SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
โครงงานคณิตศาสตร์
เรื่อง สารวจความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ นปี การศึกษา 2554
เกียวกับอาหารพืนเมืองที่นักเรียนชอบรับประทาน
่
้

โดยกลุ่ม smile Buffalo ชั้น ม.2
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
นายสายัณห์ อินปั๋น
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบ้ านหนองตอง
สารบัญ
หน้า
ประกาศคุณูปการ

ก

บทคัดย่อ

ข

บทนํา

1

ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เนื้อหาทางคณิ ตศาสตร์ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
วิธีดาเนินการ
ํ
ผลการศึกษาค้นคว้า
สรุ ปและข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างอิง
ผูจดทํา
้ั
ภาคผนวก
ประกาศคุณูปการ
โครงงานเรื่ อง สํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปี การศึกษา 2554
โรงเรี ยนบ้านหนองตอง เกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบรับประทาน สําเร็ จได้ดวยดีเพราะได้รับความ
ั
้
อนุเคราะห์จาก คุณครู สายัณห์ อินปั๋ น ที่ได้ให้คาปรึ กษาและแนะนําในการทําโครงงาน และคุณครู ประจํา
ํ
ห้องปฏิบติการคอมพิวเตอร์ ที่ให้ความกรุ ณาอํานวยความสะดวกในการทําโครงงาน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
ั
ํ
1-3 ที่ได้ตอบแบบสอบถาม ท่านผูปกครองของนักเรี ยนในกลุ่มของผูจดทําทุกท่าน ที่คอยให้กาลังใจและ
้
้ั
อนุญาตให้มาทําโครงงานนอกเวลาเรี ยนปกติ ผูอานวยการโรงเรี ยนบ้านหนองตอง ที่ให้การสนับสนุนการทํา
้ํ
โครงงานครั้งนี้ คณะผูจดทําจึงขอขอบพระคุณบุคคลที่กล่าวมาในข้างต้นนี้ ดวย
้ั
้
ผูจดทํา
้ั
ชื่อโครงงานคณิ ตศาสตร์ สํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปี การศึกษา 2554โรงเรี ยน
บ้านหนองตอง เกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบรับประทาน
ั
ผูจดทํา
้ั

เด็กหญิง เกศแก้ว ใบศรี
เด็กชาย ชัยมงคล คําลือ
เด็กชาย วรกันต์ พวันนา
เด็กชาย เกริ กฤทธิ์ พันทอง
เด็กชาย ธิวา นวลอินทร์
เด็กหญิง ณัฐธิดา ไชยปัน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

ครู ที่ปรึ กษา

นายสายัณห์ อินปั๋ น โรงเรี ยนบ้านหนองตอง
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4.

บทคัดย่ อ
วัตถุประสงค์

เพื่อสํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมตอนต้นเกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบ
ั

รับประทาน เพื่อที่จะทราบว่านักเรี ยนชอบอาหารประเภทนั้น ๆ มากน้อยเพียงใด
ลักษณะของโครงงาน โครงงานประเภทสํารวจ
วิธีการทาโครงงาน เริ่ มที่การประชุมวางแผนทําโครงงาน เสนอเค้าโครง กําหนดประชากรที่จะศึกษา ทํา
ปฏิทินการทํางาน สร้างเครื่ องมือในการเก็บข้อมูล กําหนดวิธีการเก็บข้อมูล สอบถามข้อมูลจากนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 โรงเรี ยนบ้านหนองตอง นําข้อมูลมาวิเคราะห์สรุ ปผลอภิปรายผลการทําโครงงาน นําเสนอ
ข้อมูลต่อที่ประชุมนักเรี ยนและครู ที่ปรึ กษา
สาระสาคัญของผลการทาโครงงาน จากการวิเคราะห์และสรุ ปผลข้อมูล พบว่าอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบ
ั
รับประทานมากที่สุดคือ ขนม เช่น ขนมจ๊อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู และมีอีกประเภท
คือ ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี และที่ชอบแบบปานกลางคือประเภทแกง เช่น แกงแค
่
แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล และประเภท นึ่ ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง ส่ วนประเภทที่
รับประทานกันน้อยมาก คือประเภทอ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม และประเภทที่นกเรี ยนไม่
ั
รับประทานกันเลยคือ เคี่ยวและหมักดอง ประเภทเคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง ประเภทหมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ
่
ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ เป็ นต้น
่
บทนา
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน
่
่
ประชากรที่อาศัยอยูในจังหวัดเชียงใหม่ หรื อ คนเมืองล้านนา จะนิยมรับประทานอาหาร
พื้นบ้านล้านนา (ของกินพื้นเมือง) ซึ่ งมีมากมายหลายอย่าง เช่น แกง คัว เคี่ยว จอ ตํา ยํา นํ้าพริ ก นึ่ง ปิ้ ง ย่าง ทอด
่
มอบ ลาบ ส้า หมักดอง อ็อก ฮุ่ม/อุก แอ็บ เป็ นต้น อาหารพื้นเมืองนอกจากจะมีรสชาติอร่ อยและยังให้คุณค่าทาง
๊
โภชนาการที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย ทําให้พวกเรามีความสนใจในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับความนิยมในการ
รับประทานอาหารประเภทต่างๆ ของนักเรี ยนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรี ยนบ้านหนองตองประจําปี
การศึกษา 2554 ในการดําเนินการสํารวจข้อมูลและการสรุ ปผลพวกเราได้ใช้หลักการทางคณิ ตศาสตร์ซ่ ึง
สามารถเชื่อถือได้ พวกเราเห็นว่าจากผลการวิเคราะห์ขอมูลสามารถนํามาประกอบการดําเนินงาน เช่น กิจกรรม
้
อาหารกลางวันในโรงเรี ยน และเป็ นข้อมูลเบื้องต้นในการประกอบอาชีพขายอาหารของผูที่สนใจในอาชีพนี้
้
วัตถุประสงค์ ของการศึกษาค้ นคว้ า
1. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมตอนต้นเกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบ
ั
2.เพื่อที่จะทราบว่านักเรี ยนชอบอาหารประเภทนั้น ๆ มากน้อยเพียงใด
ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
่
ั
ผูจดทําโครงงานได้ทราบและเผยแพร่ ความรู ้ที่ได้กบบุคลอื่นๆ เกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนใน
้ั
ั
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรี ยนบ้านหนองตองที่ชอบรับประทาน ประเภทของอาหารพื้นเมือง
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การนําข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติ การสรุ ปผลจากการวิเคราะห์ขอมูล
้
เนือหาทางคณิตศาสตร์ และเอกสารที่เกียวข้ อง
้
่
1. การคิดคํานวณพื้นฐานทางคณิ ตศาสตร์ การบวก การลบ การคูณ การหาร
2. สถิติ เกี่ยวกับวิธีการออกแบบตารางการเก็บข้อมูล แบบสอบถาม การทําตารางสรุ ปข้อมูล การใช้
ค่าเฉลี่ย การอ่านและสรุ ปผลจากตารางข้อมูลทางสถิติ
3. เอกสารการการสอนแบบโครงงานคณิ ตศาสตร์ ของครู ที่ปรึ กษาโครงงาน
วิธีดาเนินการ
1.สมาชิกร่ วมกันประชุมเพื่อปรึ กษาและร่ วมกันวางแผนทําโครงงาน สํารวจความคิดเห็น เสนอเค้า
โครงของโครงงานต่อครู ที่ปรึ กษา
2.กําหนดประชากรกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามกับนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นจํานวน 20 คน จัดทําตารางดําเนินงาน
3. การสร้างเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ นแบบสอบถามจํานวน 20 ชุดๆละ 20 ข้อ
ั
4.กําหนดวิธีการออกเก็บข้อมูลและแบ่งหน้าที่กนก่อนออกเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม
5.การนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามหลักวิชาการ โดยให้ครู ที่ปรึ กษาคอยให้คาแนะนํา ให้ขอเสนอแนะ
ํ
้
ในส่ วนที่ยงไม่สมบูรณ์หรื อขาดหายไป
ั
6.สรุ ปผลการทําโครงงาน นําเสนอผลงานต่อที่ประชุมนักเรี ยนและครู ที่ปรึ กษา เพื่อตรวจสอบความ
น่าเชื่อถือความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วจัดทํารู ปเล่มโครงงาน 1 เล่ม ส่ งครู ที่ปรึ กษาประจําวิชาคณิ ตศาสตร์ ช้ น
ั
มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ผลการศึกษาค้นคว้า
1.อาหารพื้นเมืองประเภทแกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล นักเรี ยนชอบ
รับประทานมากมีจานวน 5 คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 12 คน ชอบรับประทานน้อยจํานวน 3
ํ
คน
2. อาหารประเภทคัว เช่น คัวมะเขือใส่ ถวฝักยาว คัวลาบ คัวถัวลิสง นักเรี ยนชอบรับประทาฯมาก 8
ั่
่
่
่
่ ่
คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 7 คน ชอบรับประทานน้อยจํานวน 5 คน
3. อาหารประเภทเคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 3 คน ชอบ
ํ
รับประทานระดับปานกลางจํานวน 2 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 10 คน ไม่ชอบรับประทานจํานวน
5 คน
4. อาหารประเภทจอ เช่น ผักกาดจอ ผักกูดจอ ผักบุงจอ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 6 คน
้
ํ
ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 6 คน
5. อาหารประเภทตํา เช่น ตําบ่าหนุน ตําบ่าขาม ตํามะเขือ ตําจิ๊น นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
จํานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 4 คน
6. อาหารประเภทยํา เช่น ยําจิ๊นไก่ ยําจิ๊นแห้ง ยําผัดเฮือด ยําเตา นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
จํานวน 1 คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 7 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 2 คน
7.อาหารประเภทนํ้าพริ ก เช่น นํ้าพริ กอ่อง นํ้าพริ กหนุ่ม นํ้าพริ กกบ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
จํานวน 9 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 6 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 5 คน
ํ
8.อาหารประเภทนึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
จํานวน 8 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 12 คน
ํ
9.อาหารประเภทปิ้ ง เช่น ปลาปิ้ ง ไก่ปิ้ง กบปิ้ ง จิ๊นปิ้ ง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
จํานวน 6 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 6 คน
ํ
10.อาหารย่าง เช่น ไส้อว จิ๊นย่าง เครื่ องในย่าง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
ั่
จํานวน 9 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 9 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 2 คน
ํ
11.อาหารทอด เช่น แคบหมู หนังปอง แคบไข นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
จํานวน 8 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 10 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 2 คน
ํ
12.อาหารประเภทมอบ เช่น มอบปู นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 2 คน นักเรี ยนชอบ
ํ
รับประทานปานกลางมีจานวน 5 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 10 คน นักเรี ยนไม่ชอบรับประทาน
ํ
จํานวน 3 คน
13.อาหารประเภทลาบ เช่น ลาบไก่ ลาบวัว ลาบควาย ลาบหมู ลาบปลา นักเรี ยนชอบรับประทาน
มากมีจานวน 6 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 9 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 5 คน
ํ
ํ
14.อาหารประเภทส้า เช่น ส้าผัก ส้ายอดมะม่วง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 2 คน
ํ
นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 4 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 12 คน นักเรี ยนไม่ชอบ
ํ
รับประทานจํานวน 2 คน
15.อาหารประเภทหมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
่
่
จํานวน 3 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 3 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 9 คน
ํ
นักเรี ยนไม่ชอบรับประทานจํานวน 5 คน
16.อาหารประเภทอ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมี
จํานวน 3 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 14 คน นักเรี ยนไม่ชอบรับประทานจํานวน 3 คน
17.อาหารประเภทฮุ่ม/อุก เช่น จิ๊นฮุ่ม อุกไก่ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 6 คน นักเรี ยน
๊
๊
ํ
ชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 5 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 7 คน นักเรี ยนไม่ชอบรับประทาน
ํ
จํานวน 2 คน
้
18.อาหารประเภทแอ็บ เช่น แอ็บปลา แอ็บกุง แอ็บอี่ฮวก แอ็บอ่องออ นักเรี ยนชอบรับประทานมาก
มีจานวน 2 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 10 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 7 คน
ํ
ํ
นักเรี ยนไม่ชอบรับประทานจํานวน 1 คน
19.อาหารประเภทขนม เช่น ขนมจ็อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู
นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 13 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 7 คน
ํ
ํ
20.อาหารประเภทของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี
่
จํานวน 13 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 7 คน
ํ
สรุปและข้ อเสนอแนะ
1. สรุ ปผลการศึกษา
จากการวิเคราะห์และสรุ ปผลตามข้อมูลที่สารวจมา พบว่า อาหารพื้นเมืองล้านนาที่นกเรี ยนชอบ
ํ
ั
รับประทานมากที่สุดคือ ขนม เช่น ขนมจ๊อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู และมีอีกประเภท
คือ ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี โดยคิดเป็ นอัตราส่ วนประเภทละ 13/20 คน หรื อร้อยละ
่
65 และที่ชอบระดับปานกลางคือประเภทแกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล และ
ประเภท นึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง คิดเป็ นอัตราส่ วนประเภทละ 12/20 คน หรื อร้อยละ 60 ส่ วน
ประเภทที่รับประทานกันน้อยมาก คือประเภทอ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม คิดเป็ นอัตราส่ วน 14/20
คน หรื อร้อยละ 70 และประเภทที่นกเรี ยนไม่รับประทานกันเลยคือ เคี่ยวและหมักดอง ประเภทเคี่ยว เช่น นํ้าปู๋
ั
นํ้าเหมี้ยง ประเภทหมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ คิดเป็ นอัตราส่ วน คิดเป็ นอัตราส่ วนประเภท
่
่
ละ 5/20 คน หรื อร้อยละ 25
2. ข้ อเสนอแนะ
การจัดทําโครงงานนี้คณะของผูจดทําได้เกิดการเรี ยนรู ้จากการได้สอบถามข้อมูลจากบุคคลอื่น การ
้ั
ข้อมูลมาวิเคราะห์ผล มีการสรุ ปผลให้เห็นความนิยมรับประทานอาหารประเภทต่างๆ สามารถนําผลจากการ
ั
ค้นคว้าโดยโครงงานครั้งนี้มาเป็ นองค์ความรู ้ที่จะนําไปเผยแพร่ กบคนอื่นได้ ขอให้คณะผูจดทําได้นา
้ั
ํ
ประสบการณ์ในการหาความรู้โดยใช้โครงงานนี้ไปพัฒนาตนเองในการศึกษาต่อไป
เอกสารอ้างอิง
สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 1 โครงงานคณิตศาสตร์
ทีควรจา. เชียงใหม่.
่
สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 2 วัฒนธรรมพืนบ้ านคน
้
ล้านนา. เชียงใหม่.
สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 3 มุ่งนาพาสู่ การปฏิบัติ.
เชียงใหม่.
สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 4 การเขียนรายงานจัดทา
นาเสนอ. เชียงใหม่.
ตารางแสดงความชอบรับประทานพืนเมืองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้ น โรงเรียนบ้ านหนองตอง
้
ประเภท

ระดับความชอบ/คน
3

2

1

0

1. แกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา
แกงฮังเล
2. คัว เช่น คัวมะเขือใส่ ถวฝักยาว คัวลาบ คัวถัว
ั่
่
่
่
่ ่
ลิสง
3. เคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง

5

12

3

-

8

7

5

-

3

2

10

5

4. จอ เช่น ผักกาดจอ ผักกูดจอ ผักบุงจอ
้

6

8

6

-

5. ตํา เช่น ตําบ่าหนุ น ตําบ่าขาม ตํามะเขือ ตําจิ๊น

8

8

4

-

6. ยํา เช่น ยําจิ๊นไก่ ยําจิ๊นแห้ง ยําผัดเฮือด ยําเตา

11

7

2

-

7. นํ้าพริ ก เช่น นํ้าพริ กอ่อง นํ้าพริ กหนุ่ม นํ้าพริ ก
กบ
8. นึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง

9

6

5

-

8

12

9. ปิ้ ง เช่น ปลาปิ้ ง ไก่ปิ้ง กบปิ้ ง จิ๊นปิ้ ง

6

8

6

-

10. ย่าง เช่น ไส้อว จิ๊นย่าง เครื่ องในย่าง
ั่

9

9

2

-

11. ทอด เช่น แคบหมู หนังปอง แคบไข

8

10

2

-

12.มอบ เช่น มอบปู

2

5

10

3

13. ลาบ เช่น ลาบไก่ ลาบวัว ลาบควาย ลาบหมู
ลาบปลา
14.ส้า เช่น ส้าผัก ส้ายอดมะม่วง

6

9

5

-

2

4

12

2

-
15. หมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่
่
่

3

3

9

5

16. อ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม

-

3

14

3

17. ฮุ่ม/อุก เช่น จิ๊นฮุ่ม อุกไก่
๊
๊

6

5

7

2

้
18. แอ็บ เช่น แอ็บปลา แอ็บกุง แอ็บอี่ฮวก แอ็บ
อ่องออ
19. ขนม เช่น ขนมจ็อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้ม
กล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู
20. ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าว
่
สาลี

2

10

7

1

13

7

-

-

13

7

-

-
ภาคผนวก
แบบสอบถาม
แบบสํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 ปี การศึกษา 2554
โรงเรี ยนบ้านหนองตอง สพป.เชียงใหม่ เขต 4
เกี่ยวกับการรับประทานอาหารพื้นเมืองของนักเรี ยนช่วงอายุ 13-15 ปี
ตอนที่ 1
ข้อมูลทัวไป
่
คาชี้แจง ให้ผตอบแบบสอบถามทําเครื่ องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความจริ ง
ู้
1. อายุของผูตอบแบบสอบถาม คือ
้
 12 ปี  13 ปี  14 ปี  15 ปี
2. เพศ
 ชาย
 หญิง
3. การศึกษา
 ม.1
 ม.2
 ม.3
4. ปริ มาณการรับประทาน
 1 ประเภท / มื้อต่อวัน
 2 ประเภท / มื้อต่อวัน
 3 ประเภท / มื้อต่อวัน
 มากกว่า 3 ประเภท / มื้อต่อวัน
ตอนที่ 2
แบบสอบถามความคิดเห็น
คาชี้แจง ให้ผตอบแบบสอบถามทําเครื่ องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความจริ ง
ู้
ระดับความคิดเห็น
มาก
(3)
หมายถึง ความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมืองมาก
ปานกลาง ( 2 )
หมายถึง ความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมืองปานกลาง
น้อย
(1)
หมายถึง ความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมืองน้อย
ไม่ตองการ ( 0 )
้
หมายถึง ไม่มีความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมือง
ประเภทของอาหารพื้นเมือง
3
1. แกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา
แกงฮังเล
2. คัว เช่น คัวมะเขือใส่ ถวฝักยาว คัวลาบ คัวถัวลิสง
ั่
่
่
่
่ ่
3. เคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง
4. จอ เช่น ผักกาดจอ ผักกูดจอ ผักบุงจอ
้
5. ตํา เช่น ตําบ่าหนุ น ตําบ่าขาม ตํามะเขือ ตําจิ๊น
6. ยํา เช่น ยําจิ๊นไก่ ยําจิ๊นแห้ง ยําผัดเฮือด ยําเตา
7. นํ้าพริ ก เช่น นํ้าพริ กอ่อง นํ้าพริ กหนุ่ม นํ้าพริ กกบ

ระดับความคิดเห็น
2
1

0
ประเภทของอาหารพื้นเมือง
3

ระดับความคิดเห็น
2
1

8. นึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง
9. ปิ้ ง เช่น ปลาปิ้ ง ไก่ปิ้ง กบปิ้ ง จิ๊นปิ้ ง
10. ย่าง เช่น ไส้อว จิ๊นย่าง เครื่ องในย่าง
ั่
11. ทอด เช่น แคบหมู หนังปอง แคบไข
12.มอบ เช่น มอบปู
13. ลาบ เช่น ลาบไก่ ลาบวัว ลาบควาย ลาบหมู
ลาบปลา
14.ส้า เช่น ส้าผัก ส้ายอดมะม่วง
15. หมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่
่
่
16. อ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม
17. ฮุ่ม/อุก เช่น จิ๊นฮุ่ม อุกไก่
๊
๊
้
18. แอ็บ เช่น แอ็บปลา แอ็บกุง แอ็บอี่ฮวก แอ็บอ่องออ
19. ขนม เช่น ขนมจ็อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย
ข้าวแต๋ น ข้าววิตู
20. ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี
่
ตอนที่ 3 ความคิดเห็น/ข้ อเสนอแนะอืน ๆ
่
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

0
260112114701

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...Nattapon
 
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...thanaetch
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 

Mais procurados (20)

1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 

Semelhante a 260112114701

แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงานแบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงานfahham
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..jiraporn1
 

Semelhante a 260112114701 (20)

แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงานแบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
B1
B1B1
B1
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 

260112114701

  • 1. โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง สารวจความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ นปี การศึกษา 2554 เกียวกับอาหารพืนเมืองที่นักเรียนชอบรับประทาน ่ ้ โดยกลุ่ม smile Buffalo ชั้น ม.2 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายสายัณห์ อินปั๋น ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้ านหนองตอง
  • 3. ประกาศคุณูปการ โครงงานเรื่ อง สํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปี การศึกษา 2554 โรงเรี ยนบ้านหนองตอง เกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบรับประทาน สําเร็ จได้ดวยดีเพราะได้รับความ ั ้ อนุเคราะห์จาก คุณครู สายัณห์ อินปั๋ น ที่ได้ให้คาปรึ กษาและแนะนําในการทําโครงงาน และคุณครู ประจํา ํ ห้องปฏิบติการคอมพิวเตอร์ ที่ให้ความกรุ ณาอํานวยความสะดวกในการทําโครงงาน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ั ํ 1-3 ที่ได้ตอบแบบสอบถาม ท่านผูปกครองของนักเรี ยนในกลุ่มของผูจดทําทุกท่าน ที่คอยให้กาลังใจและ ้ ้ั อนุญาตให้มาทําโครงงานนอกเวลาเรี ยนปกติ ผูอานวยการโรงเรี ยนบ้านหนองตอง ที่ให้การสนับสนุนการทํา ้ํ โครงงานครั้งนี้ คณะผูจดทําจึงขอขอบพระคุณบุคคลที่กล่าวมาในข้างต้นนี้ ดวย ้ั ้ ผูจดทํา ้ั
  • 4. ชื่อโครงงานคณิ ตศาสตร์ สํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปี การศึกษา 2554โรงเรี ยน บ้านหนองตอง เกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบรับประทาน ั ผูจดทํา ้ั เด็กหญิง เกศแก้ว ใบศรี เด็กชาย ชัยมงคล คําลือ เด็กชาย วรกันต์ พวันนา เด็กชาย เกริ กฤทธิ์ พันทอง เด็กชาย ธิวา นวลอินทร์ เด็กหญิง ณัฐธิดา ไชยปัน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ครู ที่ปรึ กษา นายสายัณห์ อินปั๋ น โรงเรี ยนบ้านหนองตอง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4. บทคัดย่ อ วัตถุประสงค์ เพื่อสํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมตอนต้นเกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบ ั รับประทาน เพื่อที่จะทราบว่านักเรี ยนชอบอาหารประเภทนั้น ๆ มากน้อยเพียงใด ลักษณะของโครงงาน โครงงานประเภทสํารวจ วิธีการทาโครงงาน เริ่ มที่การประชุมวางแผนทําโครงงาน เสนอเค้าโครง กําหนดประชากรที่จะศึกษา ทํา ปฏิทินการทํางาน สร้างเครื่ องมือในการเก็บข้อมูล กําหนดวิธีการเก็บข้อมูล สอบถามข้อมูลจากนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 โรงเรี ยนบ้านหนองตอง นําข้อมูลมาวิเคราะห์สรุ ปผลอภิปรายผลการทําโครงงาน นําเสนอ ข้อมูลต่อที่ประชุมนักเรี ยนและครู ที่ปรึ กษา สาระสาคัญของผลการทาโครงงาน จากการวิเคราะห์และสรุ ปผลข้อมูล พบว่าอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบ ั รับประทานมากที่สุดคือ ขนม เช่น ขนมจ๊อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู และมีอีกประเภท คือ ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี และที่ชอบแบบปานกลางคือประเภทแกง เช่น แกงแค ่ แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล และประเภท นึ่ ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง ส่ วนประเภทที่ รับประทานกันน้อยมาก คือประเภทอ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม และประเภทที่นกเรี ยนไม่ ั รับประทานกันเลยคือ เคี่ยวและหมักดอง ประเภทเคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง ประเภทหมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ่ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ เป็ นต้น ่
  • 5. บทนา ทีมาและความสาคัญของโครงงาน ่ ่ ประชากรที่อาศัยอยูในจังหวัดเชียงใหม่ หรื อ คนเมืองล้านนา จะนิยมรับประทานอาหาร พื้นบ้านล้านนา (ของกินพื้นเมือง) ซึ่ งมีมากมายหลายอย่าง เช่น แกง คัว เคี่ยว จอ ตํา ยํา นํ้าพริ ก นึ่ง ปิ้ ง ย่าง ทอด ่ มอบ ลาบ ส้า หมักดอง อ็อก ฮุ่ม/อุก แอ็บ เป็ นต้น อาหารพื้นเมืองนอกจากจะมีรสชาติอร่ อยและยังให้คุณค่าทาง ๊ โภชนาการที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย ทําให้พวกเรามีความสนใจในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับความนิยมในการ รับประทานอาหารประเภทต่างๆ ของนักเรี ยนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรี ยนบ้านหนองตองประจําปี การศึกษา 2554 ในการดําเนินการสํารวจข้อมูลและการสรุ ปผลพวกเราได้ใช้หลักการทางคณิ ตศาสตร์ซ่ ึง สามารถเชื่อถือได้ พวกเราเห็นว่าจากผลการวิเคราะห์ขอมูลสามารถนํามาประกอบการดําเนินงาน เช่น กิจกรรม ้ อาหารกลางวันในโรงเรี ยน และเป็ นข้อมูลเบื้องต้นในการประกอบอาชีพขายอาหารของผูที่สนใจในอาชีพนี้ ้ วัตถุประสงค์ ของการศึกษาค้ นคว้ า 1. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมตอนต้นเกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนชอบ ั 2.เพื่อที่จะทราบว่านักเรี ยนชอบอาหารประเภทนั้น ๆ มากน้อยเพียงใด ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ ั ผูจดทําโครงงานได้ทราบและเผยแพร่ ความรู ้ที่ได้กบบุคลอื่นๆ เกี่ยวกับอาหารพื้นเมืองที่นกเรี ยนใน ้ั ั ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรี ยนบ้านหนองตองที่ชอบรับประทาน ประเภทของอาหารพื้นเมือง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การนําข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติ การสรุ ปผลจากการวิเคราะห์ขอมูล ้
  • 6. เนือหาทางคณิตศาสตร์ และเอกสารที่เกียวข้ อง ้ ่ 1. การคิดคํานวณพื้นฐานทางคณิ ตศาสตร์ การบวก การลบ การคูณ การหาร 2. สถิติ เกี่ยวกับวิธีการออกแบบตารางการเก็บข้อมูล แบบสอบถาม การทําตารางสรุ ปข้อมูล การใช้ ค่าเฉลี่ย การอ่านและสรุ ปผลจากตารางข้อมูลทางสถิติ 3. เอกสารการการสอนแบบโครงงานคณิ ตศาสตร์ ของครู ที่ปรึ กษาโครงงาน
  • 7. วิธีดาเนินการ 1.สมาชิกร่ วมกันประชุมเพื่อปรึ กษาและร่ วมกันวางแผนทําโครงงาน สํารวจความคิดเห็น เสนอเค้า โครงของโครงงานต่อครู ที่ปรึ กษา 2.กําหนดประชากรกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามกับนักเรี ยนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นจํานวน 20 คน จัดทําตารางดําเนินงาน 3. การสร้างเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ นแบบสอบถามจํานวน 20 ชุดๆละ 20 ข้อ ั 4.กําหนดวิธีการออกเก็บข้อมูลและแบ่งหน้าที่กนก่อนออกเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม 5.การนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามหลักวิชาการ โดยให้ครู ที่ปรึ กษาคอยให้คาแนะนํา ให้ขอเสนอแนะ ํ ้ ในส่ วนที่ยงไม่สมบูรณ์หรื อขาดหายไป ั 6.สรุ ปผลการทําโครงงาน นําเสนอผลงานต่อที่ประชุมนักเรี ยนและครู ที่ปรึ กษา เพื่อตรวจสอบความ น่าเชื่อถือความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วจัดทํารู ปเล่มโครงงาน 1 เล่ม ส่ งครู ที่ปรึ กษาประจําวิชาคณิ ตศาสตร์ ช้ น ั มัธยมศึกษาปี ที่ 2
  • 8. ผลการศึกษาค้นคว้า 1.อาหารพื้นเมืองประเภทแกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล นักเรี ยนชอบ รับประทานมากมีจานวน 5 คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 12 คน ชอบรับประทานน้อยจํานวน 3 ํ คน 2. อาหารประเภทคัว เช่น คัวมะเขือใส่ ถวฝักยาว คัวลาบ คัวถัวลิสง นักเรี ยนชอบรับประทาฯมาก 8 ั่ ่ ่ ่ ่ ่ คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 7 คน ชอบรับประทานน้อยจํานวน 5 คน 3. อาหารประเภทเคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 3 คน ชอบ ํ รับประทานระดับปานกลางจํานวน 2 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 10 คน ไม่ชอบรับประทานจํานวน 5 คน 4. อาหารประเภทจอ เช่น ผักกาดจอ ผักกูดจอ ผักบุงจอ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 6 คน ้ ํ ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 6 คน 5. อาหารประเภทตํา เช่น ตําบ่าหนุน ตําบ่าขาม ตํามะเขือ ตําจิ๊น นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี จํานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 4 คน 6. อาหารประเภทยํา เช่น ยําจิ๊นไก่ ยําจิ๊นแห้ง ยําผัดเฮือด ยําเตา นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี จํานวน 1 คน ชอบรับประทานระดับปานกลางจํานวน 7 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 2 คน 7.อาหารประเภทนํ้าพริ ก เช่น นํ้าพริ กอ่อง นํ้าพริ กหนุ่ม นํ้าพริ กกบ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี จํานวน 9 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 6 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 5 คน ํ 8.อาหารประเภทนึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี จํานวน 8 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 12 คน ํ 9.อาหารประเภทปิ้ ง เช่น ปลาปิ้ ง ไก่ปิ้ง กบปิ้ ง จิ๊นปิ้ ง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี จํานวน 6 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 8 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 6 คน ํ 10.อาหารย่าง เช่น ไส้อว จิ๊นย่าง เครื่ องในย่าง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี ั่ จํานวน 9 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 9 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 2 คน ํ 11.อาหารทอด เช่น แคบหมู หนังปอง แคบไข นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี จํานวน 8 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 10 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 2 คน ํ 12.อาหารประเภทมอบ เช่น มอบปู นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 2 คน นักเรี ยนชอบ ํ รับประทานปานกลางมีจานวน 5 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 10 คน นักเรี ยนไม่ชอบรับประทาน ํ จํานวน 3 คน 13.อาหารประเภทลาบ เช่น ลาบไก่ ลาบวัว ลาบควาย ลาบหมู ลาบปลา นักเรี ยนชอบรับประทาน มากมีจานวน 6 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 9 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 5 คน ํ ํ
  • 9. 14.อาหารประเภทส้า เช่น ส้าผัก ส้ายอดมะม่วง นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 2 คน ํ นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 4 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 12 คน นักเรี ยนไม่ชอบ ํ รับประทานจํานวน 2 คน 15.อาหารประเภทหมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี ่ ่ จํานวน 3 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 3 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 9 คน ํ นักเรี ยนไม่ชอบรับประทานจํานวน 5 คน 16.อาหารประเภทอ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมี จํานวน 3 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 14 คน นักเรี ยนไม่ชอบรับประทานจํานวน 3 คน 17.อาหารประเภทฮุ่ม/อุก เช่น จิ๊นฮุ่ม อุกไก่ นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 6 คน นักเรี ยน ๊ ๊ ํ ชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 5 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 7 คน นักเรี ยนไม่ชอบรับประทาน ํ จํานวน 2 คน ้ 18.อาหารประเภทแอ็บ เช่น แอ็บปลา แอ็บกุง แอ็บอี่ฮวก แอ็บอ่องออ นักเรี ยนชอบรับประทานมาก มีจานวน 2 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 10 คน ชอบรับประทานระดับน้อยจํานวน 7 คน ํ ํ นักเรี ยนไม่ชอบรับประทานจํานวน 1 คน 19.อาหารประเภทขนม เช่น ขนมจ็อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู นักเรี ยนชอบรับประทานมากมีจานวน 13 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 7 คน ํ ํ 20.อาหารประเภทของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี นักเรี ยนชอบรับประทานมากมี ่ จํานวน 13 คน นักเรี ยนชอบรับประทานปานกลางมีจานวน 7 คน ํ
  • 10. สรุปและข้ อเสนอแนะ 1. สรุ ปผลการศึกษา จากการวิเคราะห์และสรุ ปผลตามข้อมูลที่สารวจมา พบว่า อาหารพื้นเมืองล้านนาที่นกเรี ยนชอบ ํ ั รับประทานมากที่สุดคือ ขนม เช่น ขนมจ๊อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู และมีอีกประเภท คือ ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี โดยคิดเป็ นอัตราส่ วนประเภทละ 13/20 คน หรื อร้อยละ ่ 65 และที่ชอบระดับปานกลางคือประเภทแกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล และ ประเภท นึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง คิดเป็ นอัตราส่ วนประเภทละ 12/20 คน หรื อร้อยละ 60 ส่ วน ประเภทที่รับประทานกันน้อยมาก คือประเภทอ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม คิดเป็ นอัตราส่ วน 14/20 คน หรื อร้อยละ 70 และประเภทที่นกเรี ยนไม่รับประทานกันเลยคือ เคี่ยวและหมักดอง ประเภทเคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ ั นํ้าเหมี้ยง ประเภทหมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ คิดเป็ นอัตราส่ วน คิดเป็ นอัตราส่ วนประเภท ่ ่ ละ 5/20 คน หรื อร้อยละ 25 2. ข้ อเสนอแนะ การจัดทําโครงงานนี้คณะของผูจดทําได้เกิดการเรี ยนรู ้จากการได้สอบถามข้อมูลจากบุคคลอื่น การ ้ั ข้อมูลมาวิเคราะห์ผล มีการสรุ ปผลให้เห็นความนิยมรับประทานอาหารประเภทต่างๆ สามารถนําผลจากการ ั ค้นคว้าโดยโครงงานครั้งนี้มาเป็ นองค์ความรู ้ที่จะนําไปเผยแพร่ กบคนอื่นได้ ขอให้คณะผูจดทําได้นา ้ั ํ ประสบการณ์ในการหาความรู้โดยใช้โครงงานนี้ไปพัฒนาตนเองในการศึกษาต่อไป
  • 11. เอกสารอ้างอิง สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 1 โครงงานคณิตศาสตร์ ทีควรจา. เชียงใหม่. ่ สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 2 วัฒนธรรมพืนบ้ านคน ้ ล้านนา. เชียงใหม่. สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 3 มุ่งนาพาสู่ การปฏิบัติ. เชียงใหม่. สายัณห์ อินปั๋ น. (2554). เอกสารประกอบการสอนโครงงานคณิตสาสตร์ ชุ ดที่ 4 การเขียนรายงานจัดทา นาเสนอ. เชียงใหม่.
  • 12. ตารางแสดงความชอบรับประทานพืนเมืองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้ น โรงเรียนบ้ านหนองตอง ้ ประเภท ระดับความชอบ/คน 3 2 1 0 1. แกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล 2. คัว เช่น คัวมะเขือใส่ ถวฝักยาว คัวลาบ คัวถัว ั่ ่ ่ ่ ่ ่ ลิสง 3. เคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง 5 12 3 - 8 7 5 - 3 2 10 5 4. จอ เช่น ผักกาดจอ ผักกูดจอ ผักบุงจอ ้ 6 8 6 - 5. ตํา เช่น ตําบ่าหนุ น ตําบ่าขาม ตํามะเขือ ตําจิ๊น 8 8 4 - 6. ยํา เช่น ยําจิ๊นไก่ ยําจิ๊นแห้ง ยําผัดเฮือด ยําเตา 11 7 2 - 7. นํ้าพริ ก เช่น นํ้าพริ กอ่อง นํ้าพริ กหนุ่ม นํ้าพริ ก กบ 8. นึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง 9 6 5 - 8 12 9. ปิ้ ง เช่น ปลาปิ้ ง ไก่ปิ้ง กบปิ้ ง จิ๊นปิ้ ง 6 8 6 - 10. ย่าง เช่น ไส้อว จิ๊นย่าง เครื่ องในย่าง ั่ 9 9 2 - 11. ทอด เช่น แคบหมู หนังปอง แคบไข 8 10 2 - 12.มอบ เช่น มอบปู 2 5 10 3 13. ลาบ เช่น ลาบไก่ ลาบวัว ลาบควาย ลาบหมู ลาบปลา 14.ส้า เช่น ส้าผัก ส้ายอดมะม่วง 6 9 5 - 2 4 12 2 -
  • 13. 15. หมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ ่ ่ 3 3 9 5 16. อ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม - 3 14 3 17. ฮุ่ม/อุก เช่น จิ๊นฮุ่ม อุกไก่ ๊ ๊ 6 5 7 2 ้ 18. แอ็บ เช่น แอ็บปลา แอ็บกุง แอ็บอี่ฮวก แอ็บ อ่องออ 19. ขนม เช่น ขนมจ็อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้ม กล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู 20. ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าว ่ สาลี 2 10 7 1 13 7 - - 13 7 - -
  • 15. แบบสอบถาม แบบสํารวจความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 ปี การศึกษา 2554 โรงเรี ยนบ้านหนองตอง สพป.เชียงใหม่ เขต 4 เกี่ยวกับการรับประทานอาหารพื้นเมืองของนักเรี ยนช่วงอายุ 13-15 ปี ตอนที่ 1 ข้อมูลทัวไป ่ คาชี้แจง ให้ผตอบแบบสอบถามทําเครื่ องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความจริ ง ู้ 1. อายุของผูตอบแบบสอบถาม คือ ้  12 ปี  13 ปี  14 ปี  15 ปี 2. เพศ  ชาย  หญิง 3. การศึกษา  ม.1  ม.2  ม.3 4. ปริ มาณการรับประทาน  1 ประเภท / มื้อต่อวัน  2 ประเภท / มื้อต่อวัน  3 ประเภท / มื้อต่อวัน  มากกว่า 3 ประเภท / มื้อต่อวัน ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็น คาชี้แจง ให้ผตอบแบบสอบถามทําเครื่ องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความจริ ง ู้ ระดับความคิดเห็น มาก (3) หมายถึง ความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมืองมาก ปานกลาง ( 2 ) หมายถึง ความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมืองปานกลาง น้อย (1) หมายถึง ความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมืองน้อย ไม่ตองการ ( 0 ) ้ หมายถึง ไม่มีความชอบในการรับประทานอาหารพื้นเมือง ประเภทของอาหารพื้นเมือง 3 1. แกง เช่น แกงแค แกงหน่อไม้ แกงเห็ด แกงปลา แกงฮังเล 2. คัว เช่น คัวมะเขือใส่ ถวฝักยาว คัวลาบ คัวถัวลิสง ั่ ่ ่ ่ ่ ่ 3. เคี่ยว เช่น นํ้าปู๋ นํ้าเหมี้ยง 4. จอ เช่น ผักกาดจอ ผักกูดจอ ผักบุงจอ ้ 5. ตํา เช่น ตําบ่าหนุ น ตําบ่าขาม ตํามะเขือ ตําจิ๊น 6. ยํา เช่น ยําจิ๊นไก่ ยําจิ๊นแห้ง ยําผัดเฮือด ยําเตา 7. นํ้าพริ ก เช่น นํ้าพริ กอ่อง นํ้าพริ กหนุ่ม นํ้าพริ กกบ ระดับความคิดเห็น 2 1 0
  • 16. ประเภทของอาหารพื้นเมือง 3 ระดับความคิดเห็น 2 1 8. นึ่ง เช่น ห่ อนึ่ง นึ่งจิ๊นแห้ง กล้วยนึ่ง 9. ปิ้ ง เช่น ปลาปิ้ ง ไก่ปิ้ง กบปิ้ ง จิ๊นปิ้ ง 10. ย่าง เช่น ไส้อว จิ๊นย่าง เครื่ องในย่าง ั่ 11. ทอด เช่น แคบหมู หนังปอง แคบไข 12.มอบ เช่น มอบปู 13. ลาบ เช่น ลาบไก่ ลาบวัว ลาบควาย ลาบหมู ลาบปลา 14.ส้า เช่น ส้าผัก ส้ายอดมะม่วง 15. หมักดอง เช่น ถัวเน่าเมอะ ถัวเน่าแข็บ หน่อโอ่ ่ ่ 16. อ็อก เช่น อ็อกปลา อ็อกบ่าเขือ ไข่ป่าม 17. ฮุ่ม/อุก เช่น จิ๊นฮุ่ม อุกไก่ ๊ ๊ ้ 18. แอ็บ เช่น แอ็บปลา แอ็บกุง แอ็บอี่ฮวก แอ็บอ่องออ 19. ขนม เช่น ขนมจ็อก ข้าวต้มหัวหงอก ข้าวต้มกล้วย ข้าวแต๋ น ข้าววิตู 20. ของว่าง เช่น กระบอง ถัวต้ม บ่าเดือยต้ม ข้าวสาลี ่ ตอนที่ 3 ความคิดเห็น/ข้ อเสนอแนะอืน ๆ ่ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 0