที่จับงานด้วยปากกา
ตั้งโต๊ะก็สามารถใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟัน ชี้ออกไปจากมือจับได้
ภาพที่ 2.21 การใช้เลื่อยฉลุ
การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยฉลุ
1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้
2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย
ที่อาจหลุดเข้าปากได้
3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา
4. จับเลื่อยให้แน่นและมั่นคง ค่อยๆ เลื่อยไม่ต้องรีบร้อน (ป้ องกันใบเลื่อยหัก)
5. ปรับตั้งใบเลื่อยที่ยึดกับโครงเลื่อยให้มีความตึงไม่อ่อนตัวขณะทาการเลื่อยฉลุชิ้นงาน
6. ขณะทาการเลื่อยฉลุชิ้นงาน ไม่ควรบิดหรือกดให้ใบเลื่อยกินเนื้อไม้ต ามแนวเส้น ถ้าจาเป็น
ให้เลื่อยขยายออกจากแนวเส้นไป ให้เลื่อยสามารบิดตัวกินเนื้อไม้ตามแนวเส้นได้
7. หลีกเลี่ยงการวางของหนักทับเลื่อยฉลุเพื่อป้ องกันการชารุดเสียหาย
5. เลื่อยไฟฟ้ า (เลื่อยวงเดือน)
ภาพที่ 2.22 เลื่อยไฟฟ้ า
ส่วนประกอบของเลื่อยไฟฟ้า (ดังภาพที่ 22)
1. สวิตซ์ปิด – เปิด
2. ตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มเข้าไปสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ)
3. ตัวจับประคองหน้า
4. ใบเลื่อย
5. ที่ครอบใบเลื่อย
6. ตัวปรับระดับความสูง – ต่า ของใบเลื่อย
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของเลื่อยไฟฟ้าก่อนใช้งาน
2. เตรียมสถานที่วางจับชิ้นงาน
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก
4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของเลื่อยไฟฟ้าให้เรียบร้อย
5. ปรับระดับสูง – ต่า ของใบเลื่อยตามความหนาของไม้
6. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้เลื่อยทางาน
7. ทาการตัดไม้ (ดังภาพที่ 2.23)
8. เมื่อใช้งานเลื่อยไฟฟ้าเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ทาความสะอาดเป่าฝุ่นออกจาก
ตัวเลื่อยไฟฟ้า
9. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ภาพที่ 2.23 การใช้เลื่อยไฟฟ้ าตัดไม้
การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยไฟฟ้ า
1. ตรวจสภาพทั่วไปของเลื่อยไฟฟ้าก่อนใช้งาน
2. ตรวจน็อตยึดล๊อคใบมีดให้แน่นสนิททุกครั้ง
3. ตรวจสอบสายไฟของเลื่อยไฟฟ้า ว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาดรั่ว
4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก
5. ไม่เล่นกันขณะปฏิบัติงาน เพราะเลื่อยเป็นของมีคมอาจเกิดอันตรายได้
กิจกรรมที่ 2
เรื่อง เครื่องมือตัด
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
คาชี้แจง : ให้นักเรียนนาข้อความที่กาหนดให้ไปเติมในช่องว่างให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน )
เลื่อยลันดาชนิดฟันตัด เลื่อยลันดาชนิดฟันโกรก เลื่อยรอ เลื่อยหางหนู
เลื่อยฉลุ เลื่อยไฟฟ้า การใช้เลื่อย
1. ………………………. ใช้ตัดไม้ตาม ขวางเสี้ยนไม้
2. ………………………. ตัดไม้หรือใช้ตัดส่วนอื่นๆ ที่
ต้องการความละเอียด ประณีต
3. ………………………. เป็นการชักเลื่อยยาวๆ ช้าๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอ
โดยออกแรงกดเล็กน้อยในขณะที่ดัน
4. ………………………. เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เลื่อยวงเดือน
5. ………………………. ใช้ในงานตัด เจาะ ฉลุวงกลม หรือส่วนโค้งต่าง ๆ
ในการทาลวดลาย ตัดไม้บัวเพื่อเข้ามุมต่าง ๆ
6. ………………………. ใช้ในการตัด เจาะรูหรือใช้เลื่อยส่วนโค้ง
ซึ่งเลื่อยชนิดอื่นไม่สามารถจะเลื่อยได้
7. ………………………. ใช้ผ่าหรือตัดไม้ตามความยาวของเสี้ยนไม้
8. ………………………. ใช้ในการรอปากไม้ เพื่อเข้าปากไม้มุมตู้ เข้ากรอบรูป
9. ………………………. เวลาติดใบเลื่อยเข้ากับโครง จะต้องให้ปลายฟัน
ชี้มาทางด้านมือจับเสมอ
10 . ……………..………. มีตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ)
เรื่องที่ 3
เครื่องมือไสและตกแต่งไม้
เครื่องมือไสและตกแต่งไม้
เครื่องมือไสเป็นเครื่องมือที่ใช้ทาผิวไม้ให้ เรียบ ส่วน เครื่องมือตกแต่งไม้ เป็นเครื่องมือที่ใช้
ขูดไม้หรือแต่งผิวไม้ให้มีขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ เครื่องมือเหล่านี้จาเป็นมากกับงานช่างไม้
1. กบไม้
เครื่องมือที่ใช้ในการไสไม้ได้แก่ กบ ช่างไม้จะใช้กบไสไม้ให้เรียบ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย
และสวยงามก่อนที่จะนาไปใช้งาน เนื่องจากไม้ที่นามาจากโรงงานแปรรูป ยังหยาบและมีผิวขรุขระ
ไม่เรียบร้อยจึงต้องนามาไสเสียก่ อน กบมีหลายชนิดแต่ละชนิด มีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์
ในการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท
กบไม้ เป็นกบราง ส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่
- ตัวกบ ทาจากไม้เนื้อแข็งที่ไม่ยืดหรือหดตัวเร็ว ไม้ที่นิยมใช้กันคือ ไม้ชิงชัน หรือไม้ประดู่
ไม้แดง หรือไม้พยุง
- ใบกบ ทาจากเหล็ก มีคมที่ส่วนล่างเพื่อใช้ขูดไม่ให้เรียบ เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของกบ
- เหล็กประกับใบ หรือเหล็กประกับกบ อยู่ระหว่างใบกบและลิ้นติดกับใบกบ โดยมีน็อตสกรู
ยึดติดเหล็กประกับใบนี้ มีหน้าที่เสริมกาลังตอนปลายของใบกบไม่ให้อ่อนหรือบิดในเวลาที่ทาการไส
และควบคุมการกินของไม้เพื่อไม่ให้ไม้ย้อน
- ลิ่ม เป็นแผ่นไม้ชนิดเดียวกับไม้ที่ทาตัวกบคล้ายหัวขวานแต่บางกว่า ใช้อัดใบกบให้ติดกับใบ
กบเพื่อให้ใบกบแน่น
- ก้านหรือมือจับช่วยให้จับกบได้เหมาะมือ
- ขื่อกบ อาจเป็นไม้เจาะที่ติดกับตัวกบโดยตรง หรือจะใช้เหล็กขวางระหว่างช่องใส่ขื่อกบก็ได้
กบไม้ของไทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
กบล้าง (ดังภาพที่ 2.24) และกบผิว (ดังภาพที่ 2.25)
ภาพที่ 2.24 กบล้าง
กบล้าง เป็นกบที่ใช้สาหรับไสล้างหรือเกลาไม้ครั้งแรก เพื่อปรับให้ได้ระดับตาม
ต้องการ ใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ 45 – 50 องศา รางกบจะยาวส่วนมากจะใช้กับงานหยาบ ๆ
ภาพที่ 2.25 กบผิว
กบผิว เป็นกบที่ใช้ไสหลังจากที่ผ่านการเกลาหรือล้างด้วยกบล้างมาแล้ว เพื่อแต่ง
ผิวไม้ให้เรียบจริงๆ พร้อมที่จะทาการขัดด้วยกระดาษทราย กบชนิดนี้จะกินผิวไม้บางกว่ากบล้าง
เหมาะสาหรับใช้ในการทาเครื่องเรือน ปรับแต่งบานประตู – หน้าต่าง ให้เข้ากันสนิท
วิธีการใช้งาน
สิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ลักษณะของเสี้ยนไม้ของไม้ที่นามาไสและตรวจสภาพของไม้
ให้เรียบร้อย จากนั้นวางไม้ที่ไสลงบนโต๊ะ ตีไม้กันที่หัวไม้ เพื่อบังคับไม่ให้ไม้ที่ไสเลื่อน
(ดังภาพที่ 2.26) จากนั้นวางหัวกบลงบนหัวไม้ ให้คมกบห่างจากไม้เล็กน้อย ออกแรงกดที่ด้านหัวกบ
ออกแรงไสไปข้างหน้า เมื่อด้านท้ายของกบเลยหัวไม้ขึ้นไปอยู่บนแผ่นไม้แล้วให้ออกแรงกดทั้งด้านหัว
และท้ายกบ เมื่อไสไปจนเกือบจะถึงหัวไม้อีกด้านหนึ่งก็ให้ผ่อนแรงที่กดด้านหัวกบ แต่ทางท้าย
ยังคงอยู่ ไสไปไสมา
ในการไสตกแต่งไม้ด้านขอบไม้ ช่วงของการไสควรจะอยู่ประมาณช่วงแขน ให้ไสตกแต่ง
โดยตลอดหน้ากว้างของไม้ ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิวไม้ที่จุดต่างๆ ตามความยาวของไม้
ด้วย บรรทัดเหล็กหรือฉาก
เมื่อจะไสขอบไม้ให้เรียบตรง ก่อนอื่นให้เล็งไปตามขอบไม้ เพื่อกาหนดจุดที่สูง จากนั้นให้ไส
ส่วนที่สูงออกเสียก่อนที่จะทาการไสให้เรียบทั้งหมด การไสครั้งสุดท้ายให้ไสไปโดยตลอดความยาว
ของไม้
ภาพที่ 2.26 ตีไม้กันไว้ที่หัวไม้เพื่อบังคับไม่ให้ไม้ ที่ไสเลื่อน
การป้ องกันอันตรายจากการใช้กบ
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของกบก่อนใช้งาน
2. เตรียมสถานที่วางจับชิ้นงาน
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ
4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางไม้กั้นชิ้นงานเคลื่อน
5. ทาการไสไม้ โดยปรับระดับสูงต่าของกบตามต้องการ
6. เมื่อใช้งานกบไม้แล้ว ใช้แปรงทาความสะอาดให้เรียบร้อย
7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
2. กบไฟฟ้ า
ภาพที่ 2.27 ส่วนประกอบของกบไฟฟ้ า
ส่วนประกอบของกบไฟฟ้ า (ดังภาพที่ 2.27)
1. สวิตซ์ปิด – เปิด
2. ตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มเข้าไปสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ)
3. ตัวปรับระดับสูง – ต่าของกบไฟฟ้า
4. ใบมีด (แต่ละใบมีดจะยึดด้วยน็อต) ก่อนใช้งานทุกครั้งต้องตรวจสอบดูว่าน็อต
แต่ละตัวหลวมหรือไม่
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของกบก่อนใช้งาน
2. เตรียมสถานที่วางจับชิ้นงาน
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก
4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของกบไฟฟ้าให้เรียบร้อย
5. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้กบทางาน
6. ทาการไสไม้ โดยปรับระดับสูงต่าของกบตามต้องการ (ดังภาพที่ 2.28)
7. เมื่อใช้งานกบไฟฟ้าเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ทาความสะอาดเป่าฝุ่น
ออกจากตัวกบไฟฟ้า
8. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ภาพที่ 2.28 การใช้กบไฟฟ้ าไสไม้
การป้ องกันอันตรายจากการใช้กบไฟฟ้ า
1. ตรวจสภาพทั่วไปของกบไฟฟ้าก่อนใช้งาน
2. ตรวจน็อตยึดล๊อคใบมีดให้แน่นสนิททุกครั้ง
3. ตรวจสอบสายไฟของกบไฟฟ้า ว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาดรั่ว
4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก
5. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
3. บุ้งถูไม้ (Wood Rasp)
บุ้งถูไม้ (Wood Rasp) (ดังภาพที่ 2.29) ใช้ทาหน้าที่ถูหรือปรับไม้ทั้งที่เป็นแนวตรงหรือแนว
ที่เป็นส่วนโค้ง ให้ได้ขนาดใกล้เคียงกับของจริง โดยใช้ด้านที่ขรุขระออกด้านนอกเพื่อใช้กัดไม้
ด้ามจับทาด้วยไม้
ภาพที่ 2.29 บุ้งถูไม้
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของบุ้งถูไม้ก่อนใช้งาน
2. เตรียมสถานที่วางยึดจับชิ้นงาน
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ
4. ใช้มือขวาจับที่ด้ามของบุ้งถูไม้ มือซ้ายจับที่ปลายบุ้งถูไม้
5. วางบุ้งถูไม้บนชิ้นไม้ที่ต้องการปรับระดับ ถูไปข้างหน้าเพื่อปรับผิวไม้ตามต้องการ
(ดังภาพที่ 2.30)
6. เมื่อใช้งานบุ้งถูไม้แล้ว ใช้แปรงปัดทาความสะอาดทุกครั้ง
7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ภาพที่ 2.30 การใช้งานบุ้งถูไม้
การป้ องกันอันตรายจากการใช้บุ้งถูไม้
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของบุ้งก่อนใช้งาน
2. ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับบุ้งถูไม้ให้แน่นสนิทกับตัวบุ้งถูไม้
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ
4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
4. ตะไบ
ตะไบ (Files) (ดังภาพที่ 2.31) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับตกแต่งผิวไม้ ตัวตะไบทาด้วยโลหะ
มีร่องเล็ก ๆ เรียงชิดติดกันจานวนมาก ด้ามจับทาด้วยไม้
ภาพที่ 2.31 ตะไบ
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของตะไบก่อนใช้งาน
2. เตรียมสถานที่วางยึดจับชิ้นงาน
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ
4. ใช้มือขวาจับที่ด้ามของตะไบ มือซ้ายจับที่ตะไบ (ดังภาพที่ 2.32)
5. วางตะไบบนชิ้นไม้ที่ต้องการปรับระดับ ถูไปข้างหน้าเพื่อปรับผิวไม้ตามต้องการ
6. เมื่อใช้งานตะไบแล้ว ใช้แปรงปัดทาความสะอาดทุกครั้ง
7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ภาพที่ 2.32 การใช้ตะไบ
การป้ องกันอันตรายจากการใช้ตะไบ
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของตะไบก่อนใช้งาน
2. ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบ
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ
4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
5. สิ่ว (Chisels)
สิ่ว (Chisels) (ดังภาพที่ 2.33) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับเจาะไม้ บากไม้ เซาะไม้ ตกแต่งไม้
แกะสลักและอื่น ๆ ตัวสิ่วทาด้วยโลหะ ที่ปลายมีลักษณะปลายตัดเอียงมี ความคม ด้ามจับทาด้วยไม้
มีข้อกลมโลหะสวมไว้เพื่อป้ องกันไม้แตกเวลาใช้ค้อนตอก
ภาพที่ 2.33 สิ่ว
วิธีการใช้งานสิ่ว
1. เลือกไม้ขนาดที่ต้องการ ร่างแบบลงบนเนื้อไม้
2. ใช้เลื่อยตัดไปตามเส้นทางด้านกว้างของหน้าไม้จนถึงระดับความลึกที่จะบาก จากนั้นเลื่อย
หลายๆรอย เพื่อสะดวกต่อการใช้สิ่วในภายหลัง
3. ใช้สิ่วบากไม้ไปตามแบบที่ร่างไว้ด้วยการจรดคมสิ่วลงที่เส้นแสดงระดับความลึก
ให้ด้านราบของคมสิ่วอยู่ด้านล่าง แล้วตอกสิ่วเบาๆ เอาเนื้อไม้ออก (ดังภาพที่ 2.34)
4. ใช้สิ่วบากส่วนที่เหลือออก โดยการใช้สิ่วด้วยมือด้วยการออกแรงกดเพีย งเล็กน้อย
เพื่อบากไม้ได้ดี ใกล้กับศูนย์กลางไม้
ภาพที่ 2.34 การใช้สิ่ว
การป้ องกันอันตรายจากการใช้สิ่ว
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของสิ่วก่อนใช้งาน
2. ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ
4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
5. เวลาใช้ค้อนไม้ตอกสิ่ว ควรตรวจสอบค้อนไม้ให้ดีก่อนปฏิบัติงาน
6. กระดาษทราย
กระดาษทรายกับงานไม้ (ดังภาพที่ 2.35) ใช้สาหรับขัดไม้ ทาเป็นแผ่นสาเร็จมาขนาดประมาณ
A4 มีเบอร์ที่นิยมอยู่ระหว่าง 0 - 5 เบอร์ยิ่งมากก็ยิ่งหยาบ
ภาพที่ 2.35 กระดาษทราย
วิธีการใช้งาน
การขัดด้วยกระดาษทราย เวลาขัดนิยมตัดหรือพับให้เป็นรูปสี่เหลี่ยม ใช้ไม้เป็นตัวรอง
(ดังภาพที่ 2.36) หรือใช้พับทบไปมาแล้วลูบด้วยมือก็ได้
ภาพที่ 2.36 การใช้กระดาษทรายขัดไม้โดยใช้ไม้เป็นตัวรอง
การขัดไม้จะมีลาดับการทางานคือ การขัดหยาบ ขัดเรียบ ขัดละเอียด
ขัดหยาบ (Leveling) เป็นการขจัดจุดบกพร่องบนพื้นผิว ลบรอยจากเครื่องจักร/
เครื่องมือ ให้ใช้เบอร์ 5 หรือ เบอร์ 4 แต่หากผิวหยาบมาก ก็ให้ใช้ เบอร์ 5 ก่อน จึงตามด้วยเบอร์ 4
ขัดเรียบ (Uniforming) เป็นการลดรอยกระดาษทรายจากขั้นตอนแรก ให้ใช้เบอร์ 2
หรือเบอร์ 3 สาหรับงานที่ไม่ต้องการความละเอียดมาก ก็สามารถขัดถึงขั้นนี้ แต่หากเป็นงานเฟอร์นิเจอร์
ควรขัดละเอียดต่อไปอีก
ขัดละเอียด (Polishing) - เป็นการขัดที่ทาให้พื้นผิวราบเรียบ จนมองไม่เห็นรอย
กระดาษทราย (ด้วยตาเปล่า) ให้ใช้เบอร์ 0 หรือ เบอร์ 1
การขัดให้ขัดตามลาดับ อย่าขัดข้ามเบอร์ จะทาให้เสียเวลา และเปลืองกระดาษทราย
การป้ องกันอันตรายจากการใช้กระดาษทราย
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของชิ้นงานที่ต้องการขัดด้วยกระดาษทราย เช่นตะปู ลวด หรือ
เสี้ยนไม้ หากพบเจอให้ถอนออก
2. เวลาขัดกระดาษทรายใช้มือยึดจับกระดาษให้แน่น
3. สวมแว่นตา และถุงมือเพื่อป้ องกันอันตรายจากฝุ่นละอองและของมีคม
4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
7. เครื่องขัดกระดาษทราย
ภาพที่ 2.37 เครื่องขัดกระดาษทราย
ส่วนประกอบของเครื่องขัดกระดาษทราย (ดังภาพที่ 2.37)
1. สวิตซ์ปิด – เปิด
2. ตัวคลิปหนีบจับกระดาษทราย มี 2 ด้าน หัวกับท้าย
3. กระดาษทราย
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของเครื่องขัดกระดาษทรายก่อนใช้งาน
2. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ
3. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของเครื่องขัดกระดาษทรายให้เรียบร้อย
4. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้เครื่องขัดกระดาษทรายทางาน
5. ทาการขัดไม้ (ดังภาพที่ 2.38)
6. เมื่อใช้งานเครื่องขัดกระดาษทรายเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ทาความสะอาดเป่าฝุ่น
ออกจากตัวเครื่องขัดกระดาษทราย
7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ภาพที่ 2.38 การขัดไม้ด้วยเครื่องขัดกระดาษทราย
การป้ องกันอันตรายจากการใช้เครื่องขัดกระดาษทราย
1. ตรวจสภาพทั่วไปของเครื่องขัดกระดาษทรายก่อนใช้งาน
2. ตรวจคลิปหนีบยึดล๊อคกระดาษทรายให้แน่นสนิททุกครั้ง
3. ตรวจสอบสายไฟของเครื่องขัดกระดาษทรายว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาด
4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ
5. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
กิจกรรมที่ 3
เรื่อง เครื่องมือไสและตกแต่งไม้
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ( 10 คะแนน )
1. เครื่องมือไสเป็นเครื่องมือที่ใช้ .........................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. กบที่นิยมใช้กับงานช่างไม้ในปัจจุบันได้แก่ ...................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. กบผิว เป็นกบที่ใช้..... .....................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. กบล้าง เป็นกบที่ใช้ ....................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
5. เครื่องมือตกแต่งไม้เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับ ...............................................................................
.............................................................................................................................................................
6. บุ้งถูไม้ (Wood Rasp) ใช้ทาหน้าที่ ..............................................................................................
.............................................................................................................................................................
7. ตะไบ (Files) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับ .......................................................................................
.............................................................................................................................................................
8. สิ่ว (Chisels) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับ ......................................................................................
.............................................................................................................................................................
9.สิ่งแรกที่ต้องทาก่อนใช้งานเครื่องขัดกระดาษทราย คือ...................................................................
.............................................................................................................................................................
10. การไสไม้ สิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ...........................................................................................
.............................................................................................................................................................
เรื่องที่ 4
เครื่องมือเจาะ
เครื่องมือเจาะ
เครื่องมือเจาะและคว้านไม้ เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับงานไม้ ใช้สาหรับเจาะหรือคว้านรู
เพื่อใส่ตะปูเกลียว สลักเกลียวหรือเดือย ในการประกอบเครื่องเรือนต่าง ๆ
1. สว่านไฟฟ้ า
เจาะได้ทั้งโลหะแผ่นและไม้ สถานที่ใช้ต้องมีไฟฟ้า เพื่อสะดวกต่อการใช้สว่านไฟฟ้า
โดยเลือกใช้ดอกสว่านให้เหมาะสมกับงานที่ใช้
ภาพที่ 2.39 สว่านไฟฟ้ า
ส่วนประกอบของสว่านไฟฟ้ า (ดังภาพที่ 2.39)
1. สวิตซ์ปิด – เปิด
2. ตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มเข้าไปสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ)
3. ตัวปรับรอบความเร็ว
4. คันโยกปรับหมุนตามเข็มนาฬิกา และทวนเข็มนาฬิกา
5. ตัวปรับการเจาะแบบหมุนธรรมดา กับการเจาะแบบกระแทก
6. ตัวยึดจับดอกสว่าน
7. จาปา ใช้หมุนขันยึดดอกสว่าน
8. ดอกสว่าน
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของสว่านไฟฟ้าก่อนใช้งาน
2. เตรียมสถานที่ / วางจับยึดชิ้นงาน
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ
4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของสว่านไฟฟ้าให้เรียบร้อย
5. ใส่ดอกสว่าน (ชนิดและขนาดขึ้นอยู่กับงานที่ทา) ขันยึดให้แน่น
6. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้สว่านไฟฟ้าทางาน
7. ทาการเจาะไม้โดยปรับระดับความเร็วของสว่านไฟฟ้าตามต้องการ(ดังภาพที่ 2.40)
8. เมื่อใช้งานสว่านไฟฟ้าเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ขันเอาดอกสว่านออก
ทาความสะอาดเป่าฝุ่นออกจากตัวสว่านไฟฟ้า และดอกสว่าน
9. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ภาพที่ 2.40 การใช้สว่านไฟฟ้ าเจาะไม้
การป้ องกันอันตรายจากการใช้กบไฟฟ้ า
1. ตรวจสภาพทั่วไปของสว่านไฟฟ้าก่อนใช้งาน
2. ใช้จาปาขันยึดล๊อคดอกสว่านให้แน่นสนิททุกครั้ง
3. ตรวจสอบสายไฟของสว่านไฟฟ้า ว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาดรั่ว ถ้าพบให้แก้ไข
ปรับปรุงให้เรียบร้อย
4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ
5. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
2. สว่านแท่นเจาะ
ภาพที่ 2.41 สว่านแท่น
ส่วนประกอบของสว่านแท่นเจาะ (ดังภาพที่ 2.41)
1. สวิตซ์ปิด – เปิด
2. ตัวยึดจับดอกสว่าน
3. ตัวหมุนปรับสว่านขึ้น – ลง
4. มอเตอร์ไฟฟ้า
5. สายพาน
6. ฐานเลื่อนระดับใช้วางชิ้นงาน
7. จาปา ใช้หมุนขันยึดดอกสว่าน
8. ดอกสว่าน
วิธีการใช้งาน
1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของสว่านแท่นเจาะก่อนใช้งาน
2. เตรียมสถานที่ / วางจับยึดชิ้นงาน
3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%Tipthida Piakard
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...Prachoom Rangkasikorn
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้ขนิษฐา ทวีศรี
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559เทวัญ ภูพานทอง
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะPiyarerk Bunkoson
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.comแบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.competer dontoom
 
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกpanida428
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มเอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มWoraphon Tungsiri
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีNaracha Nong
 

Mais procurados (20)

การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.comแบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
 
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มเอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
 
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดี
 

Destaque

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 
Ubooly Presentation
Ubooly PresentationUbooly Presentation
Ubooly Presentationisquires
 
чебурашка
чебурашкачебурашка
чебурашкаmsikanov
 
703 новый год
703 новый год703 новый год
703 новый годmsikanov
 
управление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстининуправление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстининholstinin.com Business Engineering Services
 
Www.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_beneke
Www.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_benekeWww.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_beneke
Www.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_benekeShah Nawaz Ansari
 
креативное решение бизнес задач константин холстинин
креативное решение бизнес задач константин холстининкреативное решение бизнес задач константин холстинин
креативное решение бизнес задач константин холстининholstinin.com Business Engineering Services
 
Sanjay sony(iimp updated )
Sanjay sony(iimp updated )Sanjay sony(iimp updated )
Sanjay sony(iimp updated )Sanjay Sony
 
что где когда
что где когдачто где когда
что где когдаmsikanov
 
Dr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesDr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesSoroya Bacchus
 

Destaque (20)

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
Ubooly Presentation
Ubooly PresentationUbooly Presentation
Ubooly Presentation
 
010.safetymanagement v3
010.safetymanagement v3010.safetymanagement v3
010.safetymanagement v3
 
чебурашка
чебурашкачебурашка
чебурашка
 
Disrupción digital en la industria de seguros: impacto en el negocio y ti
Disrupción digital en la industria de seguros: impacto en el negocio y tiDisrupción digital en la industria de seguros: impacto en el negocio y ti
Disrupción digital en la industria de seguros: impacto en el negocio y ti
 
703 новый год
703 новый год703 новый год
703 новый год
 
Sponsors del Congreso de Tecnología AMBA 2016
Sponsors del Congreso de Tecnología AMBA 2016Sponsors del Congreso de Tecnología AMBA 2016
Sponsors del Congreso de Tecnología AMBA 2016
 
Apr.bahia
Apr.bahiaApr.bahia
Apr.bahia
 
управление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстининуправление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстинин
 
Las tic sarayb
Las tic saraybLas tic sarayb
Las tic sarayb
 
Www.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_beneke
Www.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_benekeWww.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_beneke
Www.academicjournals.org ajbm pdf_pdf2010_feb_beneke
 
креативное решение бизнес задач константин холстинин
креативное решение бизнес задач константин холстининкреативное решение бизнес задач константин холстинин
креативное решение бизнес задач константин холстинин
 
Final froup presentation
Final froup presentationFinal froup presentation
Final froup presentation
 
Sanjay sony(iimp updated )
Sanjay sony(iimp updated )Sanjay sony(iimp updated )
Sanjay sony(iimp updated )
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
что где когда
что где когдачто где когда
что где когда
 
DYH DÍA Y HORA
DYH DÍA Y HORADYH DÍA Y HORA
DYH DÍA Y HORA
 
Dr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesDr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured Magazines
 
Week 11 (2014) Composites
Week 11 (2014) CompositesWeek 11 (2014) Composites
Week 11 (2014) Composites
 
집단
집단집단
집단
 

Semelhante a ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1

แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่พัน พัน
 
เอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟเอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟkkrunuch
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8kruchaily
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Lift Ohm'
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2Pak Ubss
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 

Semelhante a ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1 (20)

บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
 
เอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟเอกสารโคมไฟ
เอกสารโคมไฟ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
11
1111
11
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
Thai Research
Thai ResearchThai Research
Thai Research
 
Chulalongkorn
ChulalongkornChulalongkorn
Chulalongkorn
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์
 
ใบงาน ม.3
ใบงาน ม.3ใบงาน ม.3
ใบงาน ม.3
 

ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน เล่มที่ 2 เรื่อง เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์ อานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 2. 11 คานา ในปัจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ให้มากที่สุด เพื่อให้นักเรียนมีนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ อยู่เสมอ ดังนั้นการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน เป็นแนวทางหนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าและสามารถเรียนรู้หาคาตอบได้ด้วยตนเอง ผู้เขียนจึงได้ดาเนินการสร้างเอกสารประกอบการเรียน ราย วิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 6 เล่ม เป็นเอกสารที่ผู้เขียนดาเนินการสร้างตรงตาม หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เขียนได้ค้นคว้า รวบรวม เนื้อหา ความรู้จากตาราและ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการปฏิบัติจริง ที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน สาหรับเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ประกอบด้วย เนื้อหาเกี่ยวกับเครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์ ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนที่จัดทาเล่มนี้ สามารถแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพต่อไป นอกจากนั้นครูอาจารย์ที่สนใจสามารถ ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตร อย่างมีประสิทธิภาพ ขอขอบคุณ นายธวัชชัย เทศขา ผู้อานวยการโรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ นายอาวุธ เพ็งแตง ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม นายอภิรัฐ จันดาหาญ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนตะพานหิน นางกมลรัตน์ มีไชโย ค รูชานาญการพิเศษ นางธันยพร เขียวเขิน ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ และนางศิริพร ภู่ดี ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านหนองหูช้าง ที่ได้กรุณาตรวจสอบเอกสารประกอบการเรียน และให้ข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ อานาจ ศรีทิม
  • 3. 11 สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข จุดประสงค์การเรียนรู้ ง คาชี้แจง จ กระดาษคาตอบ ฉ แบบทดสอบก่อนเรียน ช เรื่องที่ 1 เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ 1 - กิจกรรมที่ 1 8 เรื่องที่ 2 เครื่องมือตัด 9 - กิจกรรมที่ 2 18 เรื่องที่ 3 เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ 19 - กิจกรรมที่ 3 31 เรื่องที่ 4 เครื่องมือเจาะ 32 - กิจกรรมที่ 4 38 เรื่องที่ 5 เครื่องมือยึดตรึงและวัสดุยึดตรึงไม้ 39 - กิจกรรมที่ 5 52 แบบทดสอบหลังเรียน 53
  • 4. 11 สารบัญ (ต่อ) หน้า ภาคผนวก 55 - เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 56 - เฉลยกิจกรรมที่ 1 57 - เฉลยกิจกรรมที่ 2 58 - เฉลยกิจกรรมที่ 3 59 - เฉลยกิจกรรมที่ 4 60 - เฉลยกิจกรรมที่ 5 61 - เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 62 บรรณานุกรม 63
  • 5. 11 จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเครื่องมือช่างไม้ ครุภัณฑ์ แล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้ 1. สามารถบอกชื่อเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 2. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบและข้อควรระวัง ในการใช้งานได้ 3. สามารถใช้เครื่องมือวัดระยะและการร่างแบบที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 4. สามารถบอกชื่อเครื่องมือตัดที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 5. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือตัด และข้อควรระวังในการใช้งานได้ 6. สามารถใช้เครื่องมือตัดที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 7. สามารถบอกชื่อเครื่องมือไสและตกแต่งไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 8. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือไสและตกแต่งไม้และข้อควรระวัง ในการใช้งานได้ 9. สามารถใช้เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 10. สามารถบอกชื่อเครื่องมือเจาะที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 11. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือเจาะและข้อควรระวังในการใช้งานได้ 12. สามารถใช้เครื่องมือเจาะที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 13. สามารถบอกชื่อเครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้ 14. สามารถจัดอันดับขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงไม้และ ข้อควรระวังในการใช้งานได้ 15. สามารถใช้เครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงไม้ที่ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์ได้
  • 6. 11 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโน โลยี สาระการอาชีพ รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ เป็นเอกสารสาหรับนักเรียน เพื่อใช้ประกอบ การเรียนรู้ และ ฝึกทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม โดยนักเรียนสามารถใช้เอกสารประกอบการเรียน ได้ด้วยตนเองตามแนวทางตามลาดับดังนี้ 1. ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อศึกษาจบแล้ว จะได้รับความรู้ อะไรบ้าง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน 3. ให้นักเรียนศึกษาและทาความเข้าใจเนื้อหา เรื่องที่ 1 เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ เรื่องที่ 2 เครื่องมือตัด เรื่องที่ 3 เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ เรื่องที่ 4 เครื่องมือเจาะ และเรื่องที่ 5 เครื่องมือ ยึดตรึงและวัสดุยึดตรึงไม้ 4. ทากิจกรรมตามที่กาหนดให้ด้วยตนเอง ถ้าทาไม่ได้ หรือสงสัยให้อ่านทบทวนเนื้อหาใหม่ 5. ตรวจคาตอบกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 และกิจกรรมที่ 5 จากเฉลยในส่วนของภาคผนวก 6. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ 7. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลยในส่วนของ ภาคผนวก 8. สรุปคะแนนในแบบสรุปผลการเรียน
  • 7. 11 รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เล่มที่ 2 เรื่องเครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์ ชื่อ ................................................................................................................ เลขที่ ............................. แบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สรุปผลการเรียน คะแนนเต็ม คะแนน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมิน 80 - 100 % = ดีมาก 70 – 79 % = ดี 60 - 69 % = พอใช้ 0 - 59 % = ควรปรับปรุง กระดาษคาตอบ
  • 8. คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดคือเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบทั้งหมด ก. ดินสอ ไม้บรรทัด ตลับเมตร ฉากลอง ข. ไม้บรรทัด ตลับเมตร กบไม้ สว่าน ค. ดินสอ ตลับเมตร กระดาษทราย สว่าน ง. ไม้บรรทัด ตลับเมตร ฉากลอง ตะไบ 2. ข้อดีของขอเกี่ยวที่ปลายสายวัดของตลับเมตรคือข้อใด ก. ใช้ขีดไม้บอกระยะ ข. ใช้ยึดเกี่ยวกับชิ้นงาน ค. ใช้ตัดเศษไม้ ง. ใช้ขูดผิวไม้ให้เรียบ 3. เลื่อยลันดามีกี่แบบ อะไรบ้าง ก. 1 แบบ คือ แบบฟันตัด ข. 1 แบบ คือ แบบฟันหนู ค. 2 แบบ คือ แบบฟันตัด และแบบฟันหนู ง. 2 แบบ คือ แบบฟันตัด และแบบฟันโกรก 4. ก่อนใช้งานเลื่อยไฟฟ้า สิ่งแรกที่ต้องทาคือสิ่งใด ก. เสียบปลั๊ก ข. ฝนคมใบมีด ค. ตรวจสภาพทั่วไปของเลื่อยไฟฟ้า ง. เปิดสวิตซ์ แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์
  • 9. 5. กระดาษทรายเบอร์ใด มีความละเอียดมากที่สุด ก. เบอร์ 1 ข. เบอร์ 2 ค. เบอร์ 3 ง. เบอร์ 4 6. เมื่อใช้งานเครื่องมือไสไม้เสร็จแล้ว ก่อนเก็บเข้าที่จะต้องทาอย่างไร ก. ทาน้ามัน ข. เปาหรือใช้แปรงปัดฝุ่นออก ค. ตรวจสอบสายไฟ ง. ล็อคสวิตซ์เปิด – ปิดทุกครั้ง 7. เครื่องมือเจาะไม้ที่นิยมใช้งานในปัจจุบันคือ ก. สว่านเฟือง ข. สว่านข้อเสือ ค. สว่านแบบกด ง. สว่านไฟฟ้า 8. ตัวล็อคสวิตซ์ ของสว่านไฟฟ้ามีประโยชน์อย่างไร ก. ช่วยป้ องกันการทางานของสว่าน ข. ช่วยยึดจับสวิตซ์ให้ติดกับตัวสว่าน ค. ช่วยล็อคสวิตซ์ให้สว่านทางานโดยไม่ต้องกด ง. ช่วยป้ องกันไม่ให้วัตถุต่างๆ ไปโดนสวิตซ์เปิด – ปิด 9. เครื่องมือใดที่นิยมใช้ยึดจับชิ้นงานไม้ในขณะปฏิบัติงานไม้ ก. แม่แรง ข. ปากกาหัวโต๊ะ ค. สลักเกลียว ง. ตะปู 10. กาวลาเท็ก ใช้ในงานช่างไม้ครุภัณฑ์อย่างไร ก. ทายึดอุปกรณ์ช่างไม้ ข. ผสมกับขี้เลื่อยให้ยัดอุดร่องรอยต่าง ๆ ของไม้ ค. ใช้ผสมน้ามันทาไม้ ง. ใช้ต่อไม้ให้ยาวขึ้น **********************
  • 10. เรื่องที่ 1 เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ เป็ นเครื่องมือที่ใช้สาหรับการกาหนดหรือร่างแบบ ลงบนชิ้นงาน เครื่องมือชนิดนี้จัดเป็นเครื่องมือประเภทแรกที่สาคัญที่สุดกับการทางานเนื่องจาก ขนาดหรือรูปแบบของชิ้นงานจะถูกต้องหรือเที่ยงตรงได้ ส่วนหนึ่งจะเป็นผลมาจากเครื่องมือเหล่านี้ ดังนั้นเพื่อจะได้ผลงานที่ดีและมีคุณภาพจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ใช้ จะต้องมีความรู้เรื่องเครื่องมือ และ มีประสบการณ์ที่ถูกต้องในการใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็นอย่างดี 1. บรรทัดเหล็ก นิยมใช้กับงานช่างไม้ทั่วไป มีหลายขนาด มาตราวัดระยะที่อยู่บนไม้บรรทัดจะเป็นระบบ อังกฤษ (นิ้ว) ระบบเมตริก (เซนติเมตร) หรือทั้งสองระบบรวมกันก็ได้(ดังภาพที่ 2.1) ภาพที่ 2.1 บรรทัดเหล็ก วิธีการใช้งาน 1. ตรวจดูสภาพทั่วไปของบรรทัดเหล็ก 2. เวลาวัดให้ปลายบรรทัดเหล็กที่มีหน่วยวัดเป็นศูนย์อยู่ชิดติดกับขอบไม้ที่วัด 3. อ่านตัวเลขที่ต้องการวัดความยาว หรือกาหนดจุดสัญลักษณ์ตามความยาวที่ต้องการ 4. ใช้วัดได้ทั้งหน่วยที่เป็นเซนติเมตรและหน่วยนิ้ว (ดังภาพที่ 2.2)
  • 11. ภาพที่ 2.2 การใช้งานบรรทัดเหล็ก การป้ องกันอันตรายจากการใช้งาน 1. ใช้งานด้วยความระมัดระวัง 2. ไม่นาบรรทัดเหล็กมาเล่นกัน เพราะบรรทัดเหล็กทาด้วยเหล็กมีความคม อาจทาให้เกิด อันตรายได้ 3. เหมาะสาหรับงานวัดระยะเท่านั้น ไม่ควรนาไปใช้ตัด 2. ตลับเมตร ตลับเมตร (ดังภาพที่2.3) เป็นเครื่องมือวัดระยะที่นิยมใช้กันมากที่สุดกับงานช่างไม้ ตัวตลับ ทาด้วยพลาสติก ส่วนสายวัดจะทาด้วยโลหะแผ่น บางชนิดบิดงอได้ จึงสามารถวัดได้ทั้งส่วนที่เป็น เส้นตรงและส่วนที่เป็นเส้นโค้ง ที่ปลายสายวัดจะทาเป็นขอเกี่ยว ใช้สาหรับเกี่ยวเข้ากับขอบชิ้นงาน มีตัวล็อคสายวัด เพื่อให้สะดวกต่อการวัดและสามารถป้ องกันมิให้สายวัดหลุดเข้าไปในตลับได้อีกด้วย บนสายวัดจะมีมาตราวัดระยะทั้งชนิดที่บอกเป็นเซนติเมตรและบอกเป็นนิ้ว ใช้กับงานที่ต้องการ ความละเอียดและความเที่ยงตรงสูง ภาพที่ 2.3 ตลับเมตร
  • 12. วิธีการใช้งาน 1. ดึงสายวัดออกจากตลับเมตร 2. ใช้ขอเกี่ยว เกี่ยวเข้ากับขอบชิ้นงานที่ต้องการวัด (ดังภาพที่ 2.4) 3. อ่านมาตราวัดที่บอกทั้งชนิดที่บอกเป็นเซนติเมตรและนิ้ว 4. ใช้งานได้ทั้งวัดความยาว หรือกาหนดจุดสัญลักษณ์ตามความยาวที่ต้องการ ภาพที่ 2.4 ใช้ขอเกี่ยวกับชิ้นงานที่ต้องการวัด การป้ องกันอันตรายจากการใช้ 1. เวลาดึงสายวัดออกจากตลับเมตรให้ดึงด้วยความระมัดระวัง เพราะสายวัดทาด้วยโลหะ แผ่นบาง อาจบาดอวัยวะของร่างกายได้ 2. เมื่อเกี่ยวขอวัดกับชิ้นงาน ควรกดล็อคสายวัดด้วย เพื่อป้ องกันไม่ให้สายวัดม้วนกลับเข้า ตลับเมตร หรือตวัดโดนอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย 3. ห้ามนาสายวัดมาใช้ตัดชิ้นงานใดๆ เพราะจะทาให้สายวัดเสียหาย 4. ห้ามโยนตลับเมตรให้กัน ควรส่งกันระหว่างมือกับมือ เพราะตลับเมตรทาด้วยโลหะ เมื่อโดนร่างกายอาจได้รับบาดเจ็บ หรือถ้าตกหล่นจะเสียหายได้ 3. ฉากลอง ฉากลอง (ดังภาพที่ 2.5) บางทีเรียกฉากตาย ฉากชนิดนี้ทามุมกับด้ามฉาก 90 องศา ด้ามฉาก ทาด้วยโลหะ ใบฉากทาด้วยโลหะ ด้ามฉากยังจาแนกออกตามลักษณะการสร้าง ได้ 2 แบบ คือ แบบตรงใช้วัดหรือตรวจสอบได้เฉพาะมุม 90 องศา กับปลายด้ามที่ติดกับใบฉากตัดเป็นมุม 45 องศา ซึ่งสามารถวัดหรือตรวจสอบได้ทั้งมุม 45 องศา และ 90 องศา
  • 13. ภาพที่ 2.5 ฉากลองหรือฉากตาย วิธีการใช้งาน 1. ใช้ฉากวัดมุม 90 องศา (ไม้2 ชิ้น) โดยให้ด้ามฉากวางชิดกับไม้ชิ้นล่าง ส่วนไม้ที่ตั้งขึ้น ให้ชิดกับใบฉาก เพื่อประกอบชิ้นงานไม้ให้ได้ฉาก 2. ใช้ฉากวัดมุม 90 องศา (ไม้1 ชิ้น) โดยให้ด้ามฉากวางชิดกับไม้ด้านล่างในส่วนที่ตัด ส่วนขอบไม้ให้ชิดกับใบฉาก (ดังภาพที่ 2.6) เพื่อตรวจสอบการตัดไม้ให้ได้ฉาก 3. ใช้ปลายด้ามฉากวัดมุม 45 องศา โดยให้ด้ามฉากวางชิดกับไม้ด้านล่าง และขีดเส้น ไปตามใบฉาก (ใช้ได้ทั้งการวัดมุม 45 องศา และเพื่อทาสัญลักษณ์ก่อนการตัดไม้) ภาพที่ 2.6 ใช้ฉากวัดมุม 90 องศา (ไม้ชิ้นเดียว)
  • 14. การป้ องกันอันตรายจากการใช้ 1. ฉากลองทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง 2. ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ 3. เวลาใช้งานห้ามหยอกล้อหรือเล่นกัน เพราะงานที่ทาจะเสียหายไม่ได้มาตรฐาน 4. ดินสอ ดินสอ (ดังภาพที่ 2.7) จัดเป็นเครื่องมือขีดไม้ที่นิยมใช้กันมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กับงานช่างไม้ ทั้งนี้เนื่องจากรอยขีดจากดินสอสามารถมองเห็นง่าย และสามารถลบออกได้ง่าย เมื่อไม่ต้องการ ภาพที่ 2.7 ดินสอ วิธีการใช้งาน ใช้ขีดทาสัญลักษณ์ทั่วไป หรือใช้ลากเส้นทาสัญลักษณ์ก่อนตัดไม้(ดังภาพที่ 2.8) ภาพที่ 2.8 ใช้ดินสอลากเส้นทาสัญลักษณ์ก่อนตัดไม้
  • 15. การป้ องกันอันตรายจากการใช้ 1. เนื่องจากดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่มแทง ร่างกายได้ 2. ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืม พลาดหกล้ม หรือนั่ง อาจทิ่มแทงโดนร่างกายได้ 5. ขอขีดไม้ ขอขีดไม้ (ดังภาพที่ 2.9) เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดลงบนเนื้อไม้ขนานไปตามแนวของขอบไม้ เพื่อใช้ในการแบ่งไม้สาหรับเลื่อยโกรกและตัด เพื่อให้ได้ไม้ที่มีขนาดถูกต้องตามความต้องการ ขอขีดไม้ประกอบไปด้วยหมุด คาน ลิ่ม และหัวของหัวขีด ส่วนประกอบทั้งหมดทาด้วยไม้ ยกเว้น หมุดที่ทาด้วยเหล็ก หัวของหัวขีดสามารถเลื่อนไปมาบนคานได้ โดยมีลิ่มสาหรับล็อคคานให้ติดกับ หัวขอขีดที่ปลายคานจะมีหมุด ซึ่งใช้เป็นตัวขีดลงไปบนเนื้อไม้ประกอบติดอยู่ ภาพที่ 2.9 ขอขีดไม้
  • 16. วิธีการใช้งาน 1. เลื่อนปรับระดับความยาวของขอขีดไม้ตามที่ต้องการ แล้วยึดล็อคลิ่มไว้ 2. ให้ตัวคานของขีดไม้ชิดแนบสนิทกับไม้ ทาการขีดเพื่อทาสัญลักษณ์ (ดังภาพที่ 2.10) ภาพที่ 2.10 การใช้งานขอขีดไม้ การป้ องกันอันตรายจากการใช้ 1. ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้ 2. ตัวขอขีดไม้เป็นไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บได้ หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้
  • 17. กิจกรรมที่ 1 เรื่อง เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. คาสั่ง : ให้นักเรียนอ่านชื่อเครื่องมือในแต่ละข้อแล้วพิจารณาว่าข้อใดเป็นเครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ และทาเครื่องหมาย  ถ้าไม่ใช่ให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อนั้น ( 10 คะแนน ) .................... 1. ดินสอ .................... 6. เลื่อยลันดา .................... 2. สิ่ว .................... 7. ตลับเมตร .................... 3. ปากกาจับไม้ .................... 8. แม่แรง .................... 4. ฉากลอง .................... 9. ไม้บรรทัด .................... 5. ขอขีดไม้ .................... 10. ไขควง คาสั่ง : ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและได้ใจความ ( 10 คะแนน ) 1. ไม้บรรทัดมีหน่วยวัดความยาวเป็นนิ้วและ ........................................ 2. การใช้ไม้บรรทัดวัดความยาว ควรวางไม้บรรทัดด้านที่หน่วยวัดเป็นศูนย์ไว้ .................. ของชิ้นงาน 3. สายวัดของตลับเมตรจะมี.................................ไว้เกี่ยวกับขอบชิ้นงาน 4. ถ้าไม่ต้องการให้สายวัดของตลับม้วนกลับเข้าที่เดิม ต้อง .................... ล็อคสายวัด 5. ฉากลองหรือฉากตายใช้วัดมุม 90 องศา และ ............... องศา 6. ใช้.................................... วัดมุมการเข้าไม้ว่าได้ฉากหรือไม่ 7. รอยขีดจากดินสอสามารถมองเห็นง่าย และสามารถ....................ได้ง่ายเมื่อไม่ต้องการ 8. ............................... จัดเป็นเครื่องมือขีดไม้ที่นิยมใช้กันมากที่สุด 9. ขอขีดไม้ เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดลงบนเนื้อไม้ขนานไปตามแนว.......................... 10. ขอขีดไม้ทั้งหมดทาด้วยไม้ ยกเว้น ................ ที่ทาด้วยเหล็ก ใช้ขีดไม้
  • 18. เรื่องที่ 2 เครื่องมือตัด เครื่องมือตัด เครื่องมือตัดที่ใช้กับงานช่างไม้ ได้แก่ เลื่อย ช่างไม้จะใช้เลื่อยเพื่อตัดไม้ ให้ได้ขนาดและ รูปร่างตามที่ต้องการ เลื่อยมีหลายชนิดแต่ละชนิดจะมีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์ในการใช้งาน แตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะกับงานแต่ละประเภท 1. เลื่อยลันดา เลื่อยลันดา แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ ได้ 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนที่เป็นมือจับซึ่งอาจจะทาด้วย ไม้หรือพลาสติก กับส่วนที่เป็นใบเลื่อย ซึ่งทาด้วยเหล็ก ที่ปลายของใบเลื่อยจะเจา ะรูไว้สาหรับแขวน ส่วนที่โคนของใบเลื่อยจะมีตัวเลขบอกขนาดความยาว และจานวนของฟันต่อนิ้วของเลื่อย เลื่อยลันดาสามารถจาแนกออกตามลักษณะของฟันเลื่อยได้เป็น 2 แบบ ด้วยกันคือเลื่อยฟันตัด (Crosscut Saw) (ดังภาพที่ 2.11) และเลื่อยฟันโกรก (Rip Saw) (ดังภาพที่ 2.12) ภาพที่ 2.11 เลื่อยลันดาชนิดฟันตัด ภาพที่ 2.12 เลื่อยลันดาชนิดฟันโกรก
  • 19. วิธีการใช้งาน เลื่อยตัดและเลื่อยโกรก (Crosscut and rip saw) 1. การเลื่อยตัด เลื่อยชนิดนี้จะใช้ตัดไม้ตาม ขวางเสี้ยนไม้ฟันของเลื่อยมีความคมสลับกัน ทั้งซ้ายและขวา สามารถตัดชิ้นไม้ที่มีความกว้างกว่าตัวเลื่อยได้ 2. การเลื่อยโกรก หมายถึง การผ่าหรือตัดไม้ตามความยาวของเสี้ยนได้ ฟันของเลื่อยจะห่าง และเอียงองศามากกว่าเลื่อยตัด การใช้เลื่อย การใช้เลื่อยได้อย่างถูกต้องกับงานที่ทา และสามารถใช้ได้อย่างถูกวิธี ถือว่าเป็นหัวใจของ การทางาน เพราะไม่เพียงแต่จะทาให้ผลงานที่ได้รับเรียบร้อยแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังจะช่วยให้ เลื่อยอยู่ในสภาพที่ดีและไม่ทื่อเร็วจนเกินไป มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้นอีกด้วย ขั้นตอนในการใช้เลื่อยที่ถูกวิธี คือ 1. การเตรียมงาน ก่อนที่จะเริ่มทาการเลื่อยไม้ ให้ดาเนินการเตรียมงาน ดังต่อไปนี้ คือ 1.1 เลือกชนิดและขนาดของเลื่อยให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่จะทา 1.2 จัดเตรียมชิ้นงานที่จะเลื่อย ได้แก่การร่างแบบหรือการขีดแนวลงบนชิ้นงานตาม ที่ต้องการ (ดังภาพที่ 2.13) 1.3 จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่างๆ อาทิเช่น ปากกาหัวโต๊ะ ปากกาไม้ เป็นต้น ภาพที่ 2.13 ขีดแนวลงบนชิ้นงานก่อนทาการเลื่อย
  • 20. 2. การเลื่อย ลาดับขั้นในการเลื่อยไม้ที่ถูกวิธี มีดังต่อไปนี้ 2.1 วางไม้ลงบนม้ารองเลื่อย ให้ปลายไม้ด้านที่ต้องการเลื่อยอยู่ทางด้านขวามือ (สาหรับผู้ถนัดขวา) แล้วใช้เข่าซ้ายกดไม้เข้ากับม้ารองเลื่อย 2.2 จับเลื่อยด้วยมือขวา โดยให้นิ้วชี้วางทาบไปบนใบเลื่อย การจับดังกล่าวจะทาให้ สะดวกต่อการควบคุมเลื่อยในขณะทาการเลื่อย 2.3 ใช้มือซ้ายจับที่ขอบไม้ด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือเป็นตัวควบคุม (ดังภาพที่ 2.14) 2.4 จรดฟันเลื่อยด้านโคนชิดเส้นด้านนอกที่ขอบไม้ และประมาณ 60 องศา สาหรับ การโกรกไม้หรือซอยไม้ ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาช่วยควบคุมใบเลื่อยแล้วค่อย ๆ ดึงเลื่อยเข้าหาตัวเป็น การเริ่มเลื่อย 2.5 ชักเลื่อยยาวๆ ช้าๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอ โดยออกแรงกดเล็กน้อย ในขณะที่ดัน ใบเลื่อยไปข้างหน้า ตามองที่เส้นหรือแนวที่จะตัดเพื่อให้เลื่อยตรงเส้นและ ปากไม้ที่ตัดได้ฉาก ขณะ ดึงเลื่อยกลับเข้าหาตัวให้ผ่อนแรงกด ทั้งนี้เนื่องจากฟันเลื่อยได้ถูกออกแบบให้กินเนื้อไม้ในขณะที่ ดันไปข้างหน้าเท่านั้น 2.6 เมื่อเลื่อยไม้ใกล้จะขาด ให้ใช้มือซ้ายอ้อมไปจับชิ้นงานที่กาลังจะขาด จากนั้นให้ ชักเลื่อยถี่ ๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอจนกว่าชิ้นงานจะขาดออกจากกัน จะสามารถป้ องกันมิให้ไม้ฉีกได้ (ดังภาพที่ 2.15) 2.7 ตรวจสอบการตัดไม้ด้วยฉาก ภาพที่ 2.14 ใช้มือซ้ายจับที่ขอบไม้ด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือเป็นตัวควบคุม
  • 21. ภาพที่ 2.15 เมื่อเลื่อยไม้ใกล้ขาด ให้ใช้มือซ้ายอ้อมไปจับชิ้นงานที่กาลังจะขาด การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อย 1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้ 2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย หลุดเข้าปอดได้ 3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา 2. เลื่อยรอ เลื่อยรอ (ดังภาพที่ 2.16) บางที่เรียกเลื่อยสันแข็ง ลักษณะคล้ายเลื่อยลันดา แต่ใบเลื่อยจะเป็น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสั้นและบางกว่า ดังนั้นจึงต้องมีสันเลื่อยซึ่งทาเป็นเหล็กประกบยึดแน่นเป็นเส้นตรง ตลอดสันของใบเลื่อย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงในขณะทาการเลื่อย ด้ามถือทาด้วยไม้แบบต่างๆ ลักษณะ ของฟันเลื่อยเหมือนกับเลื่อยฟันตัดมีจานวนฟันตั้งแต่ 13 ถึง 15 ฟันต่อนิ้ว ภาพที่ 2.16 เลื่อยรอ
  • 22. วิธีการใช้งาน เลื่อยชนิดนี้วัตถุประสงค์ในการสร้างก็เพื่อที่จะใช้ในการรอปากไม้ เพื่อเข้าปากไม้มุมตู้ เข้ากรอบรูป เข้ากรอบวงกบประตูหน้าต่าง นอกจากนั้นยังสามารถใช้ในการตัด ปากไม้หรือลิ่มไม้ ผ่าเดือย และตัดไม้ชิ้นเล็ก ๆ ซึ่งเลื่ อยบางชนิดไม่สามารถจะตัดไม้หรือใช้ตัดส่วนอื่นๆ ที่ต้องการ ความละเอียดเรียบร้อยและประณีต (ดังภาพที่ 2.17) ภาพที่ 2. 17 การใช้เลื่อยรอ เลื่อยรอเหมาะสาหรับใช้งานเลื่อยตกแต่งปากไม้ที่ต้องการความประณีตของการเข้าไม้ ในลักษณะของงาน ดังนี้ 1. งานเลื่อยตัดแต่งบ่าเดือย กระทาหลังจากการเลื่อยผ่านแนวเส้นของตัวเดือยที่ชิ้นงานไม้แล้ว ยังคงเหลือการทาบ่าเดือย ชิ้นงานไม้จะถูกนามาเลื่อยตัดแต่งบ่าเดือย โดยการใช้เลื่อยรอเป็นเครื่องมือ ตัดแต่งบ่าเดือย มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1.1 จับยึดไม้หรือชิ้นงานที่ต้องการเลื่อยตัดบ่าให้แน่นบนที่รองตัดไม้ 1.2 ปรับแต่งใบเลื่อยให้ฟันเลื่อยรอ วางชิดริมแนวเส้นด้านนอก ของบ่าเดือยที่ต้องการตัด 1.3 เลื่อยตัดเอียงเล็กน้อยให้ฟันเลื่อยกินไม้อยู่ในแนวเส้นและให้ไม้ขาดออกจากกัน เมื่อฟันเลื่อยกินไม้พอดีชิดริมแนวเส้นด้านในของบ่าเดือย เมื่อไม้ขาดออกจากกัน 2. งานปรับแต่งความห่างของปากไม้ การเข้าไม้ในงานประณีต จาเป็นต้องใช้เลื่อยรอ เลื่อยปรับแต่งความห่างของปากไม้ ช่วยให้การเข้าไม้มีปากไม้ที่เข้ากันได้สนิท มีวิธีปฏิบัติดังนี้ 2.1 ปรับตั้งชิ้นงานการเข้าไม้ให้มีมุมองศา และมีปากไม้ที่ประกอบเข้าด้วยกันที่ยังไม่สนิท ให้มีความห่างเท่ากับขนาดความกว้างของคลองเลื่อยรอและยึดจับชิ้นงานการเข้าไม้ให้แน่น 2.2 ปรับตั้งใบเลื่อยรอให้ฟันเลื่อยตัดกินเนื้อไม้ตลอดแนวต่อระหว่างปากไม้ที่เข้ากัน ไม่สนิทออกให้เท่ากับปากไม้ที่ห่าง เพื่อให้ปากไม้ประกอบเข้าด้วยกันได้สนิท 2.3 ถ้าปากไม้ยังไม่สนิท ให้ปรับตั้งชิ้นงานการเข้าไม้และใช้เลื่อยรอตัดปรับแต่งปากไม้ ที่สนิทออก ให้เท่ากับปากไม้ที่ห่าง เพื่อให้ปากไม้ประกอบเข้าด้วยกันได้สนิท
  • 23. การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยรอ 1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้ 2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย ที่อาจหลุดเข้าปากได้ 3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา 4. ทุกครั้งที่ใช้เลื่อยรอต้องแน่ใจว่าฟันเลื่อยรอมีความคมและมีคลองเลื่อยที่ถูกต้อง 5. หลีกเลี่ยงการเลื่อยให้ฟันเลื่อยรอถูกของแข็ง เช่น ตะปูที่ติดหรือฝังอยู่ในเนื้อไม้ 6. หลีกเลี่ยงการบิดใบเลื่อยรอ เพื่อให้ไม้ที่ถูกตัดขาดออกจากกัน 3. เลื่อยหางหนู เลื่อยหางหนู (ดังภาพที่ 2.18) เป็นเลื่อยที่มีลักษณะเล็ก แหลม มีขนาดใหญ่และฟันหยาบ มีด้ามจับทาด้วยไม้ ภาพที่ 2.18 เลื่อยหางหนู วิธีการใช้งาน เลื่อยชนิดนี้ใช้ในการตัด เจาะรูหรือใช้เลื่อยส่วนโค้ง (ดังภาพที่ 2.19) ซึ่งเลื่อยชนิดอื่น ไม่สามารถจะเลื่อยได้ เช่น งานเจาะรางน้าตามชายคาและอื่น ๆ นอกจากนั้นก็ยังสามารถใช้ประโยชน์ ในงานช่างครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับไม้ได้อีกด้วย ภาพที่ 2.19 การใช้เลื่อยหางหนูเลื่อยส่วนโค้งเว้า
  • 24. การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยหางหนู 1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้ 2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย ที่อาจหลุดเข้าปอดได้ 3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา 4. เลื่อยฉลุ เลื่อยฉลุ (ดังภาพที่ 2.20) เป็นเลื่อยที่ใช้ในงานตัด เจาะ ฉลุวงกลม หรือส่วนโค้งต่าง ๆ ในการทาลวดลาย นอกจากนั้นยังใช้ในงานตัดไม้บัวเพื่อเข้ามุมต่าง ๆ ภาพที่ 2.20 เลื่อยฉลุ วิธีการใช้งาน ใบเลื่อยของเลื่อยชนิดนี้มีหลายขนาด การเลือกใช้จะขึ้นอยู่กับปร ะเภทของงาน ลักษณะของ ฟันเลื่อยจะเป็นแบบฟันโกรก เวลาติดใบเลื่อยเข้ากับ โครงจะต้องให้ปลายฟันชี้มาทางด้านมือจับเสมอ ทั้งนี้เนื่องจากเลื่อยชนิดนี้ได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับงานละเอียดจึงต้องให้ใบเลื่อยตัดในขณะที่ดึงเลื่อย มาทางด้านหลังหรือในขณะดึงเลื่อยลง (ดังภาพที่ 2.21) ทั้งนี้เพื่อสะดวกต่อการควบคุมการเลื่อย ดังนั้นจึงต้องใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟันเลื่อยชี้มาทางด้าน มือจับเสมอ ยกเว้นกรณีที่จับงานด้วยปากกา ตั้งโต๊ะก็สามารถใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟัน ชี้ออกไปจากมือจับได้ ภาพที่ 2.21 การใช้เลื่อยฉลุ
  • 25. การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยฉลุ 1. ควรแต่งกายให้กระชับ รัดกุม สวมเครื่องป้ องกันอันตรายอันเกิดมาจากการทางานไม้ 2. ใช้ผ้าปิดจมูก สวมทุกครั้งที่จะทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น เพื่อช่วยป้ องกันฝุ่นจากเศษขี้เลื่อย ที่อาจหลุดเข้าปากได้ 3. สวมแว่นตาเพื่อป้ องกันขี้เลื่อยหลุดกระเด็นเข้าตา 4. จับเลื่อยให้แน่นและมั่นคง ค่อยๆ เลื่อยไม่ต้องรีบร้อน (ป้ องกันใบเลื่อยหัก) 5. ปรับตั้งใบเลื่อยที่ยึดกับโครงเลื่อยให้มีความตึงไม่อ่อนตัวขณะทาการเลื่อยฉลุชิ้นงาน 6. ขณะทาการเลื่อยฉลุชิ้นงาน ไม่ควรบิดหรือกดให้ใบเลื่อยกินเนื้อไม้ต ามแนวเส้น ถ้าจาเป็น ให้เลื่อยขยายออกจากแนวเส้นไป ให้เลื่อยสามารบิดตัวกินเนื้อไม้ตามแนวเส้นได้ 7. หลีกเลี่ยงการวางของหนักทับเลื่อยฉลุเพื่อป้ องกันการชารุดเสียหาย 5. เลื่อยไฟฟ้ า (เลื่อยวงเดือน) ภาพที่ 2.22 เลื่อยไฟฟ้ า ส่วนประกอบของเลื่อยไฟฟ้า (ดังภาพที่ 22) 1. สวิตซ์ปิด – เปิด 2. ตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มเข้าไปสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ) 3. ตัวจับประคองหน้า 4. ใบเลื่อย 5. ที่ครอบใบเลื่อย 6. ตัวปรับระดับความสูง – ต่า ของใบเลื่อย
  • 26. วิธีการใช้งาน 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของเลื่อยไฟฟ้าก่อนใช้งาน 2. เตรียมสถานที่วางจับชิ้นงาน 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก 4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของเลื่อยไฟฟ้าให้เรียบร้อย 5. ปรับระดับสูง – ต่า ของใบเลื่อยตามความหนาของไม้ 6. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้เลื่อยทางาน 7. ทาการตัดไม้ (ดังภาพที่ 2.23) 8. เมื่อใช้งานเลื่อยไฟฟ้าเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ทาความสะอาดเป่าฝุ่นออกจาก ตัวเลื่อยไฟฟ้า 9. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย ภาพที่ 2.23 การใช้เลื่อยไฟฟ้ าตัดไม้ การป้ องกันอันตรายจากการใช้เลื่อยไฟฟ้ า 1. ตรวจสภาพทั่วไปของเลื่อยไฟฟ้าก่อนใช้งาน 2. ตรวจน็อตยึดล๊อคใบมีดให้แน่นสนิททุกครั้ง 3. ตรวจสอบสายไฟของเลื่อยไฟฟ้า ว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาดรั่ว 4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก 5. ไม่เล่นกันขณะปฏิบัติงาน เพราะเลื่อยเป็นของมีคมอาจเกิดอันตรายได้
  • 27. กิจกรรมที่ 2 เรื่อง เครื่องมือตัด ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. คาชี้แจง : ให้นักเรียนนาข้อความที่กาหนดให้ไปเติมในช่องว่างให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน ) เลื่อยลันดาชนิดฟันตัด เลื่อยลันดาชนิดฟันโกรก เลื่อยรอ เลื่อยหางหนู เลื่อยฉลุ เลื่อยไฟฟ้า การใช้เลื่อย 1. ………………………. ใช้ตัดไม้ตาม ขวางเสี้ยนไม้ 2. ………………………. ตัดไม้หรือใช้ตัดส่วนอื่นๆ ที่ ต้องการความละเอียด ประณีต 3. ………………………. เป็นการชักเลื่อยยาวๆ ช้าๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอ โดยออกแรงกดเล็กน้อยในขณะที่ดัน 4. ………………………. เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เลื่อยวงเดือน 5. ………………………. ใช้ในงานตัด เจาะ ฉลุวงกลม หรือส่วนโค้งต่าง ๆ ในการทาลวดลาย ตัดไม้บัวเพื่อเข้ามุมต่าง ๆ 6. ………………………. ใช้ในการตัด เจาะรูหรือใช้เลื่อยส่วนโค้ง ซึ่งเลื่อยชนิดอื่นไม่สามารถจะเลื่อยได้ 7. ………………………. ใช้ผ่าหรือตัดไม้ตามความยาวของเสี้ยนไม้ 8. ………………………. ใช้ในการรอปากไม้ เพื่อเข้าปากไม้มุมตู้ เข้ากรอบรูป 9. ………………………. เวลาติดใบเลื่อยเข้ากับโครง จะต้องให้ปลายฟัน ชี้มาทางด้านมือจับเสมอ 10 . ……………..………. มีตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ)
  • 28. เรื่องที่ 3 เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ เครื่องมือไสเป็นเครื่องมือที่ใช้ทาผิวไม้ให้ เรียบ ส่วน เครื่องมือตกแต่งไม้ เป็นเครื่องมือที่ใช้ ขูดไม้หรือแต่งผิวไม้ให้มีขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ เครื่องมือเหล่านี้จาเป็นมากกับงานช่างไม้ 1. กบไม้ เครื่องมือที่ใช้ในการไสไม้ได้แก่ กบ ช่างไม้จะใช้กบไสไม้ให้เรียบ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย และสวยงามก่อนที่จะนาไปใช้งาน เนื่องจากไม้ที่นามาจากโรงงานแปรรูป ยังหยาบและมีผิวขรุขระ ไม่เรียบร้อยจึงต้องนามาไสเสียก่ อน กบมีหลายชนิดแต่ละชนิด มีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์ ในการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท กบไม้ เป็นกบราง ส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่ - ตัวกบ ทาจากไม้เนื้อแข็งที่ไม่ยืดหรือหดตัวเร็ว ไม้ที่นิยมใช้กันคือ ไม้ชิงชัน หรือไม้ประดู่ ไม้แดง หรือไม้พยุง - ใบกบ ทาจากเหล็ก มีคมที่ส่วนล่างเพื่อใช้ขูดไม่ให้เรียบ เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของกบ - เหล็กประกับใบ หรือเหล็กประกับกบ อยู่ระหว่างใบกบและลิ้นติดกับใบกบ โดยมีน็อตสกรู ยึดติดเหล็กประกับใบนี้ มีหน้าที่เสริมกาลังตอนปลายของใบกบไม่ให้อ่อนหรือบิดในเวลาที่ทาการไส และควบคุมการกินของไม้เพื่อไม่ให้ไม้ย้อน - ลิ่ม เป็นแผ่นไม้ชนิดเดียวกับไม้ที่ทาตัวกบคล้ายหัวขวานแต่บางกว่า ใช้อัดใบกบให้ติดกับใบ กบเพื่อให้ใบกบแน่น - ก้านหรือมือจับช่วยให้จับกบได้เหมาะมือ - ขื่อกบ อาจเป็นไม้เจาะที่ติดกับตัวกบโดยตรง หรือจะใช้เหล็กขวางระหว่างช่องใส่ขื่อกบก็ได้ กบไม้ของไทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ กบล้าง (ดังภาพที่ 2.24) และกบผิว (ดังภาพที่ 2.25)
  • 29. ภาพที่ 2.24 กบล้าง กบล้าง เป็นกบที่ใช้สาหรับไสล้างหรือเกลาไม้ครั้งแรก เพื่อปรับให้ได้ระดับตาม ต้องการ ใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ 45 – 50 องศา รางกบจะยาวส่วนมากจะใช้กับงานหยาบ ๆ ภาพที่ 2.25 กบผิว กบผิว เป็นกบที่ใช้ไสหลังจากที่ผ่านการเกลาหรือล้างด้วยกบล้างมาแล้ว เพื่อแต่ง ผิวไม้ให้เรียบจริงๆ พร้อมที่จะทาการขัดด้วยกระดาษทราย กบชนิดนี้จะกินผิวไม้บางกว่ากบล้าง เหมาะสาหรับใช้ในการทาเครื่องเรือน ปรับแต่งบานประตู – หน้าต่าง ให้เข้ากันสนิท วิธีการใช้งาน สิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ลักษณะของเสี้ยนไม้ของไม้ที่นามาไสและตรวจสภาพของไม้ ให้เรียบร้อย จากนั้นวางไม้ที่ไสลงบนโต๊ะ ตีไม้กันที่หัวไม้ เพื่อบังคับไม่ให้ไม้ที่ไสเลื่อน (ดังภาพที่ 2.26) จากนั้นวางหัวกบลงบนหัวไม้ ให้คมกบห่างจากไม้เล็กน้อย ออกแรงกดที่ด้านหัวกบ ออกแรงไสไปข้างหน้า เมื่อด้านท้ายของกบเลยหัวไม้ขึ้นไปอยู่บนแผ่นไม้แล้วให้ออกแรงกดทั้งด้านหัว และท้ายกบ เมื่อไสไปจนเกือบจะถึงหัวไม้อีกด้านหนึ่งก็ให้ผ่อนแรงที่กดด้านหัวกบ แต่ทางท้าย ยังคงอยู่ ไสไปไสมา
  • 30. ในการไสตกแต่งไม้ด้านขอบไม้ ช่วงของการไสควรจะอยู่ประมาณช่วงแขน ให้ไสตกแต่ง โดยตลอดหน้ากว้างของไม้ ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิวไม้ที่จุดต่างๆ ตามความยาวของไม้ ด้วย บรรทัดเหล็กหรือฉาก เมื่อจะไสขอบไม้ให้เรียบตรง ก่อนอื่นให้เล็งไปตามขอบไม้ เพื่อกาหนดจุดที่สูง จากนั้นให้ไส ส่วนที่สูงออกเสียก่อนที่จะทาการไสให้เรียบทั้งหมด การไสครั้งสุดท้ายให้ไสไปโดยตลอดความยาว ของไม้ ภาพที่ 2.26 ตีไม้กันไว้ที่หัวไม้เพื่อบังคับไม่ให้ไม้ ที่ไสเลื่อน การป้ องกันอันตรายจากการใช้กบ 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของกบก่อนใช้งาน 2. เตรียมสถานที่วางจับชิ้นงาน 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ 4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางไม้กั้นชิ้นงานเคลื่อน 5. ทาการไสไม้ โดยปรับระดับสูงต่าของกบตามต้องการ 6. เมื่อใช้งานกบไม้แล้ว ใช้แปรงทาความสะอาดให้เรียบร้อย 7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
  • 31. 2. กบไฟฟ้ า ภาพที่ 2.27 ส่วนประกอบของกบไฟฟ้ า ส่วนประกอบของกบไฟฟ้ า (ดังภาพที่ 2.27) 1. สวิตซ์ปิด – เปิด 2. ตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มเข้าไปสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ) 3. ตัวปรับระดับสูง – ต่าของกบไฟฟ้า 4. ใบมีด (แต่ละใบมีดจะยึดด้วยน็อต) ก่อนใช้งานทุกครั้งต้องตรวจสอบดูว่าน็อต แต่ละตัวหลวมหรือไม่ วิธีการใช้งาน 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของกบก่อนใช้งาน 2. เตรียมสถานที่วางจับชิ้นงาน 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก 4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของกบไฟฟ้าให้เรียบร้อย 5. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้กบทางาน 6. ทาการไสไม้ โดยปรับระดับสูงต่าของกบตามต้องการ (ดังภาพที่ 2.28) 7. เมื่อใช้งานกบไฟฟ้าเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ทาความสะอาดเป่าฝุ่น ออกจากตัวกบไฟฟ้า 8. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
  • 32. ภาพที่ 2.28 การใช้กบไฟฟ้ าไสไม้ การป้ องกันอันตรายจากการใช้กบไฟฟ้ า 1. ตรวจสภาพทั่วไปของกบไฟฟ้าก่อนใช้งาน 2. ตรวจน็อตยึดล๊อคใบมีดให้แน่นสนิททุกครั้ง 3. ตรวจสอบสายไฟของกบไฟฟ้า ว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาดรั่ว 4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก 5. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน 3. บุ้งถูไม้ (Wood Rasp) บุ้งถูไม้ (Wood Rasp) (ดังภาพที่ 2.29) ใช้ทาหน้าที่ถูหรือปรับไม้ทั้งที่เป็นแนวตรงหรือแนว ที่เป็นส่วนโค้ง ให้ได้ขนาดใกล้เคียงกับของจริง โดยใช้ด้านที่ขรุขระออกด้านนอกเพื่อใช้กัดไม้ ด้ามจับทาด้วยไม้ ภาพที่ 2.29 บุ้งถูไม้
  • 33. วิธีการใช้งาน 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของบุ้งถูไม้ก่อนใช้งาน 2. เตรียมสถานที่วางยึดจับชิ้นงาน 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ 4. ใช้มือขวาจับที่ด้ามของบุ้งถูไม้ มือซ้ายจับที่ปลายบุ้งถูไม้ 5. วางบุ้งถูไม้บนชิ้นไม้ที่ต้องการปรับระดับ ถูไปข้างหน้าเพื่อปรับผิวไม้ตามต้องการ (ดังภาพที่ 2.30) 6. เมื่อใช้งานบุ้งถูไม้แล้ว ใช้แปรงปัดทาความสะอาดทุกครั้ง 7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย ภาพที่ 2.30 การใช้งานบุ้งถูไม้ การป้ องกันอันตรายจากการใช้บุ้งถูไม้ 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของบุ้งก่อนใช้งาน 2. ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับบุ้งถูไม้ให้แน่นสนิทกับตัวบุ้งถูไม้ 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ 4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
  • 34. 4. ตะไบ ตะไบ (Files) (ดังภาพที่ 2.31) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับตกแต่งผิวไม้ ตัวตะไบทาด้วยโลหะ มีร่องเล็ก ๆ เรียงชิดติดกันจานวนมาก ด้ามจับทาด้วยไม้ ภาพที่ 2.31 ตะไบ วิธีการใช้งาน 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของตะไบก่อนใช้งาน 2. เตรียมสถานที่วางยึดจับชิ้นงาน 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ 4. ใช้มือขวาจับที่ด้ามของตะไบ มือซ้ายจับที่ตะไบ (ดังภาพที่ 2.32) 5. วางตะไบบนชิ้นไม้ที่ต้องการปรับระดับ ถูไปข้างหน้าเพื่อปรับผิวไม้ตามต้องการ 6. เมื่อใช้งานตะไบแล้ว ใช้แปรงปัดทาความสะอาดทุกครั้ง 7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย ภาพที่ 2.32 การใช้ตะไบ การป้ องกันอันตรายจากการใช้ตะไบ 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของตะไบก่อนใช้งาน 2. ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบ 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ 4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
  • 35. 5. สิ่ว (Chisels) สิ่ว (Chisels) (ดังภาพที่ 2.33) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับเจาะไม้ บากไม้ เซาะไม้ ตกแต่งไม้ แกะสลักและอื่น ๆ ตัวสิ่วทาด้วยโลหะ ที่ปลายมีลักษณะปลายตัดเอียงมี ความคม ด้ามจับทาด้วยไม้ มีข้อกลมโลหะสวมไว้เพื่อป้ องกันไม้แตกเวลาใช้ค้อนตอก ภาพที่ 2.33 สิ่ว วิธีการใช้งานสิ่ว 1. เลือกไม้ขนาดที่ต้องการ ร่างแบบลงบนเนื้อไม้ 2. ใช้เลื่อยตัดไปตามเส้นทางด้านกว้างของหน้าไม้จนถึงระดับความลึกที่จะบาก จากนั้นเลื่อย หลายๆรอย เพื่อสะดวกต่อการใช้สิ่วในภายหลัง 3. ใช้สิ่วบากไม้ไปตามแบบที่ร่างไว้ด้วยการจรดคมสิ่วลงที่เส้นแสดงระดับความลึก ให้ด้านราบของคมสิ่วอยู่ด้านล่าง แล้วตอกสิ่วเบาๆ เอาเนื้อไม้ออก (ดังภาพที่ 2.34) 4. ใช้สิ่วบากส่วนที่เหลือออก โดยการใช้สิ่วด้วยมือด้วยการออกแรงกดเพีย งเล็กน้อย เพื่อบากไม้ได้ดี ใกล้กับศูนย์กลางไม้
  • 36. ภาพที่ 2.34 การใช้สิ่ว การป้ องกันอันตรายจากการใช้สิ่ว 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของสิ่วก่อนใช้งาน 2. ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ 4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน 5. เวลาใช้ค้อนไม้ตอกสิ่ว ควรตรวจสอบค้อนไม้ให้ดีก่อนปฏิบัติงาน 6. กระดาษทราย กระดาษทรายกับงานไม้ (ดังภาพที่ 2.35) ใช้สาหรับขัดไม้ ทาเป็นแผ่นสาเร็จมาขนาดประมาณ A4 มีเบอร์ที่นิยมอยู่ระหว่าง 0 - 5 เบอร์ยิ่งมากก็ยิ่งหยาบ ภาพที่ 2.35 กระดาษทราย
  • 37. วิธีการใช้งาน การขัดด้วยกระดาษทราย เวลาขัดนิยมตัดหรือพับให้เป็นรูปสี่เหลี่ยม ใช้ไม้เป็นตัวรอง (ดังภาพที่ 2.36) หรือใช้พับทบไปมาแล้วลูบด้วยมือก็ได้ ภาพที่ 2.36 การใช้กระดาษทรายขัดไม้โดยใช้ไม้เป็นตัวรอง การขัดไม้จะมีลาดับการทางานคือ การขัดหยาบ ขัดเรียบ ขัดละเอียด ขัดหยาบ (Leveling) เป็นการขจัดจุดบกพร่องบนพื้นผิว ลบรอยจากเครื่องจักร/ เครื่องมือ ให้ใช้เบอร์ 5 หรือ เบอร์ 4 แต่หากผิวหยาบมาก ก็ให้ใช้ เบอร์ 5 ก่อน จึงตามด้วยเบอร์ 4 ขัดเรียบ (Uniforming) เป็นการลดรอยกระดาษทรายจากขั้นตอนแรก ให้ใช้เบอร์ 2 หรือเบอร์ 3 สาหรับงานที่ไม่ต้องการความละเอียดมาก ก็สามารถขัดถึงขั้นนี้ แต่หากเป็นงานเฟอร์นิเจอร์ ควรขัดละเอียดต่อไปอีก ขัดละเอียด (Polishing) - เป็นการขัดที่ทาให้พื้นผิวราบเรียบ จนมองไม่เห็นรอย กระดาษทราย (ด้วยตาเปล่า) ให้ใช้เบอร์ 0 หรือ เบอร์ 1 การขัดให้ขัดตามลาดับ อย่าขัดข้ามเบอร์ จะทาให้เสียเวลา และเปลืองกระดาษทราย การป้ องกันอันตรายจากการใช้กระดาษทราย 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของชิ้นงานที่ต้องการขัดด้วยกระดาษทราย เช่นตะปู ลวด หรือ เสี้ยนไม้ หากพบเจอให้ถอนออก 2. เวลาขัดกระดาษทรายใช้มือยึดจับกระดาษให้แน่น 3. สวมแว่นตา และถุงมือเพื่อป้ องกันอันตรายจากฝุ่นละอองและของมีคม 4. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
  • 38. 7. เครื่องขัดกระดาษทราย ภาพที่ 2.37 เครื่องขัดกระดาษทราย ส่วนประกอบของเครื่องขัดกระดาษทราย (ดังภาพที่ 2.37) 1. สวิตซ์ปิด – เปิด 2. ตัวคลิปหนีบจับกระดาษทราย มี 2 ด้าน หัวกับท้าย 3. กระดาษทราย วิธีการใช้งาน 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของเครื่องขัดกระดาษทรายก่อนใช้งาน 2. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ 3. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของเครื่องขัดกระดาษทรายให้เรียบร้อย 4. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้เครื่องขัดกระดาษทรายทางาน 5. ทาการขัดไม้ (ดังภาพที่ 2.38) 6. เมื่อใช้งานเครื่องขัดกระดาษทรายเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ทาความสะอาดเป่าฝุ่น ออกจากตัวเครื่องขัดกระดาษทราย 7. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
  • 39. ภาพที่ 2.38 การขัดไม้ด้วยเครื่องขัดกระดาษทราย การป้ องกันอันตรายจากการใช้เครื่องขัดกระดาษทราย 1. ตรวจสภาพทั่วไปของเครื่องขัดกระดาษทรายก่อนใช้งาน 2. ตรวจคลิปหนีบยึดล๊อคกระดาษทรายให้แน่นสนิททุกครั้ง 3. ตรวจสอบสายไฟของเครื่องขัดกระดาษทรายว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาด 4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ผ้าปิดจมูก ถุงมือ 5. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
  • 40. กิจกรรมที่ 3 เรื่อง เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ( 10 คะแนน ) 1. เครื่องมือไสเป็นเครื่องมือที่ใช้ ......................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 2. กบที่นิยมใช้กับงานช่างไม้ในปัจจุบันได้แก่ ................................................................................... ............................................................................................................................................................. 3. กบผิว เป็นกบที่ใช้..... ..................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 4. กบล้าง เป็นกบที่ใช้ .................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 5. เครื่องมือตกแต่งไม้เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับ ............................................................................... ............................................................................................................................................................. 6. บุ้งถูไม้ (Wood Rasp) ใช้ทาหน้าที่ .............................................................................................. ............................................................................................................................................................. 7. ตะไบ (Files) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับ ....................................................................................... ............................................................................................................................................................. 8. สิ่ว (Chisels) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับ ...................................................................................... ............................................................................................................................................................. 9.สิ่งแรกที่ต้องทาก่อนใช้งานเครื่องขัดกระดาษทราย คือ................................................................... ............................................................................................................................................................. 10. การไสไม้ สิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ........................................................................................... .............................................................................................................................................................
  • 41. เรื่องที่ 4 เครื่องมือเจาะ เครื่องมือเจาะ เครื่องมือเจาะและคว้านไม้ เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับงานไม้ ใช้สาหรับเจาะหรือคว้านรู เพื่อใส่ตะปูเกลียว สลักเกลียวหรือเดือย ในการประกอบเครื่องเรือนต่าง ๆ 1. สว่านไฟฟ้ า เจาะได้ทั้งโลหะแผ่นและไม้ สถานที่ใช้ต้องมีไฟฟ้า เพื่อสะดวกต่อการใช้สว่านไฟฟ้า โดยเลือกใช้ดอกสว่านให้เหมาะสมกับงานที่ใช้ ภาพที่ 2.39 สว่านไฟฟ้ า ส่วนประกอบของสว่านไฟฟ้ า (ดังภาพที่ 2.39) 1. สวิตซ์ปิด – เปิด 2. ตัวล๊อคสวิตซ์ (ถ้ากดปุ่มเข้าไปสวิตซ์จะทางานอัตโนมัติ) 3. ตัวปรับรอบความเร็ว 4. คันโยกปรับหมุนตามเข็มนาฬิกา และทวนเข็มนาฬิกา 5. ตัวปรับการเจาะแบบหมุนธรรมดา กับการเจาะแบบกระแทก 6. ตัวยึดจับดอกสว่าน 7. จาปา ใช้หมุนขันยึดดอกสว่าน 8. ดอกสว่าน
  • 42. วิธีการใช้งาน 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของสว่านไฟฟ้าก่อนใช้งาน 2. เตรียมสถานที่ / วางจับยึดชิ้นงาน 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ 4. ก่อนเริ่มปฏิบัติงานต้องจัดวางสายไฟของสว่านไฟฟ้าให้เรียบร้อย 5. ใส่ดอกสว่าน (ชนิดและขนาดขึ้นอยู่กับงานที่ทา) ขันยึดให้แน่น 6. เสียบปลั๊กไฟ เปิดสวิตซ์ให้สว่านไฟฟ้าทางาน 7. ทาการเจาะไม้โดยปรับระดับความเร็วของสว่านไฟฟ้าตามต้องการ(ดังภาพที่ 2.40) 8. เมื่อใช้งานสว่านไฟฟ้าเสร็จแล้วให้ถอดปลั๊กออก ขันเอาดอกสว่านออก ทาความสะอาดเป่าฝุ่นออกจากตัวสว่านไฟฟ้า และดอกสว่าน 9. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย ภาพที่ 2.40 การใช้สว่านไฟฟ้ าเจาะไม้ การป้ องกันอันตรายจากการใช้กบไฟฟ้ า 1. ตรวจสภาพทั่วไปของสว่านไฟฟ้าก่อนใช้งาน 2. ใช้จาปาขันยึดล๊อคดอกสว่านให้แน่นสนิททุกครั้ง 3. ตรวจสอบสายไฟของสว่านไฟฟ้า ว่ามีสภาพเรียบร้อยไม่ขาดรั่ว ถ้าพบให้แก้ไข ปรับปรุงให้เรียบร้อย 4. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ 5. ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
  • 43. 2. สว่านแท่นเจาะ ภาพที่ 2.41 สว่านแท่น ส่วนประกอบของสว่านแท่นเจาะ (ดังภาพที่ 2.41) 1. สวิตซ์ปิด – เปิด 2. ตัวยึดจับดอกสว่าน 3. ตัวหมุนปรับสว่านขึ้น – ลง 4. มอเตอร์ไฟฟ้า 5. สายพาน 6. ฐานเลื่อนระดับใช้วางชิ้นงาน 7. จาปา ใช้หมุนขันยึดดอกสว่าน 8. ดอกสว่าน วิธีการใช้งาน 1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของสว่านแท่นเจาะก่อนใช้งาน 2. เตรียมสถานที่ / วางจับยึดชิ้นงาน 3. สวมอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย ได้แก่ แว่นตา ถุงมือ