SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
** แนวการตอบ **
                                              แบบทดสอบปลายภาค
                          รายวิชา 390611 Advanced Research Methodology
ชื่อ นางสาว วณิชชา แมนยํา                          วิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา รหัส 55030286
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คําชี้แจง
         ใหทานคิดทําวิจัยเกี่ยวกับขอความที่กําหนด 1 เรื่อง และใชเรื่องที่คิดประกอบการตอบคําถาม
ขอ 1 ถึง 18 “การพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับผูบริหาร
สถานศึกษา”

1. ขอความขางตนคืออะไร
ตอบ เปน “ชื่อเรื่อง”

2. สภาพการณที่เปนปญหาเกี่ยวของกับขอความดังกลาวคืออะไร
ตอบ จากการประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่
2) พุทธศักราช 2545 ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา 39 ใหกระทรวงศึกษาธิการกระจายอํานาจการบริหารและ
การจัดการศึกษา ทั้ง 4 ดาน ไดแก ดานวิชาการ ดานงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดาน
การบริหารงานทั่วไปใหกับสถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา ทั่วประเทศ
        นอกจากนี้ พระราชบัญญัตระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช2546
                                  ิ
มาตรา 44 บัญญัติใหสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาดังกลาวใหเปนไปตามเจตนารมณของการปฏิรูป
การศึกษา และกําหนดใหสถานศึกษามีฐานะเปนนิตบุคคลเพื่อใหเกิดความเปนอิสระ คลองตัว สามารถ
                                                ิ
บริหารและจัดการศึกษาไดอยางสะดวก รวดเร็ว ถูกตองและ มีประสิทธิภาพ ตลอดจนทําใหสถานศึกษามี
อํานาจในการบริหารจัดการดวยตนเองมากขึ้น

3. งานวิจัยดังกลาว มีอะไรเปนตัวแปร ไดบาง
ตอบ ตัวแปรตาม ไดแก สภาพการดําเนินงานตามหลักสูตร
        ตัวแปรตน ไดแก การบริหารจัดการโดย ใชสถานศึกษาเปนฐาน และการกระจายอํานาจการ
บริหารและการจัดการศึกษา
2


4. ทานนิยามตัวแปรตามวาอยางไร
ตอบ ตัวแปร คือ ลักษณะของขอมูลซึงแบงออกเปนพวกหรือเปนลําดับ สามารถเปลี่ยนแปลงคาไดหรือ
                                ่
มีไดหลายคา

5. งานวิจัยที่คิดวาเปนงานวิจัยประเภทใด
ตอบ งานวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา (Research and Development)

 6. ควรเริ่มกระบวนการวิจัยอยางไรดี (ก หรือ ข หรือ ค)
          ก. คิดชื่อเรื่อง วัตถุประสงค คําถามวิจัย สมมติฐาน ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ
          ข. คิดชื่อเรื่อง ออกแบบการวิจัย คําถามวิจัย วัตถุประสงค สมมติฐาน ตามลําดับ
          ค. คิดคําถาม วัตถุประสงค สมมติฐาน ขอบเขตการวิจัย ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ
ตอบ เลือกขอ ค. คิดคําถาม วัตถุประสงค สมมติฐาน ขอบเขตการวิจัย ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ
          เพราะ ผูวิจัยตองกําหนดขอความทีเ่ ปนปญหาและวัตถุประสงคในการวิจัยใหชัดเจน การกําหนด
วัตถุประสงคในการวิจัยเปนการคนหาคําตอบที่ตองการจากงานวิจัย วิธีการกําหนดวัตถุประสงคที่นิยมใช
ที่สุดคือการตั้งสมมติฐานในการวิจัย และเมื่อไดสมมุติฐาน แลวจึงกําหนดขอบเขตการดําเนินงานวิจัย และ
ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ

7. กรอบความคิดการวิจัยคืออะไร
ตอบ กรอบเชิงทฤษฎีทลดรูปลงมาเพือใชสําหรับการวิจัยเรืองนั้นๆนั่นเอง กลาวคือ ในขณะที่กรอบเชิง
                             ี่             ่                    ่
ทฤษฎีนั้นไดแสดงใหเห็นถึงปจจัย หรือความสัมพันธของปจจัย หรือตัวแปรทังหมดที่เกี่ยวของสัมพันธกัน
                                                                             ้
กับปจจัย หรือตัวแปรตาม หรือปรากฏการณที่นักวิจัยตองการศึกษา ซึ่งปจจัยหรือตัวแปรทีกลาวนี้มาจาก
                                                                                             ่
ทฤษฎีแนวคิดและผลงานวิจัยตางๆ แตเมื่อจะดําเนินงานวิจยนักวิจัยไดปรับลดตัวแปรบางตัวลง หรือทํา
                                                              ั
ใหตัวแปรบางตัวคงที่ แลวปรับกรอบเชิงทฤษฎีใหม จะไดเปนกรอบความคิดการวิจัยเพื่อใชสําหรับการ
วิจัยเรื่องนั้นเทานั้น หากเปลี่ยนเรื่องดําเนินการวิจัยใหม โดยใชกรอบเชิงทฤษฎีอื่นก็ตองสรางกรอบ
ความคิดการวิจัยใหมอกเชนกัน
                          ี
3


8. งานวิจัยของทานมีกรอบความคิดการวิจัยเปนอยางไร
ตอบ

    คุณลักษณะสําคัญ 6 ประการ เกี่ยวกับผูนําการ
    เปลี่ยนแปลงทางการศึกษา (Leaders of
    educational change) (สุเทพ : 2549)

   1) ตองเปนผูมีวิสัยทัศน (Having vision)
   2) มีความเชื่อวา “โรงเรียนมีไวเพื่อเปนสถานที่เรียนรู
   (Believing that the schools are for learning)
   3) ตองใหคุณคาและความสําคัญของทรัพยากรมนุษย
   (Valuing human resources)
   4) ตองมีทักษะที่ดีของการเปน “นักสื่อสารและนักฟง”
   ที่มีประสิทธิผล (Being a skill communicators and
   listener)
   5) ตองแสดงพฤติกรรมเชิงรุก (Acting proactively)
   6) ตองกลาที่จะเสี่ยง (Taking risks)
                                                              รูปแบบการพัฒนาผูนํา
                                                              การเปลี่ยนแปลงเพื่อ
                                                              รองรับการกระจายอํานาจ
    รูปแบบการกระจายอํานาจทางการศึกษา
    (ประกอบ คุปรัตน. 2536 : 2-4)
   1. การแบงอํานาจ (Deconcentration)
   2. การใหอํานาจอิสระ (Delegation)
   3. การมอบอํานาจใหแกทองถิ่นอยางเต็มที่
   (Devolution)
   4. การใหเอกชน/องคกรเอกชนดําเนินการ (Privatition
   or non-government institutions)
   5. การปรับโครงสรางขององคการ (Restructuring)
   6. การใชกระบวนการทางประชาธิปไตย
   (Democratization)
4


9. ประชากรในงานวิจัยเปนอะไร และกลุมตัวอยางเปนอะไร
                                        
ตอบ ประชากร คือ ผูบริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
        กลุมตัวอยาง คือ ผูบริหารสถานศึกษาโรงเรียนที่ไดคัดเลือกตามเกณฑที่ กําหนดจากสํานักงาน
                            
เขตพื้นที่การศึกษาใหเปนสถานศึกษาทีรองรับการกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
                                     ่

10. ทานคนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของในชวงใดของกระบวนการวิจัยบาง
ตอบ 1. ชวงเลือกหัวขอปญหา
        2. การกําหนดปญหาการวิจัย
        3. ชวงของการตั้งสมมุติฐาน
        4. ชวงขั้นตอนการกําหนดความเปนมาและความสําคัญของปญหา
        5. ชวงขั้นตอนการกําหนดขอบเขตการวิจัย
        6. ชวงขั้นตอนการนิยามศัพทเฉพาะ
        7. ชวงขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
        8. ชวงของการสรุปผลและอภิปรายผล
        9. ชวงของการใหขอเสนอแนะการวิจัย

11. ทานคนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่ออะไรบาง
ตอบ 1. เปนการตรวจสอบวาหัวขอทีเ่ ราจะทําวิจัยนั้นมีผูอื่นเคยทําวิจัยมาแลวหรือยัง หลังจาก
ทบทวนเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของแลว อาจมีการปรับปรุงหัวขอวิจัยใหรัดกุมมากยิ่งขึ้น การกําหนด
ปญหาการวิจัยที่กําหนดไวเดิม อาจยังมีขอบเขตไมครอบคลุมมากพอ หลังจากทบทวนเอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวของแลว อาจมีการปรับปรุงการกําหนดปญหาการวิจัยใหรัดกุมมากยิงขึ้น่
        2. การศึกษาเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวของจะทําใหตั้งสมมุติฐานในการวิจัยไดถูกตอง เพราะ
                                        ั
การตั้งสมมุติฐานในการวิจัยนั้นตองอาศัยขอมูล ขอคนพบและผลการวิจัยกอนๆ มาสนับสนุน เปน
การศึกษาขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับหัวขอวิจัย ที่ปรากฏอยูในรูปเอกสารหลักฐานเพื่อนํามาชี้ใหเห็นถึง
สภาพปญหาทีเ่ กิดขึ้น และเห็นถึงความสําคัญของการทําวิจย   ั
        3. การกําหนดตัวแปรการวิจัย กําหนดประชากร กลุมตัวอยางและวิธีการสุมกลุมตัวอยาง เพราะ
อาจมีการกําหนดขนาดกลุมตัวอยางและวิธีการสุมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น เปนตน
        4. ตองศึกษานิยามคําศัพทที่สําคัญเพื่อสื่อสารใหตรงกันระหวางผูทําวิจัยและผูอาน ซึ่งตองศึกษา
                                                                                      
จากเอกสารทีเ่ กี่ยวของ
5


          5. ตองทราบรายละเอียดและวางแผนเกี่ยวกับเรื่องตอไปนี้ เชน เครื่องมือที่ใช วิธีการสราง
เครื่องมือ วิธีดําเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล เปนตน เพื่อออกแบบการวิจัยให
เหมาะสมและสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย
          6. เนื่องจากการอภิปรายผลการวิจัยจําเปนตองอธิบายถึงผลที่ไดจากการวิจัย บอกถึงสาเหตุททํา ี่
ใหเกิดผลเชนนั้น ซึ่งตองอาศัยหลักการทฤษฎีเขามาสนับสนุนการอภิปรายเพื่อใหเกิดความชัดเจน ถูกตอง
และนาเชื่อถือ
          7. อาจตองศึกษางานวิจัยที่ผานมาวา มีการทําวิจัยในประเด็นใดไปแลวบาง ประเด็นใดยังไมมีใคร
ทํา เปนตน

12. ทานจะมีสมมติฐานหรือไม ถาไมมี เพราะอะไร ถามีมวาอยางไร
                                                       ี
ตอบ มีสมมุติฐาน ดังนี้
        1. ผูบริหารสถานศึกษาที่เขารับการฝกอบรมดวยรูปแบบการฝกอบรมผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อ
รองรับการกระจายอํานาจ มีภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงเพิมมากขึ้น
                                                     ่
        2. ผูบริหารสถานศึกษาที่เขารับการฝกอบรมดวยรูปแบบการฝกอบรมผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อ
รองรับการกระจายอํานาจ มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก

13. ทานใชเครื่องมืออะไรบาง และเครื่องมือมีลักษณะอยางไร
ตอบ ขั้นพัฒนารูปแบบฯ
        1. แบบสัมภาษณผทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบการฝกอบรมฯ เปนแบบ
                          ู
สัมภาษณแบบมีโครงสราง
        2. แบบประเมินความเหมาะสมและความเปนไปไดของรูปแบบการฝกอบรมสําหรับผูทรงคุณวุฒิ
เปนแบบประเมินคา 5 ระดับ เปนแบบปลายเปด
        ขั้นทดลองใชรปแบบฯ
                      ู
        1. แบบประเมินตนเอง แบบประเมินคา 5 ระดับ
        2. แบบสอบถามความพึงพอใจของผูบริหารทีมีตอการฝกอบรมดวยรูปแบบการฝกอบรมผูนําการ
                                                 ่
เปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ
        ขั้นตอนการรับรองรูปแบบฯ
        1. แบบสัมภาษณผทรงคุณวุฒิ เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ เปนแบบสัมภาษณแบบมี
                             ู
โครงสราง
6


14. ขอมูลที่เก็บไดจากเครื่องมือ คืออะไรบาง
ตอบ 1. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของผูทรงวุฒิเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบฝกอบรมฯ
                                               
        2. ระดับความเหมาะสมของรูปแบบฯ
        3. ระดับการประเมินของตนเองของผูบริหารสถานศึกษา
                                             
        4. ขอมูลพื้นฐาน และระดับความพึงพอใจ และขอเสนอแนะเพิ่มเติม ของผูบริหารสถานศึกษา
                                                                         
        5. ความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒที่มีตอรูปแบบการฝกอบรมฯ
                                       ิ

15. ขอมูลนั้นวัดไดในระดับใดบาง
ตอบ มาตราการวัดแบงออกเปน 4 ระดับ คือ
         1. มาตราการวัดระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) เปนระดับที่ใชจําแนกความแตกตางของสิง     ่
ที่ตองการวัดออกเปนกลุมๆ โดยใชตัวเลข เชน ตัวแปรเพศ ตําแหนงหนาที่
         2. มาตราการวัดระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) เปนระดับที่ใชสําหรับจัดอันดับทีหรือ
                                                                                          ่
ตําแหนงของสิ่งที่ตองการวัด เชน ลําดับความเหมาะสมของรูปแบบฯ
                   
         3. มาตราการวัดระดับชวง (Interval Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขโดยมีชวงหาง
ระหวางตัวเลขเทา ๆ กัน สามารถนําตัวเลขมาเปรียบเทียบกันไดวาวามีปริมาณมากนอยเทาใด แตไม
สามารถบอกไดวาเปนกี่เทาของกันและกัน เชน ระดับการประเมินตนเองของผูบริหาร
         4. มาตราการวัดระดับอัตราสวน (Ratio Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขใหกบสิงที่
                                                                                              ั ่
ตองการวัด เชน ระดับความพึงพอใจของผูบริหาร

16. ทานเก็บขอมูลอยางไร
ตอบ 1. สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบฯ เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการ
พัฒนารูปแบบ
         2. สรางรางรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับ
ผูบริหารการศึกษา
         3. นํารางรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับผูบริหาร
การศึกษา ทดลองใชกับผูบริหารการศึกษา และเปรียบเทียบผลการเรียนรูระหวางผูใชงานและผูไมใชงาน
                                                                    
         4. จัดทําแบบประเมินรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ
สําหรับผูบริหารการศึกษา และใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบแลวใหผูบริหารสถานศึกษาประเมิน
7


17. วิเคราะหขอมูลอยางไร
ตอบ 1. ใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) สําหรับ รูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลง
                                                                              
เพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับผูบริหารการศึกษาจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญนั้น
         2. ใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คารอยละ การวิเคราะหแบบการประเมินคามาตราสวน
สําหรับ ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับ
ผูบริหารการศึกษา

18. ถาขอคนพบขัดแยงกับสมมติฐานการวิจัย ทานจะทําอยางไร เพราะอะไร
ตอบ สมมติฐานในการวิจัย คือ ขอความที่คาดคะเนคําตอบของงานวิจัยไวลวงหนา เปนการคาดเดาวา
ผลการวิจัยของปญหานั้นๆจะออกมาในลักษณะใด อาจเปนการคาดคะเนขอสรุปที่ยังไมคงที่แตอาจมี
ความจริง หรือคาดคะเนสถานการณบางอยางที่มีความสัมพันธกัน
        ถาขอคนพบขัดแยงกับสมมติฐานการวิจัย ไมไดหมายความวาเปนสมมติฐานที่ไมมีประโยชน
สมมติฐานที่ปฏิเสธ อาจจะชวยแนะนํานักวิจัยใหสนใจขอเท็จจริง หรือความสัมพันธระหวางขอเท็จจริง
บางอยางที่ไมไดคาดหมายไวก็ได ดังนั้น ผูวิจัยจึงตองมีการสรุปผลการวิจัย อยางเปนกลาง จึงจะทําให
งานวิจัยออกมานาเชื่อถือ

19. การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมี
วัตถุประสงคการวิจัย 4 ขอ คือ 1. เพื่อวิเคราะหองคประกอบในการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อสรางรูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. เพื่อทดลองใช
รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 4. เพื่อประเมินรูปแบบการวางแผนกล
ยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัย พบวา
         1. รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบดวย 7 องคประกอบ
         2. รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อไปทดลองใชในสถานการณ
จริง พบวา โรงเรียนสามารถปฏิบัติตามรูปแบบที่กําหนดไวอยางเปนรูปธรรม และผูเกี่ยวของมีความ
พึงพอใจ
         3. รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นมีความเปนประโยชน
ความเปนไปได ความเหมาะสม และความถูกตอง ควบคลุมอยูในระดับมาก
         จากขอความขางตน ขอใหทานเขียนวัตถุประสงคการวิจัย ประเด็นที่ศึกษา เครื่องมือที่ใชใน
การเก็บขอมูล และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ใหสอดคลองกัน
8


ตอบ สามารถเขียน วัตถุประสงคการวิจัย ประเด็นที่ศึกษา เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล และสถิติที่ใชใน
การวิเคราะหขอมูล ไดดังนี้
        วัตถุประสงคการวิจัย
                  1. เพื่อวิเคราะหองคประกอบในการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
                  2. เพื่อสรางรูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
                  3. เพื่อทดลองใชรปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
                                    ู
                  4. เพื่อประเมินรูปแบบการวางกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพืนฐาน้
        ประเด็นที่ศึกษา
                  1. การวางแผน
                  2. กลยุทธ การวางแผนกลยุทธ
                  3. กระบวนการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ
                  4. กระบวนการตัดสินใจเชิงกลยุทธ
                  5. มาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพการศึกษา
        เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล
                  1. แบบสอบถามความคิดเห็นของผูบริหารสถานศึกษาที่มีตอองคประกอบของการ
                                                                       
                      วางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
                  2. การนําคูมือการดําเนินงานฯ มาทดลองปฏิบัตจริง ในการวางแผนกลยุทธของ
                                                               ิ
                      สถานศึกษา
                  3. แบบสอบถามความคิดเห็นที่ผูวจัยสรางขึ้น ประเมิน 4 มาตรฐาน คือ 1)ความเปน
                                                  ิ
                      ประโยชน 2)ความเปนไปได 3)ความเหมาะสม 4)ความถูกตองครอบคลุม
                  4. แบบประเมินรูปแบบ มาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ
        สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
                  1. คามัชฌิมเลขคณิต (Mean : )
                  2. คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD )
                  3. คา t-test
9


20. การวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ขอใหทานออกแบบการวิจัย ในลักษณะของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development)
โดยมีประเด็นตอไปนี้
        20.1 คําถามวิจัย
                  1. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีองคประกอบ
                      อะไรบาง
                  2. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีลักษณะอยางไร
                  3. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่พฒนาขึ้น
                                                                                     ั
                      สามารถนําไปใชเหมาะสมเพียงใด
                  4. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่พฒนาขึ้นเมื่อ
                                                                                       ั
                      นําไปใชแลวมีผลเปนอยางไร
        20.2 วัตถุประสงคการวิจัย
                  1. เพื่อศึกษาองคประกอบของรูปแบบการประเมินการปฏิบติงานของสํานักงานเขตพื้นที่
                                                                       ั
                      การศึกษา
                  2. เพื่อสรางรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                  3. เพื่อทดลองใชรปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา
                                     ู                                                   ่
                  4. เพื่อประเมินรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
        20.3 ประเด็นที่ศึกษา
                  1. องคประกอบในการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                  2. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
        20.4 แหลงขอมูล
                  1. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ
                  2. ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                  3. หัวหนากลุมในสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา
                                                    ่
                  4. ผูบริหารสถานศึกษา
                  5. ครูผูสอน
                  6. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
                  7. ศึกษานิเทศก
10


20.5 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
       1. แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบการประเมินการ
            ปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา
                                            ่
       2. แบบสอบถามเพื่อตรวจสอบรูปแบบการประเมินการปฏิบติงานของสํานักงานเขต
                                                                ั
            พื้นที่การศึกษา
       3. แบบสอบถามเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของคูมอการประเมินการปฏิบัตงานของ
                                                       ื                   ิ
            สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ
       4. คูมือการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
       5. แบบสอบถามประเมินการปฏิบัตงานของสํานักงานเขตพืนที่การศึกษา แบบมาตรา
                                          ิ                   ้
            สวนประมาณคา 5 ระดับ
       6. แบบสอบถามเพื่อประเมินความเปนประโยชน ความเปนไปได ความเหมาะสม และ
            ความถูกตองครอบคลุมของรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขต
            พื้นที่การศึกษา แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ และขอคําถามเสนอแนะ
            เพิ่มเติม แบบปลายเปด
20.6 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
       1. คาดัชนีความสอดคลอง (IOC)
       2. คาความเที่ยง
       3. ความตรงตามเนื้อหา
       4. คาความถี่
       5. คารอยละ
       6. คาเฉลี่ย
       7. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
       8. คาต่ําสุดและคาสูงสุด
       9. คาพิสัย
11


21. จากบทคัดยองานวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา จงตอบคําถามตอไปนี้
         21.1 ใหทานเขียนคําถามวิจัย วัตถุประสงคการวิจัย ตัวแปร/ประเด็นที่ศึกษา และสถิติที่ใชใน
การวิเคราะหขอมูล
         คําถามวิจัย
         1. ปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษา และความตองการเกี่ยวกับระบบ
สงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทีมีอยูในปจจุบัน ตามทรรศนะของ
                                                                  ่
ผูบริหารสถานศึกษา ครูผสอน และบุคลากรในกลุมสงเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
                         ู
และกลุมงานสงเสริมคุณภาพการศึกษามีลักษณะอยางไร
         2. ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เหมาะสมและมี
ความเปนไปไดในการนําไปใช มีลกษณะอยางไร
                                ั
         3. ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา สามารถนําไปใชใน
                                                               ่
สถานการณจริง (สํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด) ไดหรือไม มีผลเปนอยางไร และ
                                   ่
ผลการประเมินระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษา ของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาเปนอยางไร
                                                                            ่

         วัตถุประสงคการวิจัย
         1. เพื่อศึกษาปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมคุณภาพการประกันคุณภาพการศึกษา และความตองการ
เกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาทีมีอยูในปจจุบัน
                                                                   ่        ่
ตามทรรศนะของผูบริหารสถานศึกษา ครูผสอน และบุคลากรในกลุมสงเสริมพัฒนาระบบการประกัน
                                          ู
คุณภาพการศึกษา และกลุมงานสงเสริมคุณภาพการศึกษา
         2. เพื่อออกแบบระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา
                                                                                  ่
         3. เพื่อทดลองใชและประเมินระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา

        ตัวแปร/ประเด็นที่ศึกษา
        ชุดที่ 1
        ตัวแปร
                 1 ปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
        การศึกษาในปจจุบัน จําแนกเปน 3 ดาน คือ
                        1) ดานปจจัย
                        2) ดานกระบวนการ
                        3) ดานผลผลิต
12


                   2 ความตองการเกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขต
         พื้นที่การศึกษา จําแนกเปน 3 ดาน คือ
                           1) ดานปจจัย
                           2) ดานกระบวนการ
                           3) ดานผลผลิต
         ประเด็นที่ศึกษา
                   การศึกษาปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมคุณภาพการประกันคุณภาพการศึกษา และความ
ตองการเกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาทีมีอยูใน
                                                                          ่         ่
ปจจุบัน ตามทรรศนะของผูบริหารสถานศึกษา ครูผสอน และบุคลากรในกลุมสงเสริมพัฒนาระบบการ
                                                ู
ประกันคุณภาพการศึกษา และกลุมงานสงเสริมคุณภาพการศึกษา
         ชุดที่ 2
         ตัวแปร
                   1. ความเหมาะสมและความเปนไปไดของระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
                   2. ความเหมาะสมของคูมอการพัฒนาระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
                                          ื
เขตพื้นที่การศึกษา และคูมือการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาสูมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา
                   3. การทดลองใชระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
         ประเด็นที่ศึกษา
                   การออกแบบระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา การรางคูมือการพัฒนาระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา
และคูมือการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาสูมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา

       ชุดที่ 3
       ตัวแปร
                  1) ตัวแปรทดลอง
                          * ตัวแปรอิสระ
                                  - กอนใชระบบฯ
                                  - หลังใชระบบฯ
                  2) ตัวแปรตาม
                          1. ผลผลิตของการใชระบบฯ
                          2. ผลการแตงตั้งคณะกรรมการฯ และ ผลการจัดประชุทสัมมนาฯ
13


                       3. ผลการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
                               - ความรูความเขาใจ
                               - เจตคติ
                               - คุณภาพของรายงานประจําป
              3) ตัวแปรประเมิน
                       - การใชประโยชน
                       - ความเปนไปได
                       - ความแมนยํา
       ประเด็นที่ศึกษา
              การทดลองใชระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
14


      21.2 จงเขียนแผนภาพการดําเนินการวิจัย ใหครอบคลุมประเด็น ขั้นตอน กิจกรรม ผลที่ไดรับ
จากการดําเนินงาน โดยอาศัยขอมูลจากบทคัดยอนี้


  ขั้นตอนที่ 1          จกรรม
                      กิจกรรม                                 ผลที่ไดรับจากการดําเนินงาน
                            การสํารวจปญหาเกี่ยวกับ                กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีและ
                      การสงเสริมการประกันคุณภาพ              ขอมูลเชิงประจักษเกี่ยวกับปญหา
                      การศึกษา และความตองการ                 และความตองการฯ นํามายกราง
                      เกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกัน          ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ
                      คุณภาพ                                  การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
                                                              การศึกษา


  ขั้นตอนที่ 2        กิจกรรม                                 ผลที่ไดรับจากการดําเนินงาน
                            พัฒนาระบบและคูมือการใช              รางระบบและรางคูมือการใช
                      ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ             ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ
                      การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่          การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
                      การศึกษาและการตรวจสอบความ               การศึกษา
                      เหมาะสมและความเปนไปไดของ
                      ระบบฯ โดยการสนทนากลุม                      ระบบสงเสริมการประกัน
                      ผูทรงคุณวุฒิ                           คุณภาพการศึกษาของสํานักงาน
                                                              เขตพื้นที่การศึกษา

  ขั้นตอนที่ 3        กิจกรรม                                 ผลที่ไดรับจากการดําเนินงาน
                          การทดลองใชและประเมิน                    ระบบสงเสริมการประกัน
                      ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ             คุณภาพการศึกษาของสํานักงาน
                      การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่          เขตพื้นที่การศึกษา ที่มีประสิทธิผล
                      การศึกษา                                เปนไปตามจุดมุงหมายของระบบฯ
                                                                              


                                                                  ระบบสงเสริมการประกัน
                                                              คุณภาพการศึกษาของสํานักงาน
                                                              เขตพื้นที่การศึกษา ที่มีคุณภาพ
                                                              สามารถนําไปใชไดจริง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดPrachyanun Nilsook
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยบทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยWeerachat Martluplao
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟายKruBeeKa
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1Prachyanun Nilsook
 

Mais procurados (19)

Research1
Research1Research1
Research1
 
ทักษะ
ทักษะทักษะ
ทักษะ
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิด
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยบทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1
 

Destaque

11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learningKruBeeKa
 
ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2
ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2
ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2Samorn Tara
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design modelsKruBeeKa
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกรSamorn Tara
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศKruBeeKa
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยง
ใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยงใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยง
ใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยงSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดีย
ใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดียใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดีย
ใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดียSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwSamorn Tara
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปKruBeeKa
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงSamorn Tara
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsแบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsSamorn Tara
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1Samorn Tara
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordSamorn Tara
 

Destaque (17)

11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2
ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2
ใบความรู้ที่ 2.15 ฟอร์ม-2
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
 
ใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยง
ใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยงใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยง
ใบความรู้ที่ 2.12 จุดเชื่อมโยง
 
ใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดีย
ใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดียใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดีย
ใบความรู้ที่ 2.10 ใส่มัลติมีเดีย
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียง
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
Lesson5 33
Lesson5 33Lesson5 33
Lesson5 33
 
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsแบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง1
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 

Semelhante a 07 final exam

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Khon Kaen University
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 

Semelhante a 07 final exam (20)

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 

Mais de KruBeeKa

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development modelKruBeeKa
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional designKruBeeKa
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-fullKruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 

Mais de KruBeeKa (11)

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 

07 final exam

  • 1. ** แนวการตอบ ** แบบทดสอบปลายภาค รายวิชา 390611 Advanced Research Methodology ชื่อ นางสาว วณิชชา แมนยํา วิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา รหัส 55030286 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คําชี้แจง ใหทานคิดทําวิจัยเกี่ยวกับขอความที่กําหนด 1 เรื่อง และใชเรื่องที่คิดประกอบการตอบคําถาม ขอ 1 ถึง 18 “การพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับผูบริหาร สถานศึกษา” 1. ขอความขางตนคืออะไร ตอบ เปน “ชื่อเรื่อง” 2. สภาพการณที่เปนปญหาเกี่ยวของกับขอความดังกลาวคืออะไร ตอบ จากการประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา 39 ใหกระทรวงศึกษาธิการกระจายอํานาจการบริหารและ การจัดการศึกษา ทั้ง 4 ดาน ไดแก ดานวิชาการ ดานงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดาน การบริหารงานทั่วไปใหกับสถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา ทั่วประเทศ นอกจากนี้ พระราชบัญญัตระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช2546 ิ มาตรา 44 บัญญัติใหสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาดังกลาวใหเปนไปตามเจตนารมณของการปฏิรูป การศึกษา และกําหนดใหสถานศึกษามีฐานะเปนนิตบุคคลเพื่อใหเกิดความเปนอิสระ คลองตัว สามารถ ิ บริหารและจัดการศึกษาไดอยางสะดวก รวดเร็ว ถูกตองและ มีประสิทธิภาพ ตลอดจนทําใหสถานศึกษามี อํานาจในการบริหารจัดการดวยตนเองมากขึ้น 3. งานวิจัยดังกลาว มีอะไรเปนตัวแปร ไดบาง ตอบ ตัวแปรตาม ไดแก สภาพการดําเนินงานตามหลักสูตร ตัวแปรตน ไดแก การบริหารจัดการโดย ใชสถานศึกษาเปนฐาน และการกระจายอํานาจการ บริหารและการจัดการศึกษา
  • 2. 2 4. ทานนิยามตัวแปรตามวาอยางไร ตอบ ตัวแปร คือ ลักษณะของขอมูลซึงแบงออกเปนพวกหรือเปนลําดับ สามารถเปลี่ยนแปลงคาไดหรือ ่ มีไดหลายคา 5. งานวิจัยที่คิดวาเปนงานวิจัยประเภทใด ตอบ งานวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 6. ควรเริ่มกระบวนการวิจัยอยางไรดี (ก หรือ ข หรือ ค) ก. คิดชื่อเรื่อง วัตถุประสงค คําถามวิจัย สมมติฐาน ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ ข. คิดชื่อเรื่อง ออกแบบการวิจัย คําถามวิจัย วัตถุประสงค สมมติฐาน ตามลําดับ ค. คิดคําถาม วัตถุประสงค สมมติฐาน ขอบเขตการวิจัย ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ ตอบ เลือกขอ ค. คิดคําถาม วัตถุประสงค สมมติฐาน ขอบเขตการวิจัย ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ เพราะ ผูวิจัยตองกําหนดขอความทีเ่ ปนปญหาและวัตถุประสงคในการวิจัยใหชัดเจน การกําหนด วัตถุประสงคในการวิจัยเปนการคนหาคําตอบที่ตองการจากงานวิจัย วิธีการกําหนดวัตถุประสงคที่นิยมใช ที่สุดคือการตั้งสมมติฐานในการวิจัย และเมื่อไดสมมุติฐาน แลวจึงกําหนดขอบเขตการดําเนินงานวิจัย และ ออกแบบการวิจัย ตามลําดับ 7. กรอบความคิดการวิจัยคืออะไร ตอบ กรอบเชิงทฤษฎีทลดรูปลงมาเพือใชสําหรับการวิจัยเรืองนั้นๆนั่นเอง กลาวคือ ในขณะที่กรอบเชิง ี่ ่ ่ ทฤษฎีนั้นไดแสดงใหเห็นถึงปจจัย หรือความสัมพันธของปจจัย หรือตัวแปรทังหมดที่เกี่ยวของสัมพันธกัน ้ กับปจจัย หรือตัวแปรตาม หรือปรากฏการณที่นักวิจัยตองการศึกษา ซึ่งปจจัยหรือตัวแปรทีกลาวนี้มาจาก ่ ทฤษฎีแนวคิดและผลงานวิจัยตางๆ แตเมื่อจะดําเนินงานวิจยนักวิจัยไดปรับลดตัวแปรบางตัวลง หรือทํา ั ใหตัวแปรบางตัวคงที่ แลวปรับกรอบเชิงทฤษฎีใหม จะไดเปนกรอบความคิดการวิจัยเพื่อใชสําหรับการ วิจัยเรื่องนั้นเทานั้น หากเปลี่ยนเรื่องดําเนินการวิจัยใหม โดยใชกรอบเชิงทฤษฎีอื่นก็ตองสรางกรอบ ความคิดการวิจัยใหมอกเชนกัน ี
  • 3. 3 8. งานวิจัยของทานมีกรอบความคิดการวิจัยเปนอยางไร ตอบ คุณลักษณะสําคัญ 6 ประการ เกี่ยวกับผูนําการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษา (Leaders of educational change) (สุเทพ : 2549) 1) ตองเปนผูมีวิสัยทัศน (Having vision) 2) มีความเชื่อวา “โรงเรียนมีไวเพื่อเปนสถานที่เรียนรู (Believing that the schools are for learning) 3) ตองใหคุณคาและความสําคัญของทรัพยากรมนุษย (Valuing human resources) 4) ตองมีทักษะที่ดีของการเปน “นักสื่อสารและนักฟง” ที่มีประสิทธิผล (Being a skill communicators and listener) 5) ตองแสดงพฤติกรรมเชิงรุก (Acting proactively) 6) ตองกลาที่จะเสี่ยง (Taking risks) รูปแบบการพัฒนาผูนํา การเปลี่ยนแปลงเพื่อ รองรับการกระจายอํานาจ รูปแบบการกระจายอํานาจทางการศึกษา (ประกอบ คุปรัตน. 2536 : 2-4) 1. การแบงอํานาจ (Deconcentration) 2. การใหอํานาจอิสระ (Delegation) 3. การมอบอํานาจใหแกทองถิ่นอยางเต็มที่ (Devolution) 4. การใหเอกชน/องคกรเอกชนดําเนินการ (Privatition or non-government institutions) 5. การปรับโครงสรางขององคการ (Restructuring) 6. การใชกระบวนการทางประชาธิปไตย (Democratization)
  • 4. 4 9. ประชากรในงานวิจัยเปนอะไร และกลุมตัวอยางเปนอะไร  ตอบ ประชากร คือ ผูบริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กลุมตัวอยาง คือ ผูบริหารสถานศึกษาโรงเรียนที่ไดคัดเลือกตามเกณฑที่ กําหนดจากสํานักงาน  เขตพื้นที่การศึกษาใหเปนสถานศึกษาทีรองรับการกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ่ 10. ทานคนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของในชวงใดของกระบวนการวิจัยบาง ตอบ 1. ชวงเลือกหัวขอปญหา 2. การกําหนดปญหาการวิจัย 3. ชวงของการตั้งสมมุติฐาน 4. ชวงขั้นตอนการกําหนดความเปนมาและความสําคัญของปญหา 5. ชวงขั้นตอนการกําหนดขอบเขตการวิจัย 6. ชวงขั้นตอนการนิยามศัพทเฉพาะ 7. ชวงขั้นตอนการออกแบบการวิจัย 8. ชวงของการสรุปผลและอภิปรายผล 9. ชวงของการใหขอเสนอแนะการวิจัย 11. ทานคนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่ออะไรบาง ตอบ 1. เปนการตรวจสอบวาหัวขอทีเ่ ราจะทําวิจัยนั้นมีผูอื่นเคยทําวิจัยมาแลวหรือยัง หลังจาก ทบทวนเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของแลว อาจมีการปรับปรุงหัวขอวิจัยใหรัดกุมมากยิ่งขึ้น การกําหนด ปญหาการวิจัยที่กําหนดไวเดิม อาจยังมีขอบเขตไมครอบคลุมมากพอ หลังจากทบทวนเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวของแลว อาจมีการปรับปรุงการกําหนดปญหาการวิจัยใหรัดกุมมากยิงขึ้น่ 2. การศึกษาเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวของจะทําใหตั้งสมมุติฐานในการวิจัยไดถูกตอง เพราะ ั การตั้งสมมุติฐานในการวิจัยนั้นตองอาศัยขอมูล ขอคนพบและผลการวิจัยกอนๆ มาสนับสนุน เปน การศึกษาขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับหัวขอวิจัย ที่ปรากฏอยูในรูปเอกสารหลักฐานเพื่อนํามาชี้ใหเห็นถึง สภาพปญหาทีเ่ กิดขึ้น และเห็นถึงความสําคัญของการทําวิจย ั 3. การกําหนดตัวแปรการวิจัย กําหนดประชากร กลุมตัวอยางและวิธีการสุมกลุมตัวอยาง เพราะ อาจมีการกําหนดขนาดกลุมตัวอยางและวิธีการสุมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น เปนตน 4. ตองศึกษานิยามคําศัพทที่สําคัญเพื่อสื่อสารใหตรงกันระหวางผูทําวิจัยและผูอาน ซึ่งตองศึกษา  จากเอกสารทีเ่ กี่ยวของ
  • 5. 5 5. ตองทราบรายละเอียดและวางแผนเกี่ยวกับเรื่องตอไปนี้ เชน เครื่องมือที่ใช วิธีการสราง เครื่องมือ วิธีดําเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล เปนตน เพื่อออกแบบการวิจัยให เหมาะสมและสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย 6. เนื่องจากการอภิปรายผลการวิจัยจําเปนตองอธิบายถึงผลที่ไดจากการวิจัย บอกถึงสาเหตุททํา ี่ ใหเกิดผลเชนนั้น ซึ่งตองอาศัยหลักการทฤษฎีเขามาสนับสนุนการอภิปรายเพื่อใหเกิดความชัดเจน ถูกตอง และนาเชื่อถือ 7. อาจตองศึกษางานวิจัยที่ผานมาวา มีการทําวิจัยในประเด็นใดไปแลวบาง ประเด็นใดยังไมมีใคร ทํา เปนตน 12. ทานจะมีสมมติฐานหรือไม ถาไมมี เพราะอะไร ถามีมวาอยางไร ี ตอบ มีสมมุติฐาน ดังนี้ 1. ผูบริหารสถานศึกษาที่เขารับการฝกอบรมดวยรูปแบบการฝกอบรมผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อ รองรับการกระจายอํานาจ มีภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงเพิมมากขึ้น ่ 2. ผูบริหารสถานศึกษาที่เขารับการฝกอบรมดวยรูปแบบการฝกอบรมผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อ รองรับการกระจายอํานาจ มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก 13. ทานใชเครื่องมืออะไรบาง และเครื่องมือมีลักษณะอยางไร ตอบ ขั้นพัฒนารูปแบบฯ 1. แบบสัมภาษณผทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบการฝกอบรมฯ เปนแบบ ู สัมภาษณแบบมีโครงสราง 2. แบบประเมินความเหมาะสมและความเปนไปไดของรูปแบบการฝกอบรมสําหรับผูทรงคุณวุฒิ เปนแบบประเมินคา 5 ระดับ เปนแบบปลายเปด ขั้นทดลองใชรปแบบฯ ู 1. แบบประเมินตนเอง แบบประเมินคา 5 ระดับ 2. แบบสอบถามความพึงพอใจของผูบริหารทีมีตอการฝกอบรมดวยรูปแบบการฝกอบรมผูนําการ  ่ เปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ ขั้นตอนการรับรองรูปแบบฯ 1. แบบสัมภาษณผทรงคุณวุฒิ เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ เปนแบบสัมภาษณแบบมี ู โครงสราง
  • 6. 6 14. ขอมูลที่เก็บไดจากเครื่องมือ คืออะไรบาง ตอบ 1. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของผูทรงวุฒิเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบฝกอบรมฯ  2. ระดับความเหมาะสมของรูปแบบฯ 3. ระดับการประเมินของตนเองของผูบริหารสถานศึกษา  4. ขอมูลพื้นฐาน และระดับความพึงพอใจ และขอเสนอแนะเพิ่มเติม ของผูบริหารสถานศึกษา  5. ความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒที่มีตอรูปแบบการฝกอบรมฯ  ิ 15. ขอมูลนั้นวัดไดในระดับใดบาง ตอบ มาตราการวัดแบงออกเปน 4 ระดับ คือ 1. มาตราการวัดระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) เปนระดับที่ใชจําแนกความแตกตางของสิง ่ ที่ตองการวัดออกเปนกลุมๆ โดยใชตัวเลข เชน ตัวแปรเพศ ตําแหนงหนาที่ 2. มาตราการวัดระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) เปนระดับที่ใชสําหรับจัดอันดับทีหรือ ่ ตําแหนงของสิ่งที่ตองการวัด เชน ลําดับความเหมาะสมของรูปแบบฯ  3. มาตราการวัดระดับชวง (Interval Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขโดยมีชวงหาง ระหวางตัวเลขเทา ๆ กัน สามารถนําตัวเลขมาเปรียบเทียบกันไดวาวามีปริมาณมากนอยเทาใด แตไม สามารถบอกไดวาเปนกี่เทาของกันและกัน เชน ระดับการประเมินตนเองของผูบริหาร 4. มาตราการวัดระดับอัตราสวน (Ratio Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขใหกบสิงที่ ั ่ ตองการวัด เชน ระดับความพึงพอใจของผูบริหาร 16. ทานเก็บขอมูลอยางไร ตอบ 1. สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบฯ เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการ พัฒนารูปแบบ 2. สรางรางรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับ ผูบริหารการศึกษา 3. นํารางรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับผูบริหาร การศึกษา ทดลองใชกับผูบริหารการศึกษา และเปรียบเทียบผลการเรียนรูระหวางผูใชงานและผูไมใชงาน  4. จัดทําแบบประเมินรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ สําหรับผูบริหารการศึกษา และใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบแลวใหผูบริหารสถานศึกษาประเมิน
  • 7. 7 17. วิเคราะหขอมูลอยางไร ตอบ 1. ใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) สําหรับ รูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลง  เพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับผูบริหารการศึกษาจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญนั้น 2. ใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คารอยละ การวิเคราะหแบบการประเมินคามาตราสวน สําหรับ ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสําหรับ ผูบริหารการศึกษา 18. ถาขอคนพบขัดแยงกับสมมติฐานการวิจัย ทานจะทําอยางไร เพราะอะไร ตอบ สมมติฐานในการวิจัย คือ ขอความที่คาดคะเนคําตอบของงานวิจัยไวลวงหนา เปนการคาดเดาวา ผลการวิจัยของปญหานั้นๆจะออกมาในลักษณะใด อาจเปนการคาดคะเนขอสรุปที่ยังไมคงที่แตอาจมี ความจริง หรือคาดคะเนสถานการณบางอยางที่มีความสัมพันธกัน ถาขอคนพบขัดแยงกับสมมติฐานการวิจัย ไมไดหมายความวาเปนสมมติฐานที่ไมมีประโยชน สมมติฐานที่ปฏิเสธ อาจจะชวยแนะนํานักวิจัยใหสนใจขอเท็จจริง หรือความสัมพันธระหวางขอเท็จจริง บางอยางที่ไมไดคาดหมายไวก็ได ดังนั้น ผูวิจัยจึงตองมีการสรุปผลการวิจัย อยางเปนกลาง จึงจะทําให งานวิจัยออกมานาเชื่อถือ 19. การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมี วัตถุประสงคการวิจัย 4 ขอ คือ 1. เพื่อวิเคราะหองคประกอบในการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อสรางรูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. เพื่อทดลองใช รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 4. เพื่อประเมินรูปแบบการวางแผนกล ยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัย พบวา 1. รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบดวย 7 องคประกอบ 2. รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อไปทดลองใชในสถานการณ จริง พบวา โรงเรียนสามารถปฏิบัติตามรูปแบบที่กําหนดไวอยางเปนรูปธรรม และผูเกี่ยวของมีความ พึงพอใจ 3. รูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นมีความเปนประโยชน ความเปนไปได ความเหมาะสม และความถูกตอง ควบคลุมอยูในระดับมาก จากขอความขางตน ขอใหทานเขียนวัตถุประสงคการวิจัย ประเด็นที่ศึกษา เครื่องมือที่ใชใน การเก็บขอมูล และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ใหสอดคลองกัน
  • 8. 8 ตอบ สามารถเขียน วัตถุประสงคการวิจัย ประเด็นที่ศึกษา เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล และสถิติที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล ไดดังนี้ วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อวิเคราะหองคประกอบในการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อสรางรูปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. เพื่อทดลองใชรปแบบการวางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ู 4. เพื่อประเมินรูปแบบการวางกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพืนฐาน้ ประเด็นที่ศึกษา 1. การวางแผน 2. กลยุทธ การวางแผนกลยุทธ 3. กระบวนการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ 4. กระบวนการตัดสินใจเชิงกลยุทธ 5. มาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 1. แบบสอบถามความคิดเห็นของผูบริหารสถานศึกษาที่มีตอองคประกอบของการ   วางแผนกลยุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การนําคูมือการดําเนินงานฯ มาทดลองปฏิบัตจริง ในการวางแผนกลยุทธของ ิ สถานศึกษา 3. แบบสอบถามความคิดเห็นที่ผูวจัยสรางขึ้น ประเมิน 4 มาตรฐาน คือ 1)ความเปน ิ ประโยชน 2)ความเปนไปได 3)ความเหมาะสม 4)ความถูกตองครอบคลุม 4. แบบประเมินรูปแบบ มาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. คามัชฌิมเลขคณิต (Mean : ) 2. คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD ) 3. คา t-test
  • 9. 9 20. การวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ขอใหทานออกแบบการวิจัย ในลักษณะของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีประเด็นตอไปนี้ 20.1 คําถามวิจัย 1. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีองคประกอบ อะไรบาง 2. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีลักษณะอยางไร 3. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่พฒนาขึ้น ั สามารถนําไปใชเหมาะสมเพียงใด 4. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่พฒนาขึ้นเมื่อ ั นําไปใชแลวมีผลเปนอยางไร 20.2 วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาองคประกอบของรูปแบบการประเมินการปฏิบติงานของสํานักงานเขตพื้นที่ ั การศึกษา 2. เพื่อสรางรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. เพื่อทดลองใชรปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา ู ่ 4. เพื่อประเมินรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 20.3 ประเด็นที่ศึกษา 1. องคประกอบในการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2. รูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 20.4 แหลงขอมูล 1. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ 2. ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. หัวหนากลุมในสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา  ่ 4. ผูบริหารสถานศึกษา 5. ครูผูสอน 6. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 7. ศึกษานิเทศก
  • 10. 10 20.5 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบการประเมินการ ปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา ่ 2. แบบสอบถามเพื่อตรวจสอบรูปแบบการประเมินการปฏิบติงานของสํานักงานเขต ั พื้นที่การศึกษา 3. แบบสอบถามเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของคูมอการประเมินการปฏิบัตงานของ ื ิ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ 4. คูมือการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 5. แบบสอบถามประเมินการปฏิบัตงานของสํานักงานเขตพืนที่การศึกษา แบบมาตรา ิ ้ สวนประมาณคา 5 ระดับ 6. แบบสอบถามเพื่อประเมินความเปนประโยชน ความเปนไปได ความเหมาะสม และ ความถูกตองครอบคลุมของรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษา แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ และขอคําถามเสนอแนะ เพิ่มเติม แบบปลายเปด 20.6 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) 2. คาความเที่ยง 3. ความตรงตามเนื้อหา 4. คาความถี่ 5. คารอยละ 6. คาเฉลี่ย 7. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8. คาต่ําสุดและคาสูงสุด 9. คาพิสัย
  • 11. 11 21. จากบทคัดยองานวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา จงตอบคําถามตอไปนี้ 21.1 ใหทานเขียนคําถามวิจัย วัตถุประสงคการวิจัย ตัวแปร/ประเด็นที่ศึกษา และสถิติที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล คําถามวิจัย 1. ปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษา และความตองการเกี่ยวกับระบบ สงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทีมีอยูในปจจุบัน ตามทรรศนะของ ่ ผูบริหารสถานศึกษา ครูผสอน และบุคลากรในกลุมสงเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ู และกลุมงานสงเสริมคุณภาพการศึกษามีลักษณะอยางไร 2. ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เหมาะสมและมี ความเปนไปไดในการนําไปใช มีลกษณะอยางไร ั 3. ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา สามารถนําไปใชใน ่ สถานการณจริง (สํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด) ไดหรือไม มีผลเปนอยางไร และ ่ ผลการประเมินระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษา ของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาเปนอยางไร ่ วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมคุณภาพการประกันคุณภาพการศึกษา และความตองการ เกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาทีมีอยูในปจจุบัน ่ ่ ตามทรรศนะของผูบริหารสถานศึกษา ครูผสอน และบุคลากรในกลุมสงเสริมพัฒนาระบบการประกัน ู คุณภาพการศึกษา และกลุมงานสงเสริมคุณภาพการศึกษา 2. เพื่อออกแบบระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา ่ 3. เพื่อทดลองใชและประเมินระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ตัวแปร/ประเด็นที่ศึกษา ชุดที่ 1 ตัวแปร 1 ปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในปจจุบัน จําแนกเปน 3 ดาน คือ 1) ดานปจจัย 2) ดานกระบวนการ 3) ดานผลผลิต
  • 12. 12 2 ความตองการเกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษา จําแนกเปน 3 ดาน คือ 1) ดานปจจัย 2) ดานกระบวนการ 3) ดานผลผลิต ประเด็นที่ศึกษา การศึกษาปญหาเกี่ยวกับการสงเสริมคุณภาพการประกันคุณภาพการศึกษา และความ ตองการเกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาทีมีอยูใน ่ ่ ปจจุบัน ตามทรรศนะของผูบริหารสถานศึกษา ครูผสอน และบุคลากรในกลุมสงเสริมพัฒนาระบบการ  ู ประกันคุณภาพการศึกษา และกลุมงานสงเสริมคุณภาพการศึกษา ชุดที่ 2 ตัวแปร 1. ความเหมาะสมและความเปนไปไดของระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 2. ความเหมาะสมของคูมอการพัฒนาระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับ ื เขตพื้นที่การศึกษา และคูมือการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาสูมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา 3. การทดลองใชระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ประเด็นที่ศึกษา การออกแบบระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา การรางคูมือการพัฒนาระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา และคูมือการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาสูมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ชุดที่ 3 ตัวแปร 1) ตัวแปรทดลอง * ตัวแปรอิสระ - กอนใชระบบฯ - หลังใชระบบฯ 2) ตัวแปรตาม 1. ผลผลิตของการใชระบบฯ 2. ผลการแตงตั้งคณะกรรมการฯ และ ผลการจัดประชุทสัมมนาฯ
  • 13. 13 3. ผลการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา - ความรูความเขาใจ - เจตคติ - คุณภาพของรายงานประจําป 3) ตัวแปรประเมิน - การใชประโยชน - ความเปนไปได - ความแมนยํา ประเด็นที่ศึกษา การทดลองใชระบบสงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา
  • 14. 14 21.2 จงเขียนแผนภาพการดําเนินการวิจัย ใหครอบคลุมประเด็น ขั้นตอน กิจกรรม ผลที่ไดรับ จากการดําเนินงาน โดยอาศัยขอมูลจากบทคัดยอนี้ ขั้นตอนที่ 1 จกรรม กิจกรรม ผลที่ไดรับจากการดําเนินงาน การสํารวจปญหาเกี่ยวกับ กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีและ การสงเสริมการประกันคุณภาพ ขอมูลเชิงประจักษเกี่ยวกับปญหา การศึกษา และความตองการ และความตองการฯ นํามายกราง เกี่ยวกับระบบสงเสริมการประกัน ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ คุณภาพ การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ขั้นตอนที่ 2 กิจกรรม ผลที่ไดรับจากการดําเนินงาน พัฒนาระบบและคูมือการใช รางระบบและรางคูมือการใช ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและการตรวจสอบความ การศึกษา เหมาะสมและความเปนไปไดของ ระบบฯ โดยการสนทนากลุม ระบบสงเสริมการประกัน ผูทรงคุณวุฒิ คุณภาพการศึกษาของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ขั้นตอนที่ 3 กิจกรรม ผลที่ไดรับจากการดําเนินงาน การทดลองใชและประเมิน ระบบสงเสริมการประกัน ระบบสงเสริมการประกันคุณภาพ คุณภาพการศึกษาของสํานักงาน การศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่ เขตพื้นที่การศึกษา ที่มีประสิทธิผล การศึกษา เปนไปตามจุดมุงหมายของระบบฯ  ระบบสงเสริมการประกัน คุณภาพการศึกษาของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ที่มีคุณภาพ สามารถนําไปใชไดจริง