SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
1


                                       กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์
                                                             ิ
                                             ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต
                    ิ                        ิ
มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้ าใจหน่ วยพืนฐานของสิ่ งมีชีวต ความสั มพันธ์ ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ของระบบต่ างๆ
                                     ้                ิ
                      ของ สิ่ งมีชีวตทีทางานสั มพันธ์ กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และ
                                    ิ ่                 ั
                      นาความรู้ ไปใช้ ในการดารงชี วตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต
                                                   ิ                         ิ

           ตัวชี้วด
                  ั                            ผู้เรียนรู้ อะไร                             ผู้เรียนทาอะไรได้
 ๑. สังเกตและอธิบายรู ปร่ าง          เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์ของ
                                                        ิ                                 สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วาง
    ลักษณะของเซลล์ของสิ่ ง      สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์
                                          ิ                                         แผนการสารวจ สารวจ รวบรวม จัด
    มีชีวตเซลล์เดียวและเซลล์
         ิ                                                                          กระทา วิเคราะห์ บันทึกผลการสังเกต
    ของสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์
                 ิ                                                                  นาเสนอผลการสังเกตและอธิบายรู ปร่ างและ
                                                                                    ลักษณะของเซลล์สิ่งมีชีวต เซลล์เดียวและ
                                                                                                                ิ
                                                                                    หลายเซลล์
 ๒. สังเกตและเปรี ยบเทียบ                 นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยือหุม่ ้              สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนการสารวจ
    ส่วนประกอบสาคัญของ          เซลล์ เป็ นส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่               ข้อมูล สารวจ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์
    เซลล์พืชและเซลล์สตว์
                       ั        เหมือนกันของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ผนังเซลล์ บันทึก แสดงผล และเปรี ยบเทียบ
                                                                      ั
                                และคลอโรพลาสต์ เป็ นส่วนประกอบ ที่พบได้ ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์
                                ในเซลล์พืช                                          สัตว์
๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่        ๑. นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว
                                                                 ่ ้                    สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน
   ของส่วนประกอบที่สาคัญ             โอล เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ วางแผน การทดลอง ทดลอง รวบรวม
   ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์
                       ั             สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน                      จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึกผล สรุ ป และ
                                ๒. นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์
                                                                  ่ ้               สร้างแบบจาลองหรื อแผนภาพอธิบายหน้าที่
                                     แวคิวโอล ผนังเซลล์และครอโรพลาสต์เป็ น แต่ละส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์
                                     ส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืช                  สัตว์ นาเสนอผลงาน
                                     มีหน้าที่แตกต่างกัน
๔. ทดลองและอธิบาย               ๑. การแพร่ เป็ นการเคลื่อนที่ของสาร จาก                    สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วาง
   กระบวนการสารผ่านเซลล์             บริ เวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริ เวณที่มี   แผนการทดลอง ทดลอง รวบรวม จัดกระทา
   โดยการแพร่ และออสโม               ความเข้มข้นต่า                                วิเคราะห์ บันทึกผลการทดลอง สรุ ปผลการ
   ซิส                          ๒. การออสโมซิสเป็ นการเคลื่อนที่ของน้ าผ่าน ทดลอง และอธิบายกระบวนการแพร่ และการ
                                     เข้าและออกจากเซลล์ จากบริ เวณที่มีความ ออสโมซิส โดยเขียนรายงานและตั้งคาถาม
                                     เข้มข้นของสารละลายต่าไปสู่บริ เวณที่มี        เพื่อนาความรู ้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
                                     ความเข้มข้นของสารละลายสูงโดยผ่านเยือ        ่
                                     เลือกผ่าน
2



                 ตัวชี้วด
                        ั                         ผู้เรียนรู้ อะไร                           ผู้เรียนทาอะไรได้
๕. ทดลองหาปั จจัยบาง8                   แสง คลอโรฟิ ลล์ แก๊ส                              ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนการ
   ประการที่จาเป็ นต่อการ          คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ า เป็ นปั จจัยที่จาเป็ น ทดลอง ทดลอง รวบรวม จัดกระทา
   สังเคราะห์ดวยแสงของ
                  ้                ต่อกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช
                                                             ้                     วิเคราะห์ บันทึกแสดงผล และอธิบายปั จจัย
   พืช และอธิบายว่าแสง                                                             ที่จาเป็ นต่อกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง
                                                                                                                      ้
   คลอโรฟิ ลล์ แก๊ส                                                                ของพืช ในรู ปของผังกราฟฟิ กและนาเสนอ
   คาร์บอนไดออกไซด์ น้ า                                                           ผลงาน
   เป็ นปั จจัยที่จาเป็ นต้องใช้
   ในการสังเคราะห์ดวยแสง  ้
๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้             น้ าตาล แก๊สออกซิเจนและน้ า เป็ น            ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ
   จากการสังเคราะห์ดวย      ้      ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ดวย
                                                                         ้         ออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม จัด
   แสงของพืช                       แสงของพืช                                       กระทา วิเคราะห์ บันทึก แสดงผล และ
                                                                                   อธิบายผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการ
                                                                                   สังเคราะห์ดวยแสงของพืช โดยเขียนรายงาน
                                                                                                 ้
                                                                                   และนาเสนอผลการทดลอง
๗. อธิบายความสาคัญของ               กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงมี  ้                 ตั้งคาถาม วางแผน และเลือกวิธีการศึกษา
   กระบวนการสังเคราะห์        ความสาคัญต่อการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวตและ ข้อมูล รวบรวม วิเคราะห์ บันทึก และอธิบาย
                                                              ิ             ิ
   ด้วยแสงของพืชต่อ           ต่อสิ่ งแวดล้อมใน ด้านอาหาร การหมุนเวียน             กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช โดย
                                                                                                           ้
   สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม ของแก๊สออกซิเจนและแก๊ส
             ิ                                                                     ใช้แผนภาพหรื อแผนผัง ตั้งคาถามใหม่
                              คาร์บอนไดออกไซด์                                     ค้นคว้าข้อมูลเพิมเติมและนาเสนอผลงานโดย
                                                                                                   ่
                                                                                   จัดนิทรรศการ
๘. ทดลองและอธิบายกลุ่ม                    เนื้อเยือลาเลียงน้ าเป็ นกลุ่มเซลล์เฉพาะ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ
                                                  ่
   เซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการ   เรี ยงต่อเนื่องกันตั้งแต่ราก ลาต้น จนถึงใบ ทา ออกแบบทดลองการ ทดลองการลาเลียงน้ า
   ลาเลียงน้ าของพืช          หน้าที่ในการลาเลียงน้ าและธาตุอาหาร                  ของพืช รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก
                                                                                   แสดงผล และอธิบายถึงกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้อง
                                                                                   กับการลาเลียงน้ าของพืช โดยการเขียน
                                                                                   รายงานและนาเสนอผลการทดลอง
๙. สังเกตและอธิบาย             เนื้อเยือลาเลียงน้ า ทาหน้าที่ในการลาเลียงน้ า
                                       ่                                                 ตั้งคาถาม วางแผนการสังเกต สังเกต
   โครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบ และธาตุอาหารจากรากสู่ใบและเนื้อเยือลาเลียง รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก สรุ ป
                                                                          ่
   ลาเลียงน้ าและอาหารของ อาหารทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจากใบสู่ส่วน                   และอธิบาย การลาเลียงน้ าและลาเลียง
   พืช                         ต่างๆ ของพืช ซึ่งทั้งสองกลุ่มเซลล์จะอยู่            อาหาร
                               คู่ขนานกัน ท่อลาเลียงในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ
                               พืชใบเลี้ยงคู่มีการจัดเรี ยงตัวแตกต่างกัน การ
                               คายน้ ามีส่วนช่วยในการลาเลียงน้ าของพืช
3



           ตัวชี้วด
                  ั                            ผู้เรียนรู้ อะไร                          ผู้เรียนทาอะไรได้
๑๐. ทดลองและอธิบาย                 เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเป็ นโครงสร้างที่
                                                ้                                  ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผน
    โครงสร้างของดอกที่           ใช้ในการสื บพันธุ์ของพืชดอก                 และออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม
    เกี่ยวข้องกับการสื บพันธุ์                                               ข้อมูล วิเคราะห์ บันทึก แสดงผล และอธิ บาย
    ของพืช                                                                   เกี่ยวกับโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการ
                                                                             สื บพันธุ์ของพืช โดยใช้แผนภาพ นาความรู ้
                                                                             ไปใช้ในการอธิบายดอกของพืชชนิดอื่น ๆ
                                                                             นอกเหนือจากดอก ที่นามาศึกษา
๑๑. อธิบายกระบวนการ              ๑. กระบวนการสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช           สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนการสารวจ
    สื บพันธุ์แบบอาศัยเพศ            ดอกเป็ นการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึกแสดงผล
    ของพืชดอกและการ                  เพศผูและเซลล์ไข่ในออวุล
                                           ้                                 และอธิบายกระบวนการสื บพันธุ์ของพืช ด้วย
    สื บพันธุ์แบบไม่อาศัย        ๒. การแตกหน่อ การเกิดไหล เป็ นการ           แผนผังความคิดหรื อแผนภาพและการ
    เพศของพืช โดยใช้ส่วน             สื บพันธุของพืชแบบไม่อาศัยเพศ โดยไม่มี นาเสนอผลงาน ตั้งคาถามใหม่และนาความรู ้
                                              ์
    ต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยใน          การปฏิสนธิ                              ไปใช้ในการขยายพันธ์พืช
    การขยายพันธุ์                ๓. ราก ลาต้น ใบ และกิ่งของพืชสามารถ
                                     นาไปใช้ขยายพันธุ์พืชได้

๑๒. ทดลองและอธิบายการ           พืชตอบสนองต่อสิ่ งเร้าภายนอกโดยสังเกตได้        ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐานวางแผน
    ตอบสนองของพืชต่อ            จากการเคลื่อนไหวของส่วนประกอบของพืชที่ และ ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง
    แสง น้ า และการสัมผัส       มีต่อแสง น้ า และการสัมผัส                   รวบรวมข้อมูล บันทึก วิเคราะห์ นาเสนอและ
                                                                             อธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง น้ า และ
                                                                             การสัมผัส โดยการเขียนรายงานและนาเสนอ
                                                                             ผลการทดลอง
๑๓. อธิบายหลักการและผล          ๑. เทคโนโลยีชีวภาพ เป็ นการใช้เทคโนโลยี         สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนและเลือกวิธี
    ของการใช้เทคโนโลยี               เพื่อทาให้สิ่งมีชีวตหรื อองค์ประกอบของ ศึกษา รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล จัด
                                                        ิ
    ชีวภาพในการขยายพันธุ์            สิ่ งมีชีวตมีสมบัติตามต้องการ
                                                ิ                            กระทา วิเคราะห์ บันทึก แสดงผล อธิบาย
    ปรับปรุ งพันธุ์ เพิ่มผลผลิต      การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือพืช
                                                          ่                  หลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
    ของพืชและนาความรู ้ไป ๒. พันธุวศวกรรม เป็ นเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ ในการขยายพันธุ์พืช ปรับปรุ งพันธุ์พืชและ
                                              ิ
    ใช้ประโยชน์                      ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์และเพิ่ม ผลผลิต และนาเสนอผลงาน
                                     ผลผลิตของพืช
4


สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓. ๑ เข้ าใจสมบัติของสาร ความสั มพันธ์ ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้ างและแรงยึดเหนี่ยว
                ระหว่ างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งทีเ่ รียนรู้
                นาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์

           ตัวชี้วด
                  ั                           ผู้เรียนรู้ อะไร                            ผู้เรียนทาอะไรได้
 ๑. ทดลองและจาแนกสาร           ๑. เมื่อใช้เนื้อสารเป็ นเกณฑ์จาแนกได้เป็ น       ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ
    เป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อสาร   สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ซึ่งสารแต่ละ       ออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวมข้อมูล
    หรื อขนาดอนุภาคเป็ น       กลุ่มจะมีสมบัติแตกต่างกันเมื่อใช้อนุภาคของ     จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก สรุ ปผลการ
    เกณฑ์ และอธิบายสมบัติ      สารเป็ นเกณฑ์ จาแนกสารเป็ นสารแขวนลอย          ทดลองจาแนกสารเป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อสาร
    ของสารในแต่ละกลุ่ม         คอลลอยด์ และสารละลาย ซึ่งสารแต่ละกลุ่ม         หรื อขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์ และอธิบาย
                               จะมีสมบัติแตกต่างกัน                           สมบัติของสารแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลงาน

 ๒. อธิบายสมบัติและการ         ๑. สี รู ปร่ าง ความแข็ง ความหนาแน่น              ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนและออกแบบ
    เปลี่ยนสถานะของสาร              จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็ นสมบัติทาง       ศึกษาข้อมูล รวบรวม บันทึก วิเคราะห์ สรุ ป
    โดยใช้แบบจาลองการ               กายภาพของสาร ความเป็ นกรด – เบส           นาเสนอและอธิบายเกี่ยวกับสมบัติและการ
    จัดเรี ยงอนุภาคของสาร           ความสามารถในการรวมตัวกับสารอื่น ๆ         เปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้
                                    การแยกสลายของและการเผาไหม้ เป็ น          แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร และ
                                    สมบัติทางเคมี                             นาเสนอผลงาน
                               ๒. สารในสถานะต่างๆ มีลกษณะการจัดเรี ยง
                                                          ั
                                    อนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และ
                                    แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแตกต่างกัน
                                    ซึ่งสามารถใช้แบบจาลองการจัดเรี ยง
                                    อนุภาคของสาร อธิบายสมบัติบาง
                                    ประการได้
 ๓. ทดลองและอธิบายสมบัติ       สารละลายที่มีน้ าเป็ นตัวทาละลายอาจมีสมบัติ    ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง
    ความเป็ นกรด - เบส ของ     เป็ นกรด กลางหรื อเบส ซึ่งสามารถทดสอบ          เลือกวิธีและทาการทดลอง ตรวจสอบความ
    สารละลาย                   ได้ดวยกระดาษลิสมัต หรื ออินดิเคเตอร์
                                    ้                                         เป็ นกรด – เบส ของสารละลาย โดยใช้วสดุั
                                                                              อุปกรณ์ที่เหมาะสม บันทึกผล วิเคราะห์
                                                                              ข้อมูลพิจารณาความสอดคล้องกับสมมติฐาน
                                                                              ที่ต้ งไว้และนาเสนอวีธีการและลผที่พบ
                                                                                    ั
 ๔. ตรวจสอบค่า pH ของ          ๑. ความเป็ นกรด – เบส ของสารละลาย ระบุ               ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ
    สารละลายและนาความรู ้         ค่าเป็ น pH ซึ่งตรวจสอบด้วยเครื่ องมือวัด   ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง เพื่อ
    ไปใช้ประโยชน์                 ค่า pH หรื อยูนิเวอร์ซลอินดิเคเตอร์
                                                        ั                     ตรวจสอบความเป็ นกรด – เบส ของสารใน
                               ๒. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวตประจาวันมีความ
                                                      ิ                       ชีวตประจาวัน โดยใช้วสดุอุปกรณ์ที่
                                                                                  ิ                    ั
                                  เป็ น กรด – เบส แตกต่างกันจึงควร            เหมาะสม บันทึกผล วิเคราะห์ขอมูล พิจารณา
                                                                                                              ้
                                  เลือกใช้อย่างถูกต้องปลอดภัยต่อตนเอง         ความสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้งไว้  ั
                                  และสิ่ งแวดล้อม                             นาเสนอวิธีการและผลการตรวจสอบความ
                                                                              เป็ นกรด – เบส ของสารและนาความรู ้ไปใช้
                                                                              ในชีวตประจาวัน
                                                                                        ิ
5


สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้ าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลียนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ
                                                    ่
                เกิดปฏิกริยา มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รียนรู้ และ
                        ิ
                นาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์
          ตัวชี้วด
                 ั                          ผู้เรียนรู้ อะไร                         ผู้เรียนทาอะไรได้
๑. ทดลองและอธิบายวิธีเตรี ยม ๑. สารละลายประกอบด้วยตังละลายและตัว              ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนและ
   สารละลายที่มีความเข้มข้น     ทาละลาย สารละลายที่ระบุความเข้มข้น       ออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวมข้อมูล
   เป็ นร้อยละ และอภิปรายการ    เป็ นร้อยละ หมายถึงสารละลายที่มี         บันทึก วิเคราะห์ขอมุล สรุ ปผลการทดลอง
                                                                                            ้
   นาความรู ้เกี่ยวกับสารละลาย  อัตราส่วนของปริ มาณตัวละลายอยูใน ่       เขียนรายงานอธิบายวิธีการเตรี ยม
   ไปใช้ประโยชน์                สารละลายร้อนส่วนในชีวตประจาวัน ได้มี
                                                          ิ              สารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ นา
                                การนาความรู ้เรื่ องสารละลายไปใช้                      ั
                                                                         ความรู ้ไปใช้กบตัวอย่างหรื อสถานการณ์ใหม่
                                ประโยชน์ทางด้านการเกษตร                  สร้างแผนภาพแสดงการนาความรู ้ไปใช้
                                อุตสาหกรรม อาหาร การแพทย์ และด้าน        ประโยชน์ และนาเสนอผลงาน
                                อื่น ๆ

๒. ทดลองและอธิบายการ            เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนสถานะและเกิดการ        ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผน
   เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล        ละลายมวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่       และออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม
   และพลังงานของสาร             สมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการ   และวิเคราะห์ขอมูล สรุ ปผลการทดลอง และ
                                                                                        ้
   เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและ      ถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับ             อธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ
   เกิดการละลาย                 สิ่ งแวดล้อม                             พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและ
                                                                         เกิดการละลาย และนาเสนอผลงาน
๓. ทดลองและอธิบายปั จจัยที่มี    อุณหภูมิ ความดันและชนิดของสาร มีผลต่อ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ
   ผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และ     การเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง รวบรวม
   การละลายของสาร                                                      ข้อมูล วิเคราะห์และสรุ ปผลการทดลอง เขียน
                                                                       รายงานอธิบายปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยน
                                                                       สถานะและการละลาย นาเสนอแผนผังแสดง
                                                                       ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการ
                                                                       ละลายของสารของสาร
6


สาระที่ ๔ แรงและการเคลือนที่
                       ่
มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้ าใจธรรมชาติของแรงแม่ เหล็กไฟฟา แรงโน้ มถ่ วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสื บ
                                                           ้
                เสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และนาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ อย่ างถูกต้ องและมีคุณธรรม

           ตัวชี้วด
                  ั                            ผู้เรียนรู้ อะไร                            ผู้เรียนทาอะไรได้
๑. สื บค้นข้อมูลและอธิบาย             ปริ มาณทางกายภาพแบ่งเป็ นปริ มาณ                ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนการสื บค้น
   ปริ มาณ สเกลาร์ ปริ มาณ      สเกลาร์และปริ มาณเวกเตอร์ ปริ มาณสเกลาร์ ข้อมูล สื บค้นข้อมูล รวบรวม บันทึกข้อมูล
   เวกเตอร์                     เป็ นปริ มาณที่มีแต่ขนาด ปริ มาณเวกเตอร์เป็ น วิเคราะห์ สรุ ปผลและเขียนรายงานการสื บค้น
                                ปริ มาณที่มีท้ งขนาดและทิศทาง
                                               ั                               ข้อมูลอธิบายความแตกต่างระหว่างปริ มาณ
                                                                               สเกลาร์และปริ มาณเวกเตอร์
๒. ทดลองและอธิบายระยะทาง การเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวข้องกับระยะทาง                ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผน
   การกระจัด อัตราเร็ ว และ    การกระจัด อัตราเร็ วและความเร็ว ระยะทาง และออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม
   ความเร็ วในการเคลื่อนที่ของ หมายถึง ความยาวที่วดตามแนวทางการ
                                                      ั                        ข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปทาผังมโนทัศน์อธิบาย
   วัตถุ                       เคลื่อนที่ของวัตถุจากแหน่งเริ่ มต้นไปตาแหน่ง ความหมายของระยะทาง การกระจัด
                               สุดท้าย การกระจัด คือ เวกเตอร์ที่ช้ ี           อัตราเร็ ว และความเร็ วในการเคลื่อนที่ และ
                               ตาแหน่งสุดท้ายของวัตถุเกี่ยวกับตาแหน่ง          นาเสนอผลงาน
                               เริ่ มต้น อัตราเร็ วคือระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่
                                                                  ั
                               ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ความเร็ วคือการ
                               กระจัดของวัตถุในหนึ่งหน่วยเมตร
7


สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้ าใจความสั มพันธ์ ระหว่ างพลังงานกับการดารงชี วต การเปลียนรู ปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
                                                                           ิ         ่
                 ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้ พลังงานต่ อชีวตและสิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การ
                                                                              ิ
                 สื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และ นาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์

           ตัวชี้วด
                  ั                            ผู้เรียนรู้ อะไร                           ผู้เรียนทาอะไรได้
๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ              อุณหภูมิเป็ นปริ มาณที่บอกให้ทราบ          ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ
  และการวัดอุณหภูมิ              ระดับความร้อนของสาร สามารถวัดด้วย         ออกแบบการทดลอง ดาเนินการทดลอง
                                 เทอร์มอมิเตอร์                            รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปผล อภิปรายผล
                                                                           การทดลองและนาเสนอผลการทดลองเรื่ อง
                                                                           อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ จัดทารายงานผล
                                                                           การทดลอง
๒. สังเกตและอธิบายการถ่าย    ๑. การถ่ายโอนความร้อนมีสามวิธีคือการนา                ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการ
   โอนความร้อน และนาความรู ้      ความร้อน การพาความร้อนและการแผ่          ทดลอง ทาการทดลองเกี่ยวกับการถ่ายโอน
   ไปใช้ประโยชน์                  รังสี ความร้อน                           ความร้อน รวบรวมข้อมูล บันทึกผลการ
                             ๒. การนาความร้อน เป็ นการถ่ายโอนความ          ทดลอง วิเคราะห์ขอมูล และสรุ ปผลการ
                                                                                                  ้
                                  ร้อนโดยการสันของโมเลกุล
                                                   ่                       ทดลอง ตั้งคาถามใหม่เพื่อสีบค้นข้อมูล วัสดุ
                             ๓. การพาความร้อนเป็ นการถ่ายความโอน           อุปกรณ์ต่าง ๆที่นาความร้อนและพาความร้อน
                                  ความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไป ไปใช้ประโยชน์ เขียนรายงาน
                                  ด้วย
                             ๔. การแผ่รังสี ความร้อนเป็ นการถ่ายโอน
                                  ความร้อนจากคลื่นแม่เหล็กไฟ
๓. อธิบายการดูดกลืน การคาย        วัตถุที่แตกต่างกันมีสมบัติในการดูดกลืน          ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนการสื บค้นข้อมูล
   ความร้อน โดยการแผ่รังสี   ความร้อนและคายความร้อนได้ตางกัน ซึ่ง ่        สื บค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์
   และนาความรู ้ไปใช้        สามารถนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ใน               อภิปราย สรุ ปผลและอธิบายการดูดกลืน การ
   ประโยชน์                  ชีวตประจาวัน
                                ิ                                          คายความร้อน โดยการแผ่รังสี ตั้งคาถามใหม่
                                                                           เพื่อการสื บค้นข้อมูลการนาความรู ้ที่ได้ไปใช้
                                                                           ประโยชน์ จัดทารายงานและนาเสนอผลงาน
                                                                           เกี่ยวกับการนาความรู ้เรื่ องการดูดกลืน การ
                                                                           คายความร้อนโดยการ แผ่รังสี ไปใช้ประโยชน์
                                                       ่
๔. อธิบายสมดุลความร้อนและ ๑. เมื่อวัตถุสองสิ่ งอยูในสมดุลความร้อน วัตถุ            ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการ
   ผลของความร้อนต่อการ            ทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน                 ทดลอง/สื บค้นข้อมูล ดาเนินการทดลอง/
   ขยายตัวของสาร และนา       ๒. การขยายตัวของวัตถุเป็ นผลจากความร้อน สื บค้นข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปผล อภิปรายผล
   ความรู ้ไปใช้ใน                ที่วตถุได้รับเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถนาไปใช้ และนาเสนอผลการทดลอง/สื บค้นข้อมูล เรื่ อง
                                      ั
   ชีวตประจาวัน
      ิ                           ประโยชน์ในชีวตประจาวัน
                                                     ิ                     สมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการ
                                                                           ขยายตัวของสาร และการนาความรู ้ไปใช้ใน
                                                                           ชีวตประจาวัน
                                                                                ิ
8


สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้ าใจกระบวนการต่ าง ๆ ทีเ่ กิดขึนบนผิวโลกและภายในโลก ความสั มพันธ์ ของกระบวนการ
                                                 ้
               ต่ าง ๆ ทีมีผลต่ อการเปลียนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสั ณฐานของโลก มีกระบวนการ
                         ่              ่
               สื บเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รียนรู้ และนาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์

           ตัวชี้วด
                  ั                         ผู้เรียนรู้ อะไร                          ผู้เรียนทาอะไรได้
๑. สื บค้นและอธิบาย                  บรรยากาศของโลกประกอบด้วยแก๊ส          ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนการสื บค้น
   องค์ประกอบและการแบ่ง                 ่
                               ต่างๆอยูรอบโลกและสูงขึ้นไปหลายกิโลเมตร สื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล บันทึกข้อมูล
   ชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิว    บรรยากาศแบ่งเป็ นชั้นๆตามอุณหภูมิและการ วิเคราะห์ อภิปราย สรุ ปลผลการสื บค้นข้อมูล
   โลก                         เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน นาเสนอรายงานและแผนภาพอธิบาย
                                                                        องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศของ
                                                                        โลก
๒. ทดลองและอธิบาย                    อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศมี     ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนสารวจ
   ความสัมพันธ์ระหว่าง         ผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ            ตรวจสอบ ทาการทดลองและสื บค้น รวบรวม
   อุณหภูมิ ความชื้นและความ                                             ข้อมูล วิเคราะห์อธิบาย ความสัมพันธ์ ระหว่าง
   กดอากาศที่มีผลต่อ                                                    อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ ที่มีผล
   ปรากฏการณ์ทางลมฟ้ า                                                  ต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ นาเสนอ
   อากาศ                                                                รายงานผลการทดลอง


๓. สังเกต วิเคราะห์และ อภิปราย ปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ ได้แก่ การเกิด         สารวจ สังเกต สื บค้น วิเคราะห์ รวบรวม
   การเกิดปรากฏการณ์ทางลม เมฆ ฝน พายุ ฟ้ าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน           ข้อมูล อภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทาง ลม
   ฟ้ าอากาศที่มีผลต่อมนุษย์   ลมมรสุม เป็ นต้น                           ฟ้ าอากาศ และผลที่เกิดต่อมนุษย์ นาเสนอด้วย
                                                                          การจัดสถานีความรู ้

๔. สื บค้น วิเคราะห์ และแปล    การพยากรณ์อากาศ คือการนาข้อมูลเกี่ยวกับ        สารวจ สื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล
   ความหมายข้อมูลจากการ        อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น ปริ มาณ      วิเคราะห์ และแปลความหมายข้อมูล จากการ
   พยากรณ์อากาศ                เมฆและน้ าฝน มาแปลความหมายเพื่อใช้         พยากรณ์อากาศจัดทารายงานการพยากรณ์
                               ทานายสภาพอากาศ                             อากาศ
9


           ตัวชี้วด
                  ั                            ผู้เรียนรู้ อะไร                          ผู้เรียนทาอะไรได้
๕. สื บค้น วิเคราะห์ และ         พายุ ปรากฏการณ์เอลนิโญ ลานีญา เกิดจาก             สารวจ ตรวจสอบ สื บค้น รวบรวม
   อธิบายผลของลมฟ้ าอากาศ        สภาพลมฟ้ าอากาศที่เปลี่ยนแปลงบนโลก            ข้อมูล วิเคราะห์ อธิบายผลของลมฟ้ า
   ต่อการดารงชีวตของ
                   ิ             ส่งผลต่อการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวตและ
                                                    ิ            ิ             อากาศที่มีต่อการดารงชีวตของสิ่งมีชีวต
                                                                                                       ิ           ิ
   สิ่ งมีชีวต และสิ่ งแวดล้อม
             ิ                   สิ่ งแวดล้อม                                  และสิ่ งแวดล้อมและจัดนิทรรศการ

๖. สื บค้น วิเคราะห์ และอธิบาย   ปั จจัยทางธรรมชาติ และการกระทาของมนุษย์ ตั้งคาถาม สารวจ สังเกต สื บค้น
   ปั จจัยทางธรรมชาติและการ      ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน รู โหว่ของโอโซน    รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอมูล อภิปราย
                                                                                                ้
   กระทาของมนุษย์ที่มีผลต่อ      และฝนกรด ภาวะดลกร้อน คือปรากฎการณ์ที่ สาเหตุ ของภาวะโลกร้อน รู โหว่โอโซน
   การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ     มีอุณหภูมิเฉลี่ยของดลกสูงขึ้น           และฝนกรด นาเสนอข้อมูลในรู ปของ
   โลก รู โหว่โอโซน และฝน                                                นิทรรศการ
   กรด


๗. สื บค้น วิเคราะห์และ          ๑. ภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดการละลายของ                ตั้งคาถาม สารวจ สื บค้น รวบรวม
   อธิบายผลของภาวะโลก               ธารน้ าแข้งระดับน้ าทะเลสูงขึ้น การกัด     ข้อมูล วิเคราะห์ อธิบายผล ของภาวะโลก
   ร้อน รู โหว่โอโซน และฝน          เซาะชายฝั่งเพิ่มขึ้น น้ าท่วม ไฟป่ า ส่ง   ร้อน รู โหว่โอโซน และฝนกรด ที่มีผลต่อ
   กรด ที่มีต่อสิ่ งมีชีวตและ
                         ิ          ผลให้สิ่งมีชีวตบางชนิดสูญพันธ์และทาให้
                                                   ิ                           สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม นาเสนอข้อมูล
                                                                                         ิ
   สิ่ งแวดล้อม                     สิ่ ง10. แวดล้อมเปลี่ยนไป                  โดยการจัดนิทรรศการ เพื่อจัดป้ ายนิเทศ
                                 ๒. รู โหว่โอโซน และฝนกรด มีผลต่อการ
                                    เปลี่ยนแปลงของสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม
                                                               ิ
10


สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การแก้ ปัญหา
               รู้ ว่าปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติทเ่ี กิดขึนส่ วนใหญ่ มีรูปแบบทีแน่ นอน สามารถอธิบายและ
                                                      ้                    ่
               ตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือทีมีอยู่ในช่ วงเวลานั้นๆ เข้ าใจว่ า วิทยาศาสตร์
                                                          ่
               เทคโนโลยี สั งคม และสิ่ งแวดล้อม มีความเกียวข้ องสั มพันธ์ กน
                                                            ่                ั

                                    ตัวชี้วด
                                           ั                                          นักเรี ยนรู้ อะไร/ทาอะไรได้
 ๑. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรื อตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรื อ
    ศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
 ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ
                                                                                     จะนาไปแทรกในสาระที่ ๑ – ๗
    วิธี
                                                                                      ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้
 ๓. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผล
    เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วสดุและเครื่ องมือที่เหมาะสม
                                      ั                                                 เพือพัฒนาทักษะการคิด
                                                                                           ่
 ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริ มาณและคุณภาพ
 ๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุ ป ทั้งที่
    สนับสนุนหรื อขัดแย้งกับสมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจ
    ตรวจสอบ
 ๖. สร้างแบบจาลอง หรื อรู ปแบบ ที่อธิบายผลหรื อแสดงผลของการสารวจ
    ตรวจสอบ
 ๗. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู ้ที่ได้
    ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
    โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ
                              ู้
 ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิมเติมจากแหล่ง
                                                                ่
    ความรู ้ต่าง ๆ ให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู ้ที่
                           ้
    ค้นพบเมื่อมีขอมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม
                   ้
 ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และ
    ผลของโครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ
                                        ู้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
korakate
 
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
jutarattubtim
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 

Mais procurados (20)

Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
 
Brochure 2007 thai
Brochure 2007 thaiBrochure 2007 thai
Brochure 2007 thai
 
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
3เฉลย 31
3เฉลย 313เฉลย 31
3เฉลย 31
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
Drug discovery and research by pitsanu duangkartok
Drug discovery and research by pitsanu duangkartokDrug discovery and research by pitsanu duangkartok
Drug discovery and research by pitsanu duangkartok
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 

Semelhante a Science1 110904043128-phpapp01

แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
korakate
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
Pew Juthiporn
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
krujaew77
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
Darika Kanhala
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
supreechafkk
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
Onin Goh
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
jirat266
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
Biobiome
 

Semelhante a Science1 110904043128-phpapp01 (20)

แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
2
22
2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 

Mais de korakate

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
korakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
korakate
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
korakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
korakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
korakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
korakate
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabus
korakate
 

Mais de korakate (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabus
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Gimp11
Gimp11Gimp11
Gimp11
 
Frog.ถนัด
Frog.ถนัดFrog.ถนัด
Frog.ถนัด
 

Science1 110904043128-phpapp01

  • 1. 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ิ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต ิ ิ มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้ าใจหน่ วยพืนฐานของสิ่ งมีชีวต ความสั มพันธ์ ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ของระบบต่ างๆ ้ ิ ของ สิ่ งมีชีวตทีทางานสั มพันธ์ กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และ ิ ่ ั นาความรู้ ไปใช้ ในการดารงชี วตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต ิ ิ ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๑. สังเกตและอธิบายรู ปร่ าง เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์ของ ิ สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วาง ลักษณะของเซลล์ของสิ่ ง สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ิ แผนการสารวจ สารวจ รวบรวม จัด มีชีวตเซลล์เดียวและเซลล์ ิ กระทา วิเคราะห์ บันทึกผลการสังเกต ของสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ิ นาเสนอผลการสังเกตและอธิบายรู ปร่ างและ ลักษณะของเซลล์สิ่งมีชีวต เซลล์เดียวและ ิ หลายเซลล์ ๒. สังเกตและเปรี ยบเทียบ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยือหุม่ ้ สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนการสารวจ ส่วนประกอบสาคัญของ เซลล์ เป็ นส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่ ข้อมูล สารวจ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ เซลล์พืชและเซลล์สตว์ ั เหมือนกันของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ผนังเซลล์ บันทึก แสดงผล และเปรี ยบเทียบ ั และคลอโรพลาสต์ เป็ นส่วนประกอบ ที่พบได้ ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์ ในเซลล์พืช สัตว์ ๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ ๑. นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว ่ ้ สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ของส่วนประกอบที่สาคัญ โอล เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ วางแผน การทดลอง ทดลอง รวบรวม ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ ั สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึกผล สรุ ป และ ๒. นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ ่ ้ สร้างแบบจาลองหรื อแผนภาพอธิบายหน้าที่ แวคิวโอล ผนังเซลล์และครอโรพลาสต์เป็ น แต่ละส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์ ส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืช สัตว์ นาเสนอผลงาน มีหน้าที่แตกต่างกัน ๔. ทดลองและอธิบาย ๑. การแพร่ เป็ นการเคลื่อนที่ของสาร จาก สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วาง กระบวนการสารผ่านเซลล์ บริ เวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริ เวณที่มี แผนการทดลอง ทดลอง รวบรวม จัดกระทา โดยการแพร่ และออสโม ความเข้มข้นต่า วิเคราะห์ บันทึกผลการทดลอง สรุ ปผลการ ซิส ๒. การออสโมซิสเป็ นการเคลื่อนที่ของน้ าผ่าน ทดลอง และอธิบายกระบวนการแพร่ และการ เข้าและออกจากเซลล์ จากบริ เวณที่มีความ ออสโมซิส โดยเขียนรายงานและตั้งคาถาม เข้มข้นของสารละลายต่าไปสู่บริ เวณที่มี เพื่อนาความรู ้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ความเข้มข้นของสารละลายสูงโดยผ่านเยือ ่ เลือกผ่าน
  • 2. 2 ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๕. ทดลองหาปั จจัยบาง8 แสง คลอโรฟิ ลล์ แก๊ส ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนการ ประการที่จาเป็ นต่อการ คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ า เป็ นปั จจัยที่จาเป็ น ทดลอง ทดลอง รวบรวม จัดกระทา สังเคราะห์ดวยแสงของ ้ ต่อกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช ้ วิเคราะห์ บันทึกแสดงผล และอธิบายปั จจัย พืช และอธิบายว่าแสง ที่จาเป็ นต่อกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง ้ คลอโรฟิ ลล์ แก๊ส ของพืช ในรู ปของผังกราฟฟิ กและนาเสนอ คาร์บอนไดออกไซด์ น้ า ผลงาน เป็ นปั จจัยที่จาเป็ นต้องใช้ ในการสังเคราะห์ดวยแสง ้ ๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้ น้ าตาล แก๊สออกซิเจนและน้ า เป็ น ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ จากการสังเคราะห์ดวย ้ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ดวย ้ ออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม จัด แสงของพืช แสงของพืช กระทา วิเคราะห์ บันทึก แสดงผล และ อธิบายผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการ สังเคราะห์ดวยแสงของพืช โดยเขียนรายงาน ้ และนาเสนอผลการทดลอง ๗. อธิบายความสาคัญของ กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงมี ้ ตั้งคาถาม วางแผน และเลือกวิธีการศึกษา กระบวนการสังเคราะห์ ความสาคัญต่อการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวตและ ข้อมูล รวบรวม วิเคราะห์ บันทึก และอธิบาย ิ ิ ด้วยแสงของพืชต่อ ต่อสิ่ งแวดล้อมใน ด้านอาหาร การหมุนเวียน กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช โดย ้ สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม ของแก๊สออกซิเจนและแก๊ส ิ ใช้แผนภาพหรื อแผนผัง ตั้งคาถามใหม่ คาร์บอนไดออกไซด์ ค้นคว้าข้อมูลเพิมเติมและนาเสนอผลงานโดย ่ จัดนิทรรศการ ๘. ทดลองและอธิบายกลุ่ม เนื้อเยือลาเลียงน้ าเป็ นกลุ่มเซลล์เฉพาะ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ ่ เซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการ เรี ยงต่อเนื่องกันตั้งแต่ราก ลาต้น จนถึงใบ ทา ออกแบบทดลองการ ทดลองการลาเลียงน้ า ลาเลียงน้ าของพืช หน้าที่ในการลาเลียงน้ าและธาตุอาหาร ของพืช รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก แสดงผล และอธิบายถึงกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้อง กับการลาเลียงน้ าของพืช โดยการเขียน รายงานและนาเสนอผลการทดลอง ๙. สังเกตและอธิบาย เนื้อเยือลาเลียงน้ า ทาหน้าที่ในการลาเลียงน้ า ่ ตั้งคาถาม วางแผนการสังเกต สังเกต โครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบ และธาตุอาหารจากรากสู่ใบและเนื้อเยือลาเลียง รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก สรุ ป ่ ลาเลียงน้ าและอาหารของ อาหารทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจากใบสู่ส่วน และอธิบาย การลาเลียงน้ าและลาเลียง พืช ต่างๆ ของพืช ซึ่งทั้งสองกลุ่มเซลล์จะอยู่ อาหาร คู่ขนานกัน ท่อลาเลียงในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ พืชใบเลี้ยงคู่มีการจัดเรี ยงตัวแตกต่างกัน การ คายน้ ามีส่วนช่วยในการลาเลียงน้ าของพืช
  • 3. 3 ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๑๐. ทดลองและอธิบาย เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเป็ นโครงสร้างที่ ้ ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผน โครงสร้างของดอกที่ ใช้ในการสื บพันธุ์ของพืชดอก และออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม เกี่ยวข้องกับการสื บพันธุ์ ข้อมูล วิเคราะห์ บันทึก แสดงผล และอธิ บาย ของพืช เกี่ยวกับโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการ สื บพันธุ์ของพืช โดยใช้แผนภาพ นาความรู ้ ไปใช้ในการอธิบายดอกของพืชชนิดอื่น ๆ นอกเหนือจากดอก ที่นามาศึกษา ๑๑. อธิบายกระบวนการ ๑. กระบวนการสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนการสารวจ สื บพันธุ์แบบอาศัยเพศ ดอกเป็ นการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึกแสดงผล ของพืชดอกและการ เพศผูและเซลล์ไข่ในออวุล ้ และอธิบายกระบวนการสื บพันธุ์ของพืช ด้วย สื บพันธุ์แบบไม่อาศัย ๒. การแตกหน่อ การเกิดไหล เป็ นการ แผนผังความคิดหรื อแผนภาพและการ เพศของพืช โดยใช้ส่วน สื บพันธุของพืชแบบไม่อาศัยเพศ โดยไม่มี นาเสนอผลงาน ตั้งคาถามใหม่และนาความรู ้ ์ ต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยใน การปฏิสนธิ ไปใช้ในการขยายพันธ์พืช การขยายพันธุ์ ๓. ราก ลาต้น ใบ และกิ่งของพืชสามารถ นาไปใช้ขยายพันธุ์พืชได้ ๑๒. ทดลองและอธิบายการ พืชตอบสนองต่อสิ่ งเร้าภายนอกโดยสังเกตได้ ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐานวางแผน ตอบสนองของพืชต่อ จากการเคลื่อนไหวของส่วนประกอบของพืชที่ และ ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง แสง น้ า และการสัมผัส มีต่อแสง น้ า และการสัมผัส รวบรวมข้อมูล บันทึก วิเคราะห์ นาเสนอและ อธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง น้ า และ การสัมผัส โดยการเขียนรายงานและนาเสนอ ผลการทดลอง ๑๓. อธิบายหลักการและผล ๑. เทคโนโลยีชีวภาพ เป็ นการใช้เทคโนโลยี สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนและเลือกวิธี ของการใช้เทคโนโลยี เพื่อทาให้สิ่งมีชีวตหรื อองค์ประกอบของ ศึกษา รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล จัด ิ ชีวภาพในการขยายพันธุ์ สิ่ งมีชีวตมีสมบัติตามต้องการ ิ กระทา วิเคราะห์ บันทึก แสดงผล อธิบาย ปรับปรุ งพันธุ์ เพิ่มผลผลิต การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือพืช ่ หลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ของพืชและนาความรู ้ไป ๒. พันธุวศวกรรม เป็ นเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ ในการขยายพันธุ์พืช ปรับปรุ งพันธุ์พืชและ ิ ใช้ประโยชน์ ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์และเพิ่ม ผลผลิต และนาเสนอผลงาน ผลผลิตของพืช
  • 4. 4 สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓. ๑ เข้ าใจสมบัติของสาร ความสั มพันธ์ ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้ างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่ างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งทีเ่ รียนรู้ นาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๑. ทดลองและจาแนกสาร ๑. เมื่อใช้เนื้อสารเป็ นเกณฑ์จาแนกได้เป็ น ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ เป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อสาร สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ซึ่งสารแต่ละ ออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวมข้อมูล หรื อขนาดอนุภาคเป็ น กลุ่มจะมีสมบัติแตกต่างกันเมื่อใช้อนุภาคของ จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก สรุ ปผลการ เกณฑ์ และอธิบายสมบัติ สารเป็ นเกณฑ์ จาแนกสารเป็ นสารแขวนลอย ทดลองจาแนกสารเป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อสาร ของสารในแต่ละกลุ่ม คอลลอยด์ และสารละลาย ซึ่งสารแต่ละกลุ่ม หรื อขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์ และอธิบาย จะมีสมบัติแตกต่างกัน สมบัติของสารแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลงาน ๒. อธิบายสมบัติและการ ๑. สี รู ปร่ าง ความแข็ง ความหนาแน่น ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนและออกแบบ เปลี่ยนสถานะของสาร จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็ นสมบัติทาง ศึกษาข้อมูล รวบรวม บันทึก วิเคราะห์ สรุ ป โดยใช้แบบจาลองการ กายภาพของสาร ความเป็ นกรด – เบส นาเสนอและอธิบายเกี่ยวกับสมบัติและการ จัดเรี ยงอนุภาคของสาร ความสามารถในการรวมตัวกับสารอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้ การแยกสลายของและการเผาไหม้ เป็ น แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร และ สมบัติทางเคมี นาเสนอผลงาน ๒. สารในสถานะต่างๆ มีลกษณะการจัดเรี ยง ั อนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งสามารถใช้แบบจาลองการจัดเรี ยง อนุภาคของสาร อธิบายสมบัติบาง ประการได้ ๓. ทดลองและอธิบายสมบัติ สารละลายที่มีน้ าเป็ นตัวทาละลายอาจมีสมบัติ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง ความเป็ นกรด - เบส ของ เป็ นกรด กลางหรื อเบส ซึ่งสามารถทดสอบ เลือกวิธีและทาการทดลอง ตรวจสอบความ สารละลาย ได้ดวยกระดาษลิสมัต หรื ออินดิเคเตอร์ ้ เป็ นกรด – เบส ของสารละลาย โดยใช้วสดุั อุปกรณ์ที่เหมาะสม บันทึกผล วิเคราะห์ ข้อมูลพิจารณาความสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ต้ งไว้และนาเสนอวีธีการและลผที่พบ ั ๔. ตรวจสอบค่า pH ของ ๑. ความเป็ นกรด – เบส ของสารละลาย ระบุ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ สารละลายและนาความรู ้ ค่าเป็ น pH ซึ่งตรวจสอบด้วยเครื่ องมือวัด ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง เพื่อ ไปใช้ประโยชน์ ค่า pH หรื อยูนิเวอร์ซลอินดิเคเตอร์ ั ตรวจสอบความเป็ นกรด – เบส ของสารใน ๒. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวตประจาวันมีความ ิ ชีวตประจาวัน โดยใช้วสดุอุปกรณ์ที่ ิ ั เป็ น กรด – เบส แตกต่างกันจึงควร เหมาะสม บันทึกผล วิเคราะห์ขอมูล พิจารณา ้ เลือกใช้อย่างถูกต้องปลอดภัยต่อตนเอง ความสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้งไว้ ั และสิ่ งแวดล้อม นาเสนอวิธีการและผลการตรวจสอบความ เป็ นกรด – เบส ของสารและนาความรู ้ไปใช้ ในชีวตประจาวัน ิ
  • 5. 5 สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้ าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลียนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ ่ เกิดปฏิกริยา มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รียนรู้ และ ิ นาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๑. ทดลองและอธิบายวิธีเตรี ยม ๑. สารละลายประกอบด้วยตังละลายและตัว ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนและ สารละลายที่มีความเข้มข้น ทาละลาย สารละลายที่ระบุความเข้มข้น ออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวมข้อมูล เป็ นร้อยละ และอภิปรายการ เป็ นร้อยละ หมายถึงสารละลายที่มี บันทึก วิเคราะห์ขอมุล สรุ ปผลการทดลอง ้ นาความรู ้เกี่ยวกับสารละลาย อัตราส่วนของปริ มาณตัวละลายอยูใน ่ เขียนรายงานอธิบายวิธีการเตรี ยม ไปใช้ประโยชน์ สารละลายร้อนส่วนในชีวตประจาวัน ได้มี ิ สารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ นา การนาความรู ้เรื่ องสารละลายไปใช้ ั ความรู ้ไปใช้กบตัวอย่างหรื อสถานการณ์ใหม่ ประโยชน์ทางด้านการเกษตร สร้างแผนภาพแสดงการนาความรู ้ไปใช้ อุตสาหกรรม อาหาร การแพทย์ และด้าน ประโยชน์ และนาเสนอผลงาน อื่น ๆ ๒. ทดลองและอธิบายการ เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนสถานะและเกิดการ ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผน เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล ละลายมวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่ และออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม และพลังงานของสาร สมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการ และวิเคราะห์ขอมูล สรุ ปผลการทดลอง และ ้ เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและ ถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับ อธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ เกิดการละลาย สิ่ งแวดล้อม พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและ เกิดการละลาย และนาเสนอผลงาน ๓. ทดลองและอธิบายปั จจัยที่มี อุณหภูมิ ความดันและชนิดของสาร มีผลต่อ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ ผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และ การเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง รวบรวม การละลายของสาร ข้อมูล วิเคราะห์และสรุ ปผลการทดลอง เขียน รายงานอธิบายปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยน สถานะและการละลาย นาเสนอแผนผังแสดง ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการ ละลายของสารของสาร
  • 6. 6 สาระที่ ๔ แรงและการเคลือนที่ ่ มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้ าใจธรรมชาติของแรงแม่ เหล็กไฟฟา แรงโน้ มถ่ วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสื บ ้ เสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และนาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ อย่ างถูกต้ องและมีคุณธรรม ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๑. สื บค้นข้อมูลและอธิบาย ปริ มาณทางกายภาพแบ่งเป็ นปริ มาณ ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนการสื บค้น ปริ มาณ สเกลาร์ ปริ มาณ สเกลาร์และปริ มาณเวกเตอร์ ปริ มาณสเกลาร์ ข้อมูล สื บค้นข้อมูล รวบรวม บันทึกข้อมูล เวกเตอร์ เป็ นปริ มาณที่มีแต่ขนาด ปริ มาณเวกเตอร์เป็ น วิเคราะห์ สรุ ปผลและเขียนรายงานการสื บค้น ปริ มาณที่มีท้ งขนาดและทิศทาง ั ข้อมูลอธิบายความแตกต่างระหว่างปริ มาณ สเกลาร์และปริ มาณเวกเตอร์ ๒. ทดลองและอธิบายระยะทาง การเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวข้องกับระยะทาง ตั้งคาถาม สังเกต ตั้งสมมติฐาน วางแผน การกระจัด อัตราเร็ ว และ การกระจัด อัตราเร็ วและความเร็ว ระยะทาง และออกแบบการทดลอง ทดลอง รวบรวม ความเร็ วในการเคลื่อนที่ของ หมายถึง ความยาวที่วดตามแนวทางการ ั ข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปทาผังมโนทัศน์อธิบาย วัตถุ เคลื่อนที่ของวัตถุจากแหน่งเริ่ มต้นไปตาแหน่ง ความหมายของระยะทาง การกระจัด สุดท้าย การกระจัด คือ เวกเตอร์ที่ช้ ี อัตราเร็ ว และความเร็ วในการเคลื่อนที่ และ ตาแหน่งสุดท้ายของวัตถุเกี่ยวกับตาแหน่ง นาเสนอผลงาน เริ่ มต้น อัตราเร็ วคือระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ ั ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ความเร็ วคือการ กระจัดของวัตถุในหนึ่งหน่วยเมตร
  • 7. 7 สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้ าใจความสั มพันธ์ ระหว่ างพลังงานกับการดารงชี วต การเปลียนรู ปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ิ ่ ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้ พลังงานต่ อชีวตและสิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การ ิ สื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และ นาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ อุณหภูมิเป็ นปริ มาณที่บอกให้ทราบ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนและ และการวัดอุณหภูมิ ระดับความร้อนของสาร สามารถวัดด้วย ออกแบบการทดลอง ดาเนินการทดลอง เทอร์มอมิเตอร์ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปผล อภิปรายผล การทดลองและนาเสนอผลการทดลองเรื่ อง อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ จัดทารายงานผล การทดลอง ๒. สังเกตและอธิบายการถ่าย ๑. การถ่ายโอนความร้อนมีสามวิธีคือการนา ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการ โอนความร้อน และนาความรู ้ ความร้อน การพาความร้อนและการแผ่ ทดลอง ทาการทดลองเกี่ยวกับการถ่ายโอน ไปใช้ประโยชน์ รังสี ความร้อน ความร้อน รวบรวมข้อมูล บันทึกผลการ ๒. การนาความร้อน เป็ นการถ่ายโอนความ ทดลอง วิเคราะห์ขอมูล และสรุ ปผลการ ้ ร้อนโดยการสันของโมเลกุล ่ ทดลอง ตั้งคาถามใหม่เพื่อสีบค้นข้อมูล วัสดุ ๓. การพาความร้อนเป็ นการถ่ายความโอน อุปกรณ์ต่าง ๆที่นาความร้อนและพาความร้อน ความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไป ไปใช้ประโยชน์ เขียนรายงาน ด้วย ๔. การแผ่รังสี ความร้อนเป็ นการถ่ายโอน ความร้อนจากคลื่นแม่เหล็กไฟ ๓. อธิบายการดูดกลืน การคาย วัตถุที่แตกต่างกันมีสมบัติในการดูดกลืน ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนการสื บค้นข้อมูล ความร้อน โดยการแผ่รังสี ความร้อนและคายความร้อนได้ตางกัน ซึ่ง ่ สื บค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และนาความรู ้ไปใช้ สามารถนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ใน อภิปราย สรุ ปผลและอธิบายการดูดกลืน การ ประโยชน์ ชีวตประจาวัน ิ คายความร้อน โดยการแผ่รังสี ตั้งคาถามใหม่ เพื่อการสื บค้นข้อมูลการนาความรู ้ที่ได้ไปใช้ ประโยชน์ จัดทารายงานและนาเสนอผลงาน เกี่ยวกับการนาความรู ้เรื่ องการดูดกลืน การ คายความร้อนโดยการ แผ่รังสี ไปใช้ประโยชน์ ่ ๔. อธิบายสมดุลความร้อนและ ๑. เมื่อวัตถุสองสิ่ งอยูในสมดุลความร้อน วัตถุ ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการ ผลของความร้อนต่อการ ทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน ทดลอง/สื บค้นข้อมูล ดาเนินการทดลอง/ ขยายตัวของสาร และนา ๒. การขยายตัวของวัตถุเป็ นผลจากความร้อน สื บค้นข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปผล อภิปรายผล ความรู ้ไปใช้ใน ที่วตถุได้รับเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถนาไปใช้ และนาเสนอผลการทดลอง/สื บค้นข้อมูล เรื่ อง ั ชีวตประจาวัน ิ ประโยชน์ในชีวตประจาวัน ิ สมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการ ขยายตัวของสาร และการนาความรู ้ไปใช้ใน ชีวตประจาวัน ิ
  • 8. 8 สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้ าใจกระบวนการต่ าง ๆ ทีเ่ กิดขึนบนผิวโลกและภายในโลก ความสั มพันธ์ ของกระบวนการ ้ ต่ าง ๆ ทีมีผลต่ อการเปลียนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสั ณฐานของโลก มีกระบวนการ ่ ่ สื บเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รียนรู้ และนาความรู้ ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๑. สื บค้นและอธิบาย บรรยากาศของโลกประกอบด้วยแก๊ส ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนการสื บค้น องค์ประกอบและการแบ่ง ่ ต่างๆอยูรอบโลกและสูงขึ้นไปหลายกิโลเมตร สื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล บันทึกข้อมูล ชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิว บรรยากาศแบ่งเป็ นชั้นๆตามอุณหภูมิและการ วิเคราะห์ อภิปราย สรุ ปลผลการสื บค้นข้อมูล โลก เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน นาเสนอรายงานและแผนภาพอธิบาย องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศของ โลก ๒. ทดลองและอธิบาย อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศมี ตั้งคาถาม สังเกต วางแผนสารวจ ความสัมพันธ์ระหว่าง ผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ ตรวจสอบ ทาการทดลองและสื บค้น รวบรวม อุณหภูมิ ความชื้นและความ ข้อมูล วิเคราะห์อธิบาย ความสัมพันธ์ ระหว่าง กดอากาศที่มีผลต่อ อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ ที่มีผล ปรากฏการณ์ทางลมฟ้ า ต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ นาเสนอ อากาศ รายงานผลการทดลอง ๓. สังเกต วิเคราะห์และ อภิปราย ปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ ได้แก่ การเกิด สารวจ สังเกต สื บค้น วิเคราะห์ รวบรวม การเกิดปรากฏการณ์ทางลม เมฆ ฝน พายุ ฟ้ าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน ข้อมูล อภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทาง ลม ฟ้ าอากาศที่มีผลต่อมนุษย์ ลมมรสุม เป็ นต้น ฟ้ าอากาศ และผลที่เกิดต่อมนุษย์ นาเสนอด้วย การจัดสถานีความรู ้ ๔. สื บค้น วิเคราะห์ และแปล การพยากรณ์อากาศ คือการนาข้อมูลเกี่ยวกับ สารวจ สื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล ความหมายข้อมูลจากการ อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น ปริ มาณ วิเคราะห์ และแปลความหมายข้อมูล จากการ พยากรณ์อากาศ เมฆและน้ าฝน มาแปลความหมายเพื่อใช้ พยากรณ์อากาศจัดทารายงานการพยากรณ์ ทานายสภาพอากาศ อากาศ
  • 9. 9 ตัวชี้วด ั ผู้เรียนรู้ อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้ ๕. สื บค้น วิเคราะห์ และ พายุ ปรากฏการณ์เอลนิโญ ลานีญา เกิดจาก สารวจ ตรวจสอบ สื บค้น รวบรวม อธิบายผลของลมฟ้ าอากาศ สภาพลมฟ้ าอากาศที่เปลี่ยนแปลงบนโลก ข้อมูล วิเคราะห์ อธิบายผลของลมฟ้ า ต่อการดารงชีวตของ ิ ส่งผลต่อการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวตและ ิ ิ อากาศที่มีต่อการดารงชีวตของสิ่งมีชีวต ิ ิ สิ่ งมีชีวต และสิ่ งแวดล้อม ิ สิ่ งแวดล้อม และสิ่ งแวดล้อมและจัดนิทรรศการ ๖. สื บค้น วิเคราะห์ และอธิบาย ปั จจัยทางธรรมชาติ และการกระทาของมนุษย์ ตั้งคาถาม สารวจ สังเกต สื บค้น ปั จจัยทางธรรมชาติและการ ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน รู โหว่ของโอโซน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอมูล อภิปราย ้ กระทาของมนุษย์ที่มีผลต่อ และฝนกรด ภาวะดลกร้อน คือปรากฎการณ์ที่ สาเหตุ ของภาวะโลกร้อน รู โหว่โอโซน การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ มีอุณหภูมิเฉลี่ยของดลกสูงขึ้น และฝนกรด นาเสนอข้อมูลในรู ปของ โลก รู โหว่โอโซน และฝน นิทรรศการ กรด ๗. สื บค้น วิเคราะห์และ ๑. ภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดการละลายของ ตั้งคาถาม สารวจ สื บค้น รวบรวม อธิบายผลของภาวะโลก ธารน้ าแข้งระดับน้ าทะเลสูงขึ้น การกัด ข้อมูล วิเคราะห์ อธิบายผล ของภาวะโลก ร้อน รู โหว่โอโซน และฝน เซาะชายฝั่งเพิ่มขึ้น น้ าท่วม ไฟป่ า ส่ง ร้อน รู โหว่โอโซน และฝนกรด ที่มีผลต่อ กรด ที่มีต่อสิ่ งมีชีวตและ ิ ผลให้สิ่งมีชีวตบางชนิดสูญพันธ์และทาให้ ิ สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม นาเสนอข้อมูล ิ สิ่ งแวดล้อม สิ่ ง10. แวดล้อมเปลี่ยนไป โดยการจัดนิทรรศการ เพื่อจัดป้ ายนิเทศ ๒. รู โหว่โอโซน และฝนกรด มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ
  • 10. 10 สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การแก้ ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติทเ่ี กิดขึนส่ วนใหญ่ มีรูปแบบทีแน่ นอน สามารถอธิบายและ ้ ่ ตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือทีมีอยู่ในช่ วงเวลานั้นๆ เข้ าใจว่ า วิทยาศาสตร์ ่ เทคโนโลยี สั งคม และสิ่ งแวดล้อม มีความเกียวข้ องสั มพันธ์ กน ่ ั ตัวชี้วด ั นักเรี ยนรู้ อะไร/ทาอะไรได้ ๑. ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรื อตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรื อ ศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ จะนาไปแทรกในสาระที่ ๑ – ๗ วิธี ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ๓. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผล เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วสดุและเครื่ องมือที่เหมาะสม ั เพือพัฒนาทักษะการคิด ่ ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริ มาณและคุณภาพ ๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุ ป ทั้งที่ สนับสนุนหรื อขัดแย้งกับสมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจ ตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจาลอง หรื อรู ปแบบ ที่อธิบายผลหรื อแสดงผลของการสารวจ ตรวจสอบ ๗. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู ้ที่ได้ ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ ู้ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิมเติมจากแหล่ง ่ ความรู ้ต่าง ๆ ให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู ้ที่ ้ ค้นพบเมื่อมีขอมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม ้ ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และ ผลของโครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ ู้