SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 162
กฎหมาย
ทางการ
พยาบาลและ
การเจรจา
ต่อรอง
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
หัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
คณะอนุกรรมการพิจารณาข้อกฎหมายฯ
2
ทำไมพยำบำล
ต้องรู ้
กฎหมำย
4
พยำบำลทำผิดแล้ว
แก้ตัวว่ำไม่รู้กฎหมำยได้
หรือไม่
5
บุคคลจะแก้ตัวว่ำไม่รู้กฎหมำย
เพื่อให้พ้นจำกควำมรับผิด
ในทำงอำญำ
ไม่ได้(ม.64)
• กฎหมำยมีให้เรียนรู้และสร้ำงภูมิคุ้มกัน
• แต่บำงทีภูมิคุ้มกันมันก็ได้มำจำก
ควำมเจ็บปวด ไม่ว่ำทำงกำย
หรือทำงจิต
ไม่เห็นทุกข์ ก็ไม่เห็นธรรม
•กฎหมำยจึงมีไว้ไม่ให้ผิดซ้ำ
7
โทษทางอาญา
โทษทางแพ่ง
ละเมิดม.420,425,427,
คุ้มครองผู้บริโภค
โทษในฐานะ
ผู้ประกอบวิชาชีพ
ป . อ . ม . 288ฆ่า โ ด ย เ จ ต น า ,
ม.291ประมาทเป็นเหตุให้เสียชีวิต
หรือ ปอ.ม. 297(ทาร้ายร่างกาย
เป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส),
ม.295ทาร้ายร่างกายบาดเจ็บ ปอ.
ม. 300 (ประมาทเป็นเหตุให้ได้รับ
อันตรายสาหัส), ปอ.ม. 390(
ประมาทเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายแก่
กายหรือจิตใจ) เป็นต้น
พระราชบัญญัติ
วิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
พ.ศ.2528,
ฉบับที่ 2พ.ศ. 2540
(ว่ากล่าว ตักเตือน
พักใช้ เพิกถอน,จาคุกปรับ ทั้งจา
ทั้งปรับ)
โทษทางวินัย
1. กระทาโดยจงใจ/ประมาท
2. หน้าที่ต้องกระทาแต่
งดเว้นไม่กระทา
3. กระทาให้บุคคลอื่นเสียหาย
แก่ชีวิต,ร่างกาย,อนามัย,
เสรีภาพ,ทรัพย์สินต้องใช้ค่า
สินไหมทดแทน
ตาม พระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการ พลเรือนใน
สถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗
วินัยกับพนักงาน
มหาวิทยาลัย เช่น
ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้น
เงินเดือน ปลดออก ไล่ออก
โทษของกฎหมายที่ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลควรรู้
สถิติคดีที่ผู้เสียหายฟ้องร ้องกระทรวงสาธารณสุข
ระหว่างปี 2539-2558
ประเภทคดี จานวน(คดี)
2539-2551
จานวน(คดี)
2539-2558
แพ่ง 76 241
อาญา 7 36
ผู้บริโภค - 44
ค่าเสียหาย 2,873 ล ้าน
9
สถิติการฟ้ องร้องกระทรวงสาธารณสุข
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น!
สาเหตุที่ฟ้องมากที่สุด
-รักษาผิดพลาดไม่ได ้
มาตรฐาน 38 เรื่อง
-ทาคลอด 18 เรื่อง และ
-วินิจฉัยผิดพลาด 12 เรื่อง
11
เรื่องร้องเรียนมากกว่า 300 เรื่อง
-ส่วนใหญ่เป็นปัญหาทางด ้านการสื่อสาร
คนไข ้อาศัยแพทย์-พยาบาลเผลอ
ดิ่งชั้น 8 รพ.สมุทรปราการ ดับสยอง!
บุกจับอดีตพยาบาลรับทาแท ้งเถื่อน
หนุ่มฟ้ องพยาบาลฉีดยาทาอวัยวะเพศโด่ไม่ล้ม 55 ชั่วโมง !
ประเภท 1 (240,000 - 400,000)
ความสัมพันธ์ของความเสียหาย
กับการรักษาพยาบาล
ระดับความรุนแรง
เสียชีวิต ทุพพลภาพ
ถาวร
เรื้อรัง
รุนแรง
พึ่งพา
ตลอดเวลา
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับ
โรคที่เจ็บป่ วย
400,000 400,000 320,000
–
360,000
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่
เจ็บป่ วย
360,000 320,000
–
360,000
280,000
–
320,000
ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับ
การรักษาพยาบาล
320,000 280,000
–
320,000
240,000
–
280,000
15สานักกฎหมาย สปสช.
สูติ มารดา
100 ราย
8.99%
สูติ (ทารก
309 ราย
27.78%
อายุรกรรม
137 ราย
12.32%
ศัลยกรรม
184 ราย
16.54%
กุมาร
136 ราย
12.23%
ทาหมัน
94 ราย
8.45%
ศัลยกรรมกระดูก
41 ราย
3.68%
อื่น
111 ราย
9.98%
ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้น
ปีงบประมาณ 2557
จาแนกตามแผนกที่เข ้ารับบริการ
ผลการพิจารณาของคอก.จังหวัดปี งบประมาณ 2557
จาแนกตามประเภทหน่วยบริการ
หน่วยบริการ คาร้อง
ไม่
เข้าเกณฑ์
เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3)
จานวนเงิน
(บาท)
รพศ. 192 42 150 91 17 42 31,876,600
รพท. 296 47 249 137 42 70 50,704,800
รพช. 574 68 506 269 53 184 92,368,900
คณะแพทย์ 28 6 22 12 6 4 4,324,000
รพ.เอกชน 24 9 15 6 1 8 1,940,000
รพ.สต.,สอ. 34 5 29 6 3 20 2,479,000
สังกัด กทม. 8 2 6 4 - 2 1,220,000
สังกัด
กรมการแพทย์
9 4 5 2 - 3 640,000
คลินิก 2 - 2 1 - 1 410,000
รพ.สังกัด
เหล่าทัพ
5 2 3 2 1 - 600,000
อื่น ๆ 10 2 8 3 2 3 1,610,000
รวม 1,182 187 995 533 125 337 188,173,300
07/12/59
กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานักกฎหมาย
• วันที่ ๑๕ ด.ญ. รุ่งอรุณ ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติหตุ ขาซ้ายหัก แบบชนิด
ปิด รพ.รับไว้รักษาในตึกผู้ป่วยใน
• วันที่ ๑๖ เวลา ๙.๐๐น. แพทย์มาดูอาการ เอ็กซเรย์ ดึงกระดูกแบบถ่วง
น้าหนักด้วยถุงทราย
• วันที่ ๑๗ เวลา ๙.๐๐ น แพทย์มาดูอาการ พบนิ้วเท้าและหลังเท้าของ
ผู้ป่วยมีสีเขียวมากขึ้น ส่งต่อ
• รพศ พบว่าเส้นเลือดแดงบริเวณแข็ง มีลิ่มเลือดอุดตัน แสดงว่าขาดเลือด
มากกว่า ๖ ชม.ต้องตัดขาข้างซ้าย
• ฟ้องละเมิด กระทรวงสาธารณสุข ๘,๔๓๑,๘๐๐ บาท
• วันที่ ๓ ก.ค. นาง เนตรดาว ถูกงูกัด ญาตินาส่งรพ. เวลา ๑๖.๓๐
น ผู้ป่วยและญาติแจ้งว่าถูกงูเขียวหางไหม้กัด เวลา ๑๗.๓๐ น. รับ
ไว้ใน รพ. แพทย์เจ้าของไข้กาลังผ่าตัดไส้ติ่ง เวลา ๑๙.๐๐ น.
พยาบาล ไปตรวจพบผู้ป่วยหลับอยู่ เรียกไม่ตื่น ช่วยฟื้นคืนชีพ ต่อ
เครื่องช่วยหายใจ จนวันที่ ๔ ก.ค. เสียชีวิต เวลา ๑๖.๔๐ น
• ยื่นฟ้องละเมิด กระทรวง ค่าเสียหาย ๔๐๐,๐๐๐ บาท
ชะลอการใช้มาตรา ๑๘(๔)
ให้ใช้มาตรา ๔๒
24
จากกรณีที่ศาลจังหวัดขอนแก่น ได้ตัดสินคดีอุทธรณ์สั่งให้โรงพยาบาลน้าพอง จ.ขอนแก่น จ่ายค่าชดเชยแก่ครอบครัวเด็กที่อายุ 2
ปี ที่ได้รับผลกระทบระหว่างคลอด เมื่อพ.ศ. 2555 เมื่อ15 กรกฎาคม 2557 และส่งผลกระทบต่อขวัญกาลังใจของแพทย์
พยาบาลที่ปฏิบัติงาน นั้น
ความคืบหน้าในเรื่องดังกล่าว 16 กรกฎาคม 2557 นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า
กรณีดังกล่าวเป็นเหตุสุดวิสัยที่เกิดขึ้นขณะคลอดไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น โดยกระทรวงสาธารณสุข จะให้การดูแลทั้งผู้เสียหายและ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ และจะส่งเรื่องนี้เข้าสู่การพิจารณาของศาลฎีกาพิจารณาข้อเท็จจริงอีกครั้ง ขอให้ผู้ปฏิบัติงาน
ทางานเพื่อประชาชนอย่างเต็มกาลังต่อไป
คดีโรงพยาบาลน้าพอง- คลอดติดไหล่
25
26
ถอดบทเรียนจากรณีฟ้ องคลอดติดไหล่
(รพ.น้าพอง จ.ขอนแก่น)
• ในการต่อสู้คดีแพ่งนั้น หลักที่ใช้กันคือในคดีแพ่งศาลจะเชื่อในพยาน
เอกสารมากกว่าพยานบุคคล เพราะพยานเอกสารจะยืนยันในตัวเองตาม
ข้อความที่มีบันทึกไว้แต่พยานบุคคลนั้นเวลามาศาลก็จะมีปัจจัยอื่นที่
ศาลให้น้าหนักน้อยเช่นตื่นเต้น ,หวาดกลัวการซักความซักค้านของ
ทนายอีกฝ่าย , ความคุ้นเคยกับฝ่ายโจทก์หรือจาเลย ทาให้ความน่าเชื่อถือ
ลดลง ดังนั้นในคดีนี้เมื่อจาเลย(พยาบาลผู้มีประสบการณ์ของห้องคลอด
โรงพยาบาล) อ้างพยานเอกสารเข้ามาในคดีแต่พยานเอกสารนี้กลับเป็น
ผลเสียกับฝ่ายจาเลยเอง ศาลจะให้น้าหนักมากในการตัดสินมากดัง
ข้อความในเอกสารวิชาการที่ว่าการคลอดติดไหล่นั้นต้องทาคลอดโดย
แพทย์
เอกสารคือหลักฐาน
• ในคาพิพากษาศาล พยาบาลผู้ทาคลอดก็มีประสบการณ์ทาคลอดมาเป็น
๑๐๐๐ราย เคยเห็นและช่วยเด็กคลอดติดไหล่มาแล้ว แต่พยาบาลท่านนี้
ไม่ได้นาเอาหลักฐานใดๆมาสืบ ซึ่งโรงพยาบาลชุมชน น่าจะมีเด็กที่เคยทา
คลอดติดไหล่พามาให้ศาลดูด้วยว่ามีประสบการณ์ ถ้าเพียงแต่อ้างเฉยๆนั้น
ยังไม่พอ
• เมื่อพยาบาลท่านนี้ที่ทาคลอดต่อสู้ว่าพยาบาลก็ทาคลอดได้และเมื่อลองดึง
เด็กคนนี้แล้วดึงไม่ได้ก็ตามแพทย์นั้น ในการสืบพยานของพยาบาลท่านนี้
ต้องนาพยานบุคคลที่อยู่ในวิสัยและพฤติการณ์เช่นเดียวกันมาสืบ หมายถึง
ต้องนาพยาบาลที่มีชั่วโมงบินในการทาคลอดเหมือนกันมาซักความ ให้
ศาลเห็นว่าพยาบาลท่านนี้ได้ทาในสิ่งที่พยาบาลปรกติทั่วไปทาแล้ว ไม่ได้
ทาไปเกินกว่าที่พยาบาลจะทา
บันทึกทางการพยาบาล
• ๘.๐๐ น. รับใหม่ G2P1A0L1 มาโดยรถเข็นนั่ง ด้วยอาการเจ็บครรภ์
คลอด มีน้าเดินเวลา ๐๕.๐๐ น แรกรับรู้สึกตัวดี สีหน้าไม่สุขสบาย PV
….FHS…เฝ้าระวังภาวะFetal distress ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์
คลอด/วิตกเกี่ยวกับการคลอด
I ตรวจร่างกาย ตรวจภายใน ฟังเสียงหัวใจ จับcontraction อธิบายแผนการ
รักษา แนะนาการหายใจ ดูแลให้นอนคะแตง
• ๙.๐๐ น เจ็บครรภ์ถี่ .......ร้องครวญคราง พูดให้กาลังใจ
• ๙.๔๐น. PV Fully dilate ย้ายเข้าห้องคลอด....
ขณะเบ่งคลอด รายงานแพทย์เวรทาคลอด/รายงานกุมารแพทย์ คลอดปกติ
ติดไหล่ ๒๐ วินาที ทารกเพศหญิง......
กฎหมายวิชาชีพ
และ
ตัวอย่างกรณี
จริยธรรม
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
ควำมสำคัญของพระรำชบัญญัติ
วิชำชีพกำรพยำบำลและกำรผดุงครรภ์
เครื่องมือที่รัฐใช ้ควบคุมคุณภาพและ
มาตรฐานบริการวิชาชีพ
44
-เป็นหลักประกันแก่ประชาชนว่าจะได ้รับ
บริการที่มีประสิทธิภาพ
-ไม่ถูกผู้ประกอบวิชาชีพเอารัดเอาเปรียบ
หรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลจนเกิดความเสียหาย
เพื่อ
กฎหมำยว่ำด้วยจริยธรรม
• คุ้มครอง สังคมโดยรวม
• เริ่มจำกกำรร้องทุกข์โดยผู้เสียหำยหรือกล่ำวโทษโดยผู้อื่น
ไปยังสภำวิชำชีพ
• ถ้ำมีกำรกระทำผิดมำตรฐำนกำรประกอบวิชำชีพจะถูก
มำตรกำรลงโทษของสภำวิชำชีพ
• ภำระกำรพิสูจน์ใช้หลักกำรไต่สวนหำควำมจริง
จริยธรรมแห่งวิชาชีพพยาบาล (THE CODE FOR NURSES)
- เป็นสากลใช้ทั่วโลก
- ประกาศโดยสภาการพยาบาลสากล (ICN) เมื่อเดือนพฤษภาคม
2516 ที่เมืองเม็กซิโก ซิตี้
- ประเทศไทยสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยประกาศใช้
“จริยาบรรณวิชาชีพพยาบาล” เมื่อ 26 ตุลาคม 2528 เมื่อมี
สภาการพยาบาล ได้มีบทลงโทษผู้ประพฤติผิดไว้ด้วย
- ออกโดยสภาการพยาบาลอาศัยอานาจตาม พ.ร.บ.วิชาชีพการ
พยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528
- ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
การพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2550 (มีทั้งสิ้น 35 ข้อ)
จริยธรรมแห่งวิชาชีพพยาบาลของประเทศไทย
การดาเนินด ้านการด ้านจริยธรรมวิชาชีพ
ตามข ้อบังคับสภาการพยาบาล
ว่าด ้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
การพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ๔ ผู้ประกอบวิชาชีพย่อมดารงตนในสังคม
โดยธรรมและเคารพกฎหมายบ้านเมือง
ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมประกอบวิชาชีพ
ด้วยเจตนาดี โดยไม่คานึงถึงฐานะ เชื้อชาติ
ศาสนา สังคมและลัทธิการเมือง
กรณีตัวอย่าง จากคาพิพากษา
 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ วันที่..พาดหัวข่าว “บุกรวบตัวพยาบาลพัวพันแก๊ง
ยาคุก” นายาบ้าส่งมอบให้แก่ผู้ต้องขังในเรือนจา หลังถูกจาคุกขยายผล
พบ ยาเสพติด อีก ๙๘๐ เม็ดในตู้เหล็กที่ทางาน
 ศาลพิพากษาจาคุก ๑๐๐ปี ปรับรวม ๔,๕๐๐,๐๐๐ บาท ข้อหามีไว้
ครอบครองและจาหน่าย รับสารภาพ ลดโทษเหลือจาคุก ๕๐ ปี
 เลขาธิการสภาการพยาบาล ใช้สิทธิกล่าวโทษตามมาตรา ๓๓ วรรค
สอง แห่ง พรบ.ฯ
 เพิกถอนใบอนุญาตและพ้นสมาชิกภาพ
 ถูกไล่ออกจากราชการ ปฏิบัติงานปี ๒๕๔๖
ขับรถไม่มีใบขับขี่
นาง อุรา พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลอดทน กระทา
ความผิดตามพระราชบัญญัติขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ฐานขับรถบรรทุกโดยไม่มีใบอนุญาต กาหนดโทษจาคุก ๖
เดือน ปรับ ๘,๐๐๐ บาท
 และกระทาความผิดพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพล
เรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตนและรักษา
เกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย
ถูกลงโทษภาคทันฑ์
กรณีตัวอย่าง จากคาพิพากษา
 ถูกกล่าวหาว่า” นาง ....ได้เบียดบังเงินสมาชิกกองทุนสวัสดิการเจ้าหน้าที่ เป็น
ของตนเองโดยทุจริต” ตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษา
จริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในข้อ๔ ที่
กาหนดว่า”ผู้ประกอบวิชาชีพย่อมต้องดารงตนให้สมควรในสังคม โดยธรรม
และเคารพต่อกฎหมายบ้านเมือง และข้อ๖ “ ผู้ประกอบวิชาชีพย่อมไม่
ประพฤติหรือกระทาการใดๆ อันเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ”
 ศาลจังหวัดมีคาพิพากษาถึงที่สุด ว่ามีความผิดจานวน ๕๐ กระทง ลงโทษตาม
ประมวลกฎหมายอายา มาตรา ๙๑ จาคุกกระทงละ ๔ เดือน ปรับกระทงละ
๑,๐๐๐ บาท จาเลยสารภาพลดโทษให้กึ่งหนึ่ง ตามมาตรา๗๘ รวมจาคุก ๑๐๐
เดือน ปรับ ๒๕,๐๐๐ บาท
ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชำชีพ ย่อมประกอบวิชำชีพด้วยเจตนำดี โดยไม่
คำนึงถึงฐำนะ เชื้อชำติ ศำสนำ สังคมและลัทธิกำรเมือง
• หัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลเป็นใจ มีคาสั่งให้หัวหน้าหอผู้ป่วย
พิเศษ จัดเวรพยาบาลเฝ้า นาย อวดเบ่ง อดีตรัฐมนตรี โดยเบิก
ค่าตอบแทนนอกเวลาราชการจากเงินบารุงโรงพยาบาล ต่อมานาย
อวดเบ่งและคณะไปรับประทานอาหารที่ร้านอาหาร ร้องเพลงคารา
โอเกะ ได้จัดให้มีพยาบาลเฝ้าไข้เวรบ่ายและพยาบาลเวรตรวจการ
ไปด้วยในชุดพยาบาล
• พยาบาลเป็นผู้กล่าวโทษมายังสภาการพยาบาล ว่าการกระทาของ
หัวหน้าก่อให้เกิดความเสื่อมเสียศักดิ์ศรีวิชาชีพ

ข้อ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพไม่ประพฤติหรือกระทาการใดๆ
อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกรียติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
ใช่เรื่องหรือเปล่า
 น.ส. จิตร ได้ให้ข้อมูลว่าช่วงเช้า ได้รับโทรศัพท์ จาก นางดารินทร์ ว่า
นาย ส. ซึ่งเป็นมะเร็งกล่องเสียง และเป็นผู้ป่วยที่ น.ส.จิตรดูแลและ
เยี่ยมบ้าน ต้องการทาพินัยกรรม ต้องการให้ตนไปเป็นพยายาน ตนจึง
ได้ไปที่บ้านผู้ป่วย พบภรรยาผู้ป่วย น้องชายผู้ป่วย และนางดารินทร์
บุตรผู้ป่วย ตนได้พูดคุยและประเมินผู้ป่วยก่อนทาพินัยกรรมแล้วพบว่า
ผู้ป่วยยังมีสติสัมปชัญญะ ตนจึงเห็นว่าสามารถทาพินัยกรรมได้ ภรรยา
ผู้ป่วยได้บอกให้คนอ่านรายละเอียดในพินัยกรรมให้ทุกคนฟัง ตนก็ได้
สอบถามผู้ป่วยว่าต้องการให้นางดารินทร์ เป็นผู้จัดการมรดกใช่หรือไม่
ผู้ป่วยพยักหน้า ตนจึงประคองแขนขวาเพื่อให้ผู้ป่ วยประทับลายมือใน
พินัยกรรมและตนจึงลงลายมือเป็ นพยานและมีตารวจอีกคนลงลายมือ
เป็นพยานด้วย
ไม่ใช่ลูกฟุตบอล
 นางร้อนรน ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพชานาญการ ได้ร่วมกับสามีทาร้ายร่างกายนาย
ใจเย็น เพื่อนร่วมงาน ขณะที่กาลังปฏิบัติงานร่วมกัน โดยใช้เท้าเตะขณะที่ตนสวมใส่
ชุดพยาบาล ซึ่งเป็นแบบฟอร์มในการปฏิบัติหน้าที่อันทรงเกียรติ ต่อหน้าผู้ป่วยและ
ญาติผู้ป่วยจานวนหลายคน ทาให้ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลเสียหาย
 พฤติการณ์ของนางร้อนรน ดังกล่าว เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ฐานไม่
สุภาพเรียบร้อย ไม่รักษาความสามัคคี ในการปฏิบัติราชการระหว่างผู้ร่วมปฏิบัติ
ราชการ และฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตนและไม่รักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ง
หน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ตามมาตรา ๙๓
และมาตรา ๙๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.
๒๕๓๕ และมาตรา ๑๓๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.
๒๕๕๑ ลงโทษภาคทัณฑ์
 ข้อ ๗ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องรักษามาตรฐานของวิชาชีพตามที่สภา
ประกาศกาหนดโดยไม่เรียกร้อง สินจ้างรางวัลพิเศษนอกเหนือค่าบริการที่
สมควรได้รับตามปกติ
 ข้อ ๘ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่จูงใจ หรือชักชวนผู้ใดให้มาใช้บริการการ
พยาบาลหรือการผดุงครรภ์เพื่อประโยชน์ของตน
 ข้อ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่เรียกร้องขอรับผลประโยชน์เป็น
ค่าตอบแทนเนื่องจากการรับหรือส่งผู้ป่วยหรือผุ้ใช้บริการเพื่อรับบริการ
ทางการพยาบาลหรือการผดุงครรภ์
 นาง มันทา ได้กระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่
ราชการ กรณี ประมาทเลินเล่อให้เลือดผู้ป่วยผิดคน ทาให้ผู้ป่วย
ดังกล่าวเกิดอาการแพ้เป็นการกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ฐานไม่
ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตาม ตาม มาตรา๘๔ วรรคหนึ่งแห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงโทษดัด
เงินเดือน ๓ เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา ๑ เดือน
 ผู้ป่วยมาด้วยอุบัติเหตุ ศรีษะฟาดพื้นสลบไป๕นาที มาถึง รพ.เวลา ๑๘.๐๐ น พูดได้
ต่อมามีอาการอาเจียนเป็นเลือด พยาบาลบอกว่าไม่เป็นอะไร
 เวลา ๒๒.๐๐ ผู้ป่วยเริ่มสับสน ความรู้สึกตัวลดลง ญาติเข้าไปคุยกับพยาบาล
พยาบาลแจ้งว่าไม่เป็นไรแต่ไม่ได้เข้ามาดูคนไข้ ญาติจึงขอย้ายไปโรงพยาบาล
เอกชน พยาบาลบอก”ถ้าอยากไป ก็ต้องเซ็นอกสารไม่ยอมอยู่” ญาติจึงเซ็นชื่อ
พยาบาลมาบอกอีกว่า “รถโรงพยาบาลไม่ส่งนะ ให้ไปเอง “ จากนั้นพยาบาลถอด
น้าเกลือและชุดคนไข้ออก และพูดว่า “ถ้าผู้ป่วยเป็นอะไรทางโรงพยาบาลไม่
รับผิดชอบนะ”
 ญาติรีบนาผู้ป่วยไปเองถึงโรงพยาบาลเอกชน ใช้เวลาเดินทาง ๒๐ นาที แพทย์แจ้งว่า
มาช้า มีเลือดออกทั่วสมองแล้ว รพ.เอกชน จึงส่งตัวไปโรงพยาบาลศูนย์ ใช้
เครื่องช่วยหายใจ ต่อมาผู้ป่วยเสียชีวิต
ใครเคยเย็บบ้าง
นาย ยอดเข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุ มาถึง รพ.มี
พยาบาล ผู้ช่วยเหลือคนไข้ และนักศึกษาพยาบาล
ช่วยกันทาความสะอาดแผลและเย็บแผล แต่ก่อนจะเย็บ
แผล มีพยาบาลคนหนึ่งได้เอ่ยกับนักศึกษาพยาบาลว่า “
ใครเคยเย็บแผลบ้าง “ ไม่มีใครตอบว่าเคยเย็บ
พยาบาลจึงสอนกันเย็บแผล
นาง ธารา พยาบาลวิชาชีพ ถูกนายพิมุก กล่าวหา ผู้ป่วยเข้า
รับการรักษาที่รพ. ด้วยอาการเลือดออกไม่หยุดหลังจากไป
ถอนฟันจากคลินิกแห่งหนึ่ง แพทย์สั่งให้ใช้อะดรีนาลินแพ็ค
ด้วยวาจา ตานางธารา นาอะดรีนาลินฉีดเข้าเส้นเลือดดา
บริเวณข้อพับ ทาให้ผู้ร้องมีอาการกระสับกระส่าย หัว
ใจเต้นแรง หายใจไม่ออก
 กระทาผิดวินัย ในกรณีเจตนาดีในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย
ไม่ต้องการให้ผู้ป่วยใช้มือดึงลวดมัดฟันออก เพราะการดึงลวดทา
ให้ปากเกิดบาดแผล จึงให้ผู้ช่วยเหลือคนไข้จับมือผู้ป่วยในท่ากา
มือและใช้ผ้ายางยืดพันมือโดยรอบ๑ ม้วน หลังพันผู้ป่วยยังคง
พยายามคลายมืออก จึงได้ใช้ผ้ายางยืดพันทับอีก๑ ม้วน ไม่ได้
รายงานหัวหน้าเวร การพันดังกล่าวผิดมาตรฐานวิชาชีพ ไม่ได้
คลายผ้าทุก ๑-๒ ชั่วโมง รวม ๔๑ ชั่วโมง เป็นเหตุให้เลือดไป
เลี้ยงมือไม่พอ มือทั้ง๒ ข้างบวม จนในที่สุดถูกตัดนิ้วมือบริเวณ
ปลายนิ้วนาง และนิ้วก้อยไปครึ่งนิ้ว
 กระทาผิดวินัยร้ายแรงฐานปฏิบัติหน้าที่ด้วยความไม่เอาใจใส่
ระมัดระวังประโยชน์ของราชการ ประมาทเลินเล่อในหน้าที่
ราชการ ตามมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง
ข้อ ๑๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องปฏิบัติต่อผู้ป่วย
หรือผู้ใช้บริการโดยสุภาพและปราศจากการ
บังคับขู่เข็ญ
ข้อ ๑๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่หลอกลวง
ผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ ให้หลงเข้าใจผิดเพื่อ
ผลประโยชน์ของตน
บอกให้ไปนอนก็ไม่ฟั ง อัด....ซะ!
 นำยอิทธิฯ ตำแหน่งพยำบำลวิชำชีพ ขณะปฏิบัติหน้ำที่อยู่เวรพยำบำลผู้ป่ วย
เมื่อเวลำประมำณ 20 นำฬิกำเศษ นำยสิงห์ ผู้ป่ วยรำยหนึ่งได้ส่งเสียงเอะอะ
โวยวำย นำยอิทธิฯ จึงไปสอบถำมอำกำรจึงทรำบว่ำนำยสิงห์ หิวข้ำว แต่
เนื่องจำกในช่วงเวลำดังกล่ำวผู้ป่ วยต้องพักผ่อน จึงแนะนำให้นำยสิงห์ หยุดร้อง
และนอนพักผ่อน จำกกรณีดังกล่ำวทำให้นำยเสือ ผู้ป่ วยเตียงข้ำงเคียงนอนไม่
หลับและลุกขึ้นจำกเตียง นำยอิทธิฯ บอกให้นำยเสือ ไปที่เตียงนอน 2 ครั้ง แต่
นำยเสือ ไม่ทำตำม นำยอิทธิฯ จึงถำมว่ำ “นอนเองได้ไหม ….ทำไมบอกยำกจัง
.....ถ้ำไม่นอนจะเอำผ้ำมัดไว้นะ” นำยอิทธิฯ ได้บอกให้ นำยเอกชัยฯ ผู้ช่วย
เหลือคนไข้ไปเอำผ้ำมำ ทำให้ นำยเสือ ปัดมือนำยอิทธิฯ และตรงเข้ำมำหำนำย
อิทธิฯด้วยท่ำทำงหงุดหงิด นำยอิทธิฯ เกรงว่ำ นำยเสือฯ จะทำร้ำยตน จึงชก
ไปที่คำงนำยเสือ 1 ครั้ง จำกนั้น นำยอิทธิฯ และนำยเอกชัยฯ ร่วมกันจะจับนำย
เสือ แต่นำยเสือกระโดดขึ้นบนเตียงและพูดว่ำ “งั้นต่อยตัวต่อตัว” เมื่อพูดจบ
นำยเสือ ได้กระโดดลงจำกเตียง แต่ได้เข้ำชกต่อยนำยเอกชัยฯแทน โดยนำยเอก
ชัยฯ ไม่ได้ตอบโต้แต่อย่ำงใด นำยอิทธิฯ อยู่ในที่เกิดเหตุกลับไม่แยกทั้งคู่ออก
จำกกัน ปล่อยให้ทั้งคู่ชุลมุนกันประมำณ 5 นำที จึงแยกจำกกันเอง
• พฤติกรรมของนายอิทธิฯ เป็นความผิดวินัยฐาน ไม่ให้ความสงเคราะห์แก่
ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ ด้วยความสุภาพเรียบร้อย โดยกระทาการข่มเหง
ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ และฐานไม่รักษาชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของ
ตาแหน่งหน้าที่ราชการ โดยกระทาการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ตาม
มาตรา 94 วรรคหนึ่ง และมาตรา 98 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 ได้รับโทษภาคทัณฑ์
 ข้อ ๑๒ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่
คานึงถึงความปลอดภัยและความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย
หรือผู้ใช้บริการ
 ข้อ ๑๓ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพ
การผดุงครรภ์ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะ
อันตรายจากการเจ็บป่วยเมื่อได้รับการขอร้องและตนอยู่
ในฐานะที่จะช่วยได้
 ข้อ ๑๔ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ออกใบรับรองเป็นเท็จ
โดยเจตนา หรือให้ความเห็นโดยไม่สุจริตในเรื่องใดๆ อัน
เกี่ยวกับวิชาชีพของตน
 ข้อ ๑๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่เปิดเผยความลับของ
ผู้ป่วย หรือผู้ใช้บริการ ซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการ
ประกอบวิชาชีพเว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วยหรือ
ผู้ใช้บริการ หรือเมื่อต้อปฏิบัติตามกฎหมายหรือตาม
หน้าที่
เสนอผลงานเท็จ
• นางสดใส พยาบาลวิชาชีพ 7 หัวหน้าหอผู้ป่ วยเด็ก โรงพยาบาลสายสวรรค์ ได ้
เสนอผลงานขอประเมินเพื่อแต่งตั้งขึ้นดารงตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ 8 (ด ้านการ
พยาบาลผู้ป่ วยหนัก) ได ้ส่งเอกสารแบบประเมินบุคคลและผลงาน ส่วนที่ 2 ผล
การปฏิบัติงานหรือผลสาเร็จของงาน โดยระบุจานวนปริมาณงานด ้านบริการ/
ปฏิบัติงานย ้อนหลัง 3 ปี ในส่วนของผลงานเฉพาะตัว หัวข ้อเรื่องการพยาบาลที่
ต ้องใช ้เครื่องมือพิเศษ การรักษาด ้วยแสงเป็นเท็จ เนื่องจากการรักษาด ้วยแสงใน
โรงพยาบาลสายสวรรค์ มีหอผู้ป่ วยกุมารเวชกรรม เท่านั้นที่จะสามารถทาหัตถการ
ดังกล่าวได ้ และในส่วนของผลงานทางวิชาการ นางสดใส ได ้นาแฟ้มประวัติผู้ป่ วย
จานวน 3 แฟ้ม มาเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างการพยาบาลผู้ป่ วยโรคไข ้เลือดออก
โดยกรณีศึกษารายที่ 1 และรายที่ 3 มีข ้อมูลบางประการที่ไม่ตรงกับผลงานทาง
วิชาการที่นาเสนอ ส่วนกรณีศึกษารายที่ 2 มีข ้อมูลค่อนข ้างตรงกับผลงานทาง
วิชาการที่นาเสนอ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขพิจารณาแล ้วมีความเห็นว่า
การที่นางสดใส ได ้เสนอผลงานประเมินเพื่อแต่งตั้งขึ้นดารงตาแหน่งพยาบาล
วิชาชีพ 8 (ด ้านการพยาบาลผู้ป่ วยหนัก) ซึ่งเป็นความเท็จบางส่วนดังกล่าวเสนอ
ต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับ เป็นความผิดวินัย ฐานรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา
และฐานประพฤติชั่ว ตามมาตรา 90 วรรคหนึ่ง และมาตรา 98 วรรคหนึ่ง แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบ ข ้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 จึงได ้มีคาสั่งลงโทษตัด
เงินเดือน นางสดใส จานวน 5% เป็นเวลา 2 เดือน
กลุ่มงานวินัยและระบบคุณธรรม สานักบริหารกลางสานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งคาลงโทษวินัยข้าราชการ
ข้าราชการกระทาผิดวินัยฐานกระทาอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว
ตามมาตรา๙๘ แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน
นางสาว...ได้ปลอมลายมือชื่อผู้อานวยการโรงพยาบาล.. ในหนังสือ
รับรองเงินเดือนให้นาง.............ที่อ้างว่านาไปประกอบการค้า
ประกันในการกู้ยืมเงินกับบริษัทไฟแน้ท.เอกสารได้นาไปใช้
ประกอบการจัดทาสินเชื่อ กับบริษัท จนมีการอนุมัติเงิน
ตารางเวรสองฉบับ
• นางแดง ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ หัวหน้างานอุบัติเหตุ ได้จัดทาตาราง
เวรปฏิบัติงานนอกเวลาราชการและในวันหยุดราชการของงานอุบัติเหตุ
เป็ น 2 ฉบับไม่ตรงกัน โดยฉบับที่ 1 ใช้เสนอผู้อานวยการโรงพยาบาล
อนุมัติและใช้เป็ นหลักฐานประกอบการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการอยูเวร
นอกเวลาราชการให้กับเจ้าหน้าที่ที่อยู่เวร ส่วนฉบับที่ 2 จัดตารางเวรตาม
ความต้องการของเจ้าหน้าที่ที่อยู่เวรซึ่งวันที่อยู่เวรไม่ตรงกับตารางเวร
ฉบับที่ 1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่จะต้องอยู่เวรสะดวกในการขึ้นเวรโดยเฉพาะ
เรื่องความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ที่ต้องออกเวรเวลาประมาณ 24.00 น.
และมารับเวรเวลาประมาณ 23.00 น.-24.00 น. โดยในช่วงเวลาดังกล่าว
ไม่มีรถโดยสารประจาทางผ่านหน้าโรงพยาบาลและโรงพยาบาลไม่
สามารถจัดห้องพักเวรให้เจ้าหน้าที่ได้ ส่วนตารางเวรฉบับที่ 1 จะใช้เป็ น
หลักฐานประกอบการเบิกจ่ายค่าตอบแทน สาหรับการเบิกเงินค่าเวรจะ
เบิกตามจานวนเวรที่อยู่จริงและเบิกตามสิทธิของผู้ที่อยู่เวร
• พฤติกรรมของนางแดง ที่จัดตารางเวร 2 ฉบับไม่ตรงกัน
เป็นการกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร ้ายแรง ฐานรายงานเท็จ
ต่อผู้บังคับบัญชา ตามมาตรา 83 (1) ประกอบมาตรา 84
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข ้าราชการพลเรือน
พ.ศ.2551 และการที่ให ้นางเหลือง อยู่เวรแทนนางเขียว
พยาบาลวิชาชีพ ทั้งที่นางเหลือง เป็นเพียงพนักงานเวช
กิจซึ่งไม่มีคุณสมบัติที่จะปฏิบัติงานการพยาบาลได ้เป็น
การกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร ้ายแรง ฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่
ราชการให ้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบของทาง
ราชการ ตามมาตรา 82(2) ประกอบมาตรา 84 แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบข ้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
ลงโทษตัดเงินเดือน จานวน 5% เป็นเวลา 1 เดือน
สั่งยาเพิ่มเติมจากที่แพทย์
 นางสาวยาใจ พยาบาลวิชาชีพ ในขณะที่ปฏิบัติงานเป็น
หัวหน้าเวรดึก ระหว่างเวลา 24.00 – 08.30 น. แพทย์เวร
ได ้เขียนใบสั่งยาและใบ ย.ส.5 ไว ้เพื่อกรอกจานวนยา
Pethidine ซึ่งเป็นยาเสพติดประเภท 2 เพื่อฉีดให ้กับ
ผู้ป่ วยตามคาสั่งของแพทย์เวร แต่เจ ้าหน้าที่ผู้นี้ได ้กรอก
จานวนยาเพิ่มเติมจากที่แพทย์สั่งเพื่อนายาไปฉีดให ้แก่
ตนเอง
 พฤติการณ์ดังกล่าวของนางสาวยาใจ เป็นการกระทาผิด
วินัยฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่ราชการด ้วยความซื่อสัตย์สุจริต
และเที่ยงธรรม มาตรา 82 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
ข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 (ปัจจุบันเป็นความผิด
ตามมาตรา 82 (1) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
ข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551)
 ได ้รับโทษตัดเงินเดือน จานวน 5 % เป็นเวลา 3 เดือน
 ข้อ ๑๖ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่
อยู่ในระยะอันตรายจากการเจ็บป่วยเมื่อได้รับคาร้องและ
ตนอยู่ในฐานะที่จะช่วยได้
 ข้อ๑๗ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบการในทาง
สาธารณะ หรือสถานที่สาธารณะเว้นแต่ในเหตุฉุกเฉินใน
การปฐมพยาบาล.....
 ข้อ ๑๘ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องไม่ใช้หรือสนับสนุนให้มีการ
ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ การ
ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์หรือสาธารณสุขหรือการ
ประกอบโรคศิลปะโดยผิดกฎหมาย
พักใช้ใบอนุญาต
นาง ชรา ได้ประกอบวิชาชีพก้าวล่วงวิชาชีพเวช
กรรม โดยฉีดสเต็มเชล ครั้งแรก ให้นายฉลาด
น้อย และเพื่อน ที่ร้านอาหารชี ครั้งที่๒ถึง ครั้งที่
๔ ที่คลินิกทางเลือก รพ.น และครั้งที่ ๕ ที่ร้าน
เสริมสวย
 ข้อ ๑๙ ผู้ประกอบวิชาชีพ พึงยกย่องให้เกยีรติและเคารพ
ในศักดิ์ศรีซึ่งกันและกัน
 ข้อ ๒๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่น
แกล้งกัน
 ข้อ ๒๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ชักจูงผู้ป่วยหรือ
ผู้ใช้บริการผู้อื่นมาเป็นของตน
 ข้อ ๒๒ ผู้ประกอบวิชาชีพ พึงยกย่องให้เกยีรติและเคาระ
ในศักดิ์ศรีของผู้ร่วมงาน
 ข้อ ๒๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่น
แกล้งผู้ร่วมงาน
 ข้อ ๒๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ พึงส่งเสริมและสนับสนุนการ
ประกอบวิชาชีพของผู้ร่วมงาน
กลุ่มงานวินัยและระบบคุณธรรม สานักบริหารกลาง
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได ้แจ ้งคาลงโทษ
วินัยข ้าราชการ ข ้าราชการกระทาผิดวินัยฐานไม่รักษา
ความสามัคคี และกลั่นแกล ้งข ้าราชการด ้วยกัน ตาม
มาตรา๙๓ แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข ้าราชการพลเรือน..
นาง.... นาเอาโทรศัพท์มือถือของนางสาว... ทิ้งลง
ชักโครก ในห้องน้าทาให้ได้รับความเสียหาย
กลุ่มงานวินัยและระบบคุณธรรม สานักบริหารกลาง
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 ได้แจ้งคาลงโทษวินัยข้าราชการ ข้าราชการกระทา
ผิดวินัยฐานกระทาการหาประโยชน์ อันอาจทาให้
เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของ
ตน ตามมาตรา๙๕ แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการ
พลเรือน
 กรณีเก็บทรัพย์สิน(โทรศัพท์มือถือ) ของผู้อื่นได้แล้ว
นาไปฝากขาย โดยไม่สืบหาเจ้าของที่แท้จริงว่าเป็ น
ของผู้ใด
 เลขาธิการกล่าวโทษ นาง...... ตามมาตรา ๓๓ วรรค
สอง แห่ง พ.ร.บวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
จอมไฮปาร์ค
• นายยิ่ง ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ได้เข้าร่วม
ชุมนุมและขึ้นเวทีกล่าวกล่าวปราศรัยโจมตี
พรรคการเมืองพรรคหนึ่งและผู้สมัคร ส.ส. ด้วย
ถ้อยคาที่รุนแรง พฤติการณ์ของนายยิ่ง ดังกล่าว
เป็ นการกระทาผิดวินัย ฐานไม่วางตนเป็ นกลาง
ทางการเมืองตามมาตรา ๘๒(๙) ลงโทษตัด
เงินเดือนจานวน ๕% เป็ นเวลา ๑ เดือน
ความผิดด้านความประพฤติส่วนตัว
ความผิดต่อผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ
ความผิดตามกฎหมายอาญา
ความผิดต่อเพื่อนร่วมงาน
ความผิดต่อผู้ป่ วยหรือผู้ใช้บริการ
•ความผิดจากเทคนิคการปฏิบัติการพยาบาล
•ความผิดจากวาจา กริยา มารยา
•ความผิดจากความละเลยไม่เอาใจใส่
100
กฎหมายอาญาที่เกี่ยวกับ
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลฉีดยาผิดชนิด
คดีอาญา
ประมาทเป็นเหตุให้
ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ตาม ปอ.ม.๒๙๑
คดีแพ่งละเมิด
คดีคุ้มครองผู้บริโภค
ประมาทเลินเล่อทาต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมายเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับ
อันตรายแก่ชีวิต ตาม ปพพ.ม.๔๒๐,พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด
เจ้าหน้าที่๒๕๓๙,พ.ร.บ,วิ.ผู้บริโภค
คดีแพ่งพยาบาลฉีดยาผิดชนิด
รพ.เอกชน
ฟ้องนายจ้างและลูกจ้าง ปพพ. มาตรา
420,425,427
รพ. รัฐบาล
ฟ้องหน่วยงานรัฐ ปพพ. มาตรา 420 -พรบ.ความ
รับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พศ.2539 มาตรา 5 ,
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคพ.ศ.2551
•เช่น พยำบำล ก. (รพ.เอกชน)
ฉีดยำผิดชนิด จนนำย ข.คนไข้
ได้รับอันตรำยถึงแก่ควำมตำย
พยำบำล ก. ต้องรับผิดอย่ำงไร
103
•คดีแพ่ง (ฟ้องเป็นคดีผู้บริโภค)
• ถ้ำเป็นแพทย์/พยำบำลใน รพ.เอกชน
• ทำยำทของ ข.ฟ้องเรียกค่ำสินไหมทดแทนจำกพยำบำล ก.
เป็นคดีละเมิด โดยถือว่ำพยำบำล ก.ประมำทเลินเล่อตำม
ปพพ.มำตรำ 420 และฟ้องเจ้ำของโรงพยำบำลได้ในฐำนะ
นำยจ้ำง มำตรำ 425 โดยยื่นฟ้องต่อศำลแขวง(ทุนทรัพย์ไม่
เกิน 3 แสนบำท) ต่อศำลแพ่งหรือศำลจังหวัด(เกิน 3 แสน)
105
เป็นแพทย์พยำบำลในรพ.รัฐ
• แต่ถ้ำเป็นรพ.รัฐและพยำบำล ก.ทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่
ทำยำทของข.ต้องฟ้องหน่วยงำนของรัฐ คือ สธ.หรือ
สำนักงำนปลัด สธ.หรือหน่วยงำนรัฐที่สังกัดเป็นจำเลย
ตำมมำตรำ 5 พ.ร.บ.ควำมรับผิดทำงละเมิดของ
เจ้ำหน้ำที่พ.ศ. 2539
• จะฟ้องพยำบำล ก.เป็นจำเลยไม่ได้
กฎหมำยบัญญัติให้แพทย์
รพ.รัฐใช้พยำบำล
ทำเวชกรรมอะไรได้บ้ำง
110
111
ว่ำด้วยบุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหำนคร
เมืองพัทยำ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล
สุขำภิบำล องค์กำรบริหำรส่ วนท้องถิ่นอื่นหรือ
สภำกำชำดไทย มอบหมำยให้ประกอบวิชำชีพเวช
กรรมในควำมควบคุมของเจ้ำหน้ำที่ ซึ่งเป็ นผู้
ประกอบวิชำชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
 ข้อ 12 ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ
ผดุงครรภ์ ซึ่งได้รับประกาศนียบัตร
การศึกษาหรืออบรมในหลักสูตรวิสัญญี
พยาบาลจากกระทรวง ทบวง กรม
กรุงเทพมหานคร หรือสถาบันการศึกษา
ของรัฐบาล ทาการให้ยาสลบได้เฉพาะการ
ให้ยาสลบชนิด General anesthesia คือ
การทาให้หมดความรู้สึกตัว แต่ไม่รวมถึง
การให้ยาชาทางไขสันหลัง หรือการระงับ
ความรู้สึกทางไขสันหลัง ทั้งนี้ ให้อยู่ใน
ความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็ นผู้
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมอย่างใกล้ชิด
• *****ข้อ 18 ให้บุคคลที่ได้รับมอบหมำยทำกำร
ประกอบวิชำชีพเวชกรรมตำมระเบียบนี้สำมำรถทำ
กำรประกอบวิชำชีพเวชกรรมนอกเหนือจำกที่
กำหนดไว้ในระเบียบนี้ได้เป็นกำรเฉพำะรำยหรือ
กรณี โดยให้อยู่ในดุลพินิจของผู้บังคับบัญชำซึ่งเป็น
ผู้ประกอบวิชำชีพเวชกรรมได้มอบหมำยเป็น
ลำยลักษณ์อักษร *****
ผลที่พยำบำลฝ่ ำฝืนข้อบังคับ,ประกำศสภำกำรพยำบำล
พ.ศ.2550หรือระเบียบสธ.พ.ศ.2539
• ได้รับโทษเช่นเดียวกับผู้ฝ่าฝืน พ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม
พ.ศ. 2525 มาตรา 26 เพราะเป็นการประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมโดยมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม รับโทษ
จาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 30,000 บาทหรือทั้งจา
ทั้งปรับ และนอกจากนี้ยังผิดฐานทาร้ายร่างกายผู้อื่นตาม
ปอ.มาตรา 391, 295, 297, 290แล้วแต่กรณี
122
123
ทาไมต้องให้ผู้ป่วยเซ็นยินยอม
124
•เหตุผลหลัก คือ เพื่อให้เกิดอำนำจใน
กำรรักษำพยำบำลของแพทย์หรือ
บุคลากรทางด้านสาธารณสุข ซึ่งจะได้
ไม่เป็นควำมผิดทำงอำญำฐำนทำร้ำย
ร่ำงกำยผู้ป่ วยตำม
ม.295,297,290
125
• ความยินยอมโดยชัดแจ้ง
• ความยินยอมโดยปริยาย เช่น พยาบาลบอกกับผู้ป่ วยว่าจะ
ฉีดยาให้ ผู้ป่ วยมิได้แสดงอาการขัดขืนหรือเดินไปนอน
รอบนเตียงผู้ป่ วย
• ความยินยอมนั้นไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี
• ความยินยอมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
• ความยินยอมอันบริสุทธิ์ปราศจากแรงจูงใจ
ความยินยอมของผู้รับบริการ
126
• การแสดงความยินยอม กฎหมายไม่ได้บังคับว่า
ต้องทาเป็ นหนังสือหรือทาเป็ นลายลักษณ์อักษร
เพราะการแสดงความยินยอมสามารถทาด้วย
วาจา หรือการแสดงออกโดยปริยายก็ได้
• เช่นพยาบาล บอกว่าต้องนอนตะแคงเพื่อทาการ
ฉีดยาผู้ป่ วยก็ขยับตัวนอนตะแคง อย่างนี้ก็ต้อง
ถือว่าผู้ป่ วยให้ความยินยอมโดยปริยายแล้ว แต่ที่
นิยมทากันเป็ นลายลักษณ์อักษรก็เพื่อจะได้ไม่
ต้องมาโต้แย้งกันในภายหลัง
• เมื่อกฎหมายไม่ได้บังคับว่าความ
ยินยอมต้องทาเป็ นหนังสือ
ก็แสดงว่าไม่ได้บังคับให้ต้องมีพยาน
ดังนั้นไม่จาเป็ นต้องมีการลงชื่อ
พยานก็ได้ แต่ในทางปฏิบัติควรมี
พยานเพื่อป้ องกันการโต้แย้งกันใน
ภายหลัง
128
• หากรักษาโดยไม่ได้รับความยินยอมจะมี
ความผิดดังนี้
1 ผิดฐานใช้กาลังทาร้ายไม่ถึงกับเป็ น
อันตรายแก่กาย ปอ. ม. 391 หรือความผิด
ต่อเสรีภาพ ม.309 เช่นบังคับเจาะเลือด หรือ
บังคับตรวจภายใน
2. ถ้าผู้ป่ วยเป็ นอันตรายแก่กาย แพทย์
พยาบาลผิดม.295 สาหัสผิด ม.297 ถ้าตาย
ผิดม.290(เจตนา)
3. ผิดต่อหน่วงเหนี่ยวกักขัง ปอ. ม. 310
เช่นผู้ป่ วยมีสิทธิปฏิเสธการรักษาและขอกลับ
บ้าน พยาบาลไม่ยอมให้กลับปิดประตูขังไว้
เป็ นต้น
129
• ความยินยอม
• ข้อยกเว้นไม่ต้องได้รับความยินยอม
1. กรณีฉุกเฉิน อุบัติเหตุไม่รู้ตัว อ้างความ
จาเป็ นตามมาตรา 67(2) ยกเว้นโทษได้
2. กรณีผู้รับบริการไม่อาจให้ความยินยอมได้
เช่น เด็ก ปัญญาอ่อน วิกลจริต แต่ควรได้รับความ
ยินยอมจาก บิดา มารดา หรือผู้ปกครองแล้วแต่
กรณี
3. กรณีตรวจร่างกายผู้ต้องหา แม้ไม่ยินยอม
แต่เพื่อผลประโยชน์แก่รูปคดีก็ได้รับการยกเว้น
เช่น ตรวจร่างกายผู้ต้องสงสัยที่ก่อคดีข่มขืน ตาม
ป.วิ. อาญา ม.132
130
กรณีผู้ป่ วยต้องกำรจะตำย และขอร้องให้
แพทย์หรือพยำบำลฉีดยำให้ผู้ป่ วยตำย
การที่พยาบาลทาตามความต้องการของผู้ป่วย แม้กระทำไปด้วย
ควำมสงสำรผู้ป่ วยที่กำลังทนทุกข์ทรมำนด้วยเวทนำอันแรง
กล้ำก็ตำม ถือว่ำมีควำมผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นโดยเจตนำ
ตามมาตรานี้กรณีนี้ความยินยอมของผู้ป่ วยคงไม่สามารถจะ
นามาใช้เพื่อยกเว้นความผิดได้เพราะเป็น ความยินยอมที่ขัดต่อ
สานึกในศีลธรรมอันดี (กำรที่พยำบำลทำให้ผู้ป่ วยตำยในเวลำ
เร็วกว่ำที่ควรจะตำยตำมควำมเป็นจริงถือเป็นกำรฆ่ำแล้ว)
131
•มำตรำ 374 ผู้ใดเห็นผู้อื่นตกอยู่ใน
ภยันตรำยแห่งชีวิต ซึ่งตนอำจช่วยได้โดย
ไม่ควรกลัวอันตรำยแก่ตนเองหรือผู้อื่น แต่
ไม่ช่วยตำมควำมจำเป็น ต้องระวำงโทษ
จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกิน
หนึ่งพันบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การปฏิเสธการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
133
• กรณีตัวอย่าง ผู้ป่ วยได้รับอุบัติเหตุอยู่ภาวะอันตราย
ญาติได้นาส่งโรงพยาบาลแห่งหนึ่งที่อยู่ใกล้ที่เกิดเหตุ แต่
เนื่องจากโรงพยาบาลแห่งนั้นไม่มีเตียงว่าง พยาบาลที่อยู่เวร
จึงปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือผู้ป่ วย กรณีเช่นนี้ย่อมกระทา
ไม่ได้ พยาบาลจะปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ป่ วยที่อยู่ในภาวะ
อันตรายเช่นนั้นไม่ได้ เป็ นความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 374
นอกจากนั้นยังมีความผิดในด้านคุณธรรมของผู้ประกอบ
วิชาชีพการพยาบาล ตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วย
การรักษา จริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ. 2550 ในการปฏิบัติต่อผู้ป่ วยหรือผู้รับบริการข้อ
16 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการ
ผดุงครรภ์ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะอันตรายจาก
การเจ็บป่ วยเมื่อได้รับการขอร้องและตนอยู่ในฐานะที่จะช่วย
ได้
134
**พยาบาลรพ.เอกชนมีหน้าที่ตามสัญญาหรือ
พยาบาล รพ.รัฐมีหน้าที่ตามกฎหมายต้องให้ยารักษา
โรคตามแผนการรักษาของแพทย์ แต่พยาบาลงดเว้น
โดยเจตนาไม่ให้ยา รักษาโรคตามที่เเพทย์สั่ง จนต่อมา
ผู้ป่ วยถึงแก่ความตาย ผิดฐานฆ่าผู้อื่นให้ถึงแก่ความ
ตายโดยเจตนางดเว้นหน้าที่ที่จักต้องกระทา
(หรือหากนั่งเล่นlineเพลินลืมให้ยาก็เป็นความผิด
ฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นตายโดยงดเว้นได้)
135
กระทำโดยประมำท
มาตราที่เกี่ยวข้อง มาตรา 59 วรรค 4
ถ้าได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ มาตรา 390
ถ้าได้รับอันตรายสาหัส มาตรา 300
ถ้าได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย มาตรา 291
จะเห็นว่ามาตราที่ยกมาส่วนใหญ่เป็ นการกระทาโดยประมาท ซึ่งผู้ประกอบ
วิชาชีพการพยาบาลจะผิดฐานนี้เป็ นส่วนใหญ่ ต้องระวัง นอกจากนี้ยังมี
ความผิดฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังโดยประมาทตามมาตรา 311
136
เหตุการณ์อันน่าหวาดเสียวครั้งนี้ เกิดขึ้นที่
“โรงพยาบาลเทศบาลนครนครศรีธรรมราช” เมื่อมี
ทารกน้อยวัย 7 เดือนเศษ มารักษาตัว เนื่องจากท่อ
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ แต่พยาบาลเกิดทาพลาด
ขณะพยายามฉีดยารักษาอาการป่ วยอยู่นั้น เด็กเกิด
ร ้องจ๊าก!!! ขึ้นมา พยายามดิ้นอย่างแรง ทาให ้เข็มฉีด
ยาตกเข ้าไปในลาคอ ไหลลงสู่กระเพาะ ผ่านลาไส ้
ใหญ่ ใช ้เวลา กว่า 30 ชั่วโมงจึงถ่ายออกมาปนกับ
อุจจาระ
“บทเรียนอันสูงสุดครั้งนี้ ต ้องยอมรับว่า เป็นความ
ผิดพลาดของพยาบาลที่พยายามจะฉีดยาให ้กับเด็ก
โดยให ้แม่เป็นคนจับล็อคตัวเด็กเอาไว ้ ซึ่งในกรณีเช่นนี้
หากเด็กดิ้นมาก ควรจะมีพยาบาลเพิ่มขึ้นมาอีก 1-2
คน เพื่อช่วยกันดูแลให ้ดีกว่านี้”
• ผู้ป่ วยฉุกเฉินมำโรงพยำบำล จำเป็นต้องรักษำโดยใช้
เครื่องช่วยหำยใจ แต่ไม่สำมำรถนำเครื่องมือมำใช้ให้
ผู้ป่ วยได้ทันเวลำ เพรำะเครื่องมือขำดแคลน ทั้งๆที่
ได้พยำยำมช่วยอยู่ตลอดเวลำจนสุดควำมสำมำรถ
• หำกผู้ป่ วยเสียชีวิต ถือไม่ได้ว่ำเกิดจำกควำม
ประมำทของแพทย์
• แต่เป็นควำมประมำทของโรงพยำบำล
เครื่องมือแพทย์ไม่พร้อม
เหตุที่พยาบาลอาจอ้างไม่
ต้องรับผิด
• มาตรา 8 คาว่า "เหตุสุดวิสัย" หมายความ
ว่า เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติ
ก็ดี เป็ นเหตุที่ไม่อาจป้ องกันได้ แม้ทั้ง
บุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบ
เหตุนั้น จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควร
อันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและ
ภาวะเช่นนั้น
"เหตุสุดวิสัย"
• เหตุที่เกิดขึ้นนั้นต้องมิใช่เกิดจากการกระทาของผู้ต้อง
ประสบ แต่เกิดจากเหตุภายนอกตัวผู้ต้องประสบ ซึ่งอาจ
เกิดจาก
• ภัยธรรมชาติ ซึ่งอยู่นอกเหนืออานาจของมนุษย์ อาทิ
ฟ้ าผ่า แผ่นดินไหว หรือน้าท่วม เป็ นต้น
• เกิดจากอานาจรัฐ คือราชภัย เช่น การที่รัฐออก
กฎหมายห้ามการกระทาบางอย่างกรณีเช่นนี้อาจถือได้
ว่าเป็ นเหตุสุดวิสัยได้
• เกิดจากการทาของบุคคลภายนอกหรือปัจจัยภายนอก
เช่น มีคนสูบบุหรี่บริเวณถังออกซิเจนระเบิดทาให้ถัง
ออกซิเจน
143
“กำรกระทำตำมคำสั่งของเจ้ำพนักงำน”
• ประมวลกฎหมายอาญา มำตรำ 70 ซึ่งบัญญัติว่า
“ผู้ใดกระทำตำมคำสั่งของเจ้ำพนักงำน แม้
คำสั่งนั้นจะมิชอบด้วยกฎหมำย ถ้ำผู้กระทำ
มีหน้ำที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ำมีหน้ำที่ต้อง
ปฏิบัติตำม ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ เว้นแต่จะรู้
ว่ำคำสั่งนั้นเป็นคำสั่งซึ่งมิชอบด้วย
กฎหมำย”
144
แพทย์สั่งให้พยาบาลฉีดเคมีบาบัดฯขัดต่อประกาศของสภา
การพยาบาล เรื่องห้ามมิให้ยาหรือสารละลาย
ทางหลอดเลือดดา พ.ศ.2550 ผลจะเป็นอย่างไร
145
• ในกำรประกอบวิชำชีพกำรพยำบำล ผู้
อำจเกิดปัญหำทำงกฎหมำยอำญำในเรื่องกระทำตำม
คำสั่งโดยรู้อยู่แล้วว่ำคำสั่งไม่ถูกกฎหมำย
• เช่น กำรรับคำสั่งแพทย์ซึ่งผู้ประกอบวิชำชีพให้กระทำ
เวชกรรม และพยำบำลทรำบตั้งแต่แรกแล้วว่ำเป็น
คำสั่งที่ไม่ถูกต้องขัดต่อระเบียบสธ.ปี39 กำรนำ
คำสั่งดังกล่ำวไปปฏิบัติเมื่อเกิดผลร้ำยขึ้นกับผู้ป่ วยถือ
ว่ำผู้ประกอบวิชำชีพพยำบำลมีเจตนำทำร้ำยให้ผู้ป่ วย
ได้รับอันตรำย
การปฏิบัติ กรณีถูกดาเนินคดีอาญา
เนื่องจากการประกอบวิชาชีพ
1.กรณีถูกร้องทุกข์หรือกล่าวโทษ
ต่อพนักงานสอบสวน
2. กรณีผู้เสียหายนาคดีไปฟ้ อง
ต่อศาลเอง
1. กรณีถูกร้องทุกข์หรือกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน
ผู้เสียหายร้อง
ทุกข์
พนักงาน
สอบสวน
รับแจ้งความ
สอบสวน รวบรวม
พยานหลักฐาน
ไม่มีพยานหลักฐานยืนยัน
ว่าได้กระทาผิดตามที่กล่าว
สั่งไม่ฟ้ องเสนอ
สานวนไปพนักงาน
อัยการ
มีพยานหลักฐาน
ยืนยันว่ากระทา
ผิดตามที่กล่าวหา
ออกหมายเรียก
ผู้ต้องหา
ยื่นคาร้อง
ต่อศาล
ขอออก
หมายจับ
จับกุม
ตรวจ
ค้น
แจ้งข้อกล่าวหา
ควบคุมตัว
ยื่นขอประกันตัว/
ปล่อยชั่วคราว
ฝากขัง
2. กรณีผู้เสียหายนาคดีไปฟ้ องต่อศาลเอง
ผู้เสียหายยื่นฟ้ องต่อศาล
ส่งคาฟ้ องให้ผู้ถูก
ฟ้ อง
ผู้ถูกฟ้ องทาหนังสือแจ้ง
ผู้บังคับบัญชาทราบและขอพนักงาน
อัยการแก้ต่าง
อัยการจังหวัด/อัยการสูงสุด
แจ้งรับ/ ไม่รับแก้ต่าง
ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
ผู้บังคับบัญชาทาหนังสือถึง
อัยการจังหวัด/อัยการสูงสุด
แจ้งผู้บังคับบัญชา
ของผู้ถูกฟ้ องทราบ
นัดไต่สวนมูล
ฟ้ อง
ไม่มีมูลยก
ฟ้ อง
มีมูลประทับ
รับฟ้ อง
ศาลออกหมายเรียก
การขอประกันตัว
ปล่อยตัวชั่วคราว
การจัดการเมื่อถูกดาเนินคดี
แนวทางการพิจารณาของศาล
• การดูแลก่อนการดาเนินการรักษา
– การซักประวัติ
– การตรวจก่อนการดา เนินการรักษา
– ความพร้อมของเครื่องมือ เครื่องใช้ที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล
– การให้ข้อมูลที่จาเป็น
• ขั้นตอนวิธีการรักษา
– ผู้ทาการรักษาพยาบาลต้องเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพ
– ปฏิบัติการรักษาพยาบาล ตามขั้นตอน
– เมื่อเกิดเหตุไม่พึงประสงค์ ได้แก้ไขได้ทันที
การดูแลผู้ป่ วยหลังการรักษา
การเตรียมการเมื่อเข ้าสู่กระบวนการดาเนินการคดี
• กระบวนการรักษาตั้งแต่ เริ่มต ้นจนเสร็จสิ้นมีบันทึกไว ้อย่าง
สมบูรณ์ต่อเนื่องทุกกระบวนการ เมื่อพยานมาเบิกความ
ประกอบเอกสาร ทาให ้พยานฝ่ ายจาเลยมีน้าหนักมาก
• กระบวนการรักษาเป็นไป ตามมาตรฐานทุกขั้นตอน สามารถ
ชี้แจงอธิบายได ้สมเหตุสมผล
• การใช ้ดุลยพินิจต ้องอยู่บนหลักการที่ถูกต ้องตามหลัก
วิชาการ ไม่มีความประมาทหรือนัยหนึ่งคือ การดาเนินการที่
ถูกต ้องตามหลักวิชาการ มีมาตรฐานวิชาชีพจึงจะไม่ถือเป็น
การกระทาโดยประมาทอันจะมีความผิดตามกฎหมาย
ข้อมูลอะไรบ้ำงที่กลุ่มกำรพยำบำลต้องเก็บ
สิ่งที่ทาให้
สิ่งที่บอก
สิ่งที่เห็น
สิ่งที่ตรวจ
และสิ่งที่ได้รับฟัง
๕ ประเด็นหลักที่ให้บันทึก
• วันนี้ผู้ป่วยเป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับวันที่มา และวันที่ผ่านมา
• วันนี้มีแผนการรักษาอะไรที่เริ่มใหม่ อะไรที่เลิก อะไรที่ต้องทาต่อ
• วันนี้มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการอะไรบ้าง เก็บได้หรือไม่ ผลมา
หรือยัง แพทย์ทราบผลหรือยัง ผู้ป่วยและญาติ ทราบหรือยัง
• วันนี้ผู้ป่วยต้องทาหัตถการอะไรหรือไม่ เตรียมแล้วหรือยัง จะทา
เมื่อไหร่ ถ้าทาแล้วทาอะไรไปบ้าง แจ้งผลกับผู้ป่วยหรือยัง
• วันนี้ต้องเตรียมผู้ป่วยและญาติเรื่องอะไร หากผู้ป่วยจะได้กลับ
บ้าน
ลักษณะของคดีปกครอง
1. เป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครอง
หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน หรือระหว่าง
หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ด้วยกันเอง
2. เป็นคดีพิพาทตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
เขตอำนำจศำลปกครอง มำตรำ 9
หน่วยงำนทำงปกครอง/จนท.ของรัฐ
* หมำยเหตุ
กฎ : พ.ร.ฎ. กฎกระทรวง
ประกำศกระทรวง
ข้อบัญญัติท้องถิ่น
ระเบียบ ข้อบังคับ
หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผล
บังคับเป็ นกำรทั่วไป โดย
ไม่มุ่งหมำยให้ใชบังคับแก่
กรณีใดหรือบุคคลใดเป็ น
กำรเฉพำะ
กระทำกำร
ออกกฎ/คำสั่ง/กระทำกำรอื่นใด
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมำย
1.ไม่มีหรือนอกเหนืออำนำจหน้ำที่
หรือไม่ถูกต้องตำมกฎหมำย
2.ไม่ถูกต้องตำมรูปแบบขั้นตอน/
หรือวิธีกำรอันเป็ นสำระสำคัญ/
หรือโดยไม่สุจริต
3.เลือกปฏิบัติไม่เป็ นธรรม
4.สร้ำงขั้นตอนโดยไม่จำเป็ น
หรือสร้ำงภำระแก่ประชำชน
5.ใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบ
1.ละเลย
2.ปฏิบัติหน้ำที่
ล่ำช้ำเกินสมควร
คดีที่ไม่อยู่ในอำนำจศำลปกครอง
-วินัยทหำร
-คณะกรรมกำรตุลำกำร
-ศำลชำนัญพิเศษ
กระทำละเมิด
หรือควำมรับ
ผิดอย่ำงอื่น
1.จำกกำรใช้อำนำจตำม กม.
2.จำกกฎ
3.คำสั่งทำงปกครอง คำสั่ง
4.ละเลยหรือล่ำช้ำ
สัญญำทำงปกครอง
กฎหมำยกำหนดให้หน่วยงำน
ทำงปกครองหรือเจ้ำหน้ำที่
ของรัฐฟ้ องศำลเพื่อบังคับให้
บุคคลกระทำหรือละเว้นกระทำ
คดีที่มีกฎหมำย
กำหนดให้อยู่ในเขต
อำนำจศำลปกครอง
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
Kanti Bkk
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain clinic pnk
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
 

Mais procurados (20)

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgery
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 

Destaque

Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
clio cliopata
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การยอมจำนนต่อพระคริสต์
การยอมจำนนต่อพระคริสต์การยอมจำนนต่อพระคริสต์
การยอมจำนนต่อพระคริสต์
pannily
 

Destaque (16)

กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
 
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าสินไหมทดแทนค่าสินไหมทดแทน
ค่าสินไหมทดแทน
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
ระบบสืบพันธ์ุสตรี
ระบบสืบพันธ์ุสตรีระบบสืบพันธ์ุสตรี
ระบบสืบพันธ์ุสตรี
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศสการชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
การยอมจำนนต่อพระคริสต์
การยอมจำนนต่อพระคริสต์การยอมจำนนต่อพระคริสต์
การยอมจำนนต่อพระคริสต์
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 

Semelhante a การบริหารการพยาบาล

Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
Bow Aya
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
Sarachai Sookprasong
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
taem
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
hrmsmc
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
hrmsmc
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 
โครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดโครงงานเสพติด
โครงงานเสพติด
Pz'Peem Kanyakamon
 

Semelhante a การบริหารการพยาบาล (20)

Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
 
Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmc
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
Renal failure report
Renal failure reportRenal failure report
Renal failure report
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
 
ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52
 
โครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดโครงงานเสพติด
โครงงานเสพติด
 

Mais de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

Mais de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 

การบริหารการพยาบาล

  • 3.
  • 6. • กฎหมำยมีให้เรียนรู้และสร้ำงภูมิคุ้มกัน • แต่บำงทีภูมิคุ้มกันมันก็ได้มำจำก ควำมเจ็บปวด ไม่ว่ำทำงกำย หรือทำงจิต ไม่เห็นทุกข์ ก็ไม่เห็นธรรม •กฎหมำยจึงมีไว้ไม่ให้ผิดซ้ำ
  • 7. 7 โทษทางอาญา โทษทางแพ่ง ละเมิดม.420,425,427, คุ้มครองผู้บริโภค โทษในฐานะ ผู้ประกอบวิชาชีพ ป . อ . ม . 288ฆ่า โ ด ย เ จ ต น า , ม.291ประมาทเป็นเหตุให้เสียชีวิต หรือ ปอ.ม. 297(ทาร้ายร่างกาย เป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส), ม.295ทาร้ายร่างกายบาดเจ็บ ปอ. ม. 300 (ประมาทเป็นเหตุให้ได้รับ อันตรายสาหัส), ปอ.ม. 390( ประมาทเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายแก่ กายหรือจิตใจ) เป็นต้น พระราชบัญญัติ วิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528, ฉบับที่ 2พ.ศ. 2540 (ว่ากล่าว ตักเตือน พักใช้ เพิกถอน,จาคุกปรับ ทั้งจา ทั้งปรับ) โทษทางวินัย 1. กระทาโดยจงใจ/ประมาท 2. หน้าที่ต้องกระทาแต่ งดเว้นไม่กระทา 3. กระทาให้บุคคลอื่นเสียหาย แก่ชีวิต,ร่างกาย,อนามัย, เสรีภาพ,ทรัพย์สินต้องใช้ค่า สินไหมทดแทน ตาม พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการ พลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ วินัยกับพนักงาน มหาวิทยาลัย เช่น ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้น เงินเดือน ปลดออก ไล่ออก โทษของกฎหมายที่ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลควรรู้
  • 8.
  • 9. สถิติคดีที่ผู้เสียหายฟ้องร ้องกระทรวงสาธารณสุข ระหว่างปี 2539-2558 ประเภทคดี จานวน(คดี) 2539-2551 จานวน(คดี) 2539-2558 แพ่ง 76 241 อาญา 7 36 ผู้บริโภค - 44 ค่าเสียหาย 2,873 ล ้าน 9 สถิติการฟ้ องร้องกระทรวงสาธารณสุข มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น!
  • 10.
  • 11. สาเหตุที่ฟ้องมากที่สุด -รักษาผิดพลาดไม่ได ้ มาตรฐาน 38 เรื่อง -ทาคลอด 18 เรื่อง และ -วินิจฉัยผิดพลาด 12 เรื่อง 11 เรื่องร้องเรียนมากกว่า 300 เรื่อง -ส่วนใหญ่เป็นปัญหาทางด ้านการสื่อสาร
  • 12.
  • 13.
  • 14. คนไข ้อาศัยแพทย์-พยาบาลเผลอ ดิ่งชั้น 8 รพ.สมุทรปราการ ดับสยอง! บุกจับอดีตพยาบาลรับทาแท ้งเถื่อน หนุ่มฟ้ องพยาบาลฉีดยาทาอวัยวะเพศโด่ไม่ล้ม 55 ชั่วโมง !
  • 15. ประเภท 1 (240,000 - 400,000) ความสัมพันธ์ของความเสียหาย กับการรักษาพยาบาล ระดับความรุนแรง เสียชีวิต ทุพพลภาพ ถาวร เรื้อรัง รุนแรง พึ่งพา ตลอดเวลา ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับ โรคที่เจ็บป่ วย 400,000 400,000 320,000 – 360,000 ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่ เจ็บป่ วย 360,000 320,000 – 360,000 280,000 – 320,000 ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับ การรักษาพยาบาล 320,000 280,000 – 320,000 240,000 – 280,000 15สานักกฎหมาย สปสช.
  • 16. สูติ มารดา 100 ราย 8.99% สูติ (ทารก 309 ราย 27.78% อายุรกรรม 137 ราย 12.32% ศัลยกรรม 184 ราย 16.54% กุมาร 136 ราย 12.23% ทาหมัน 94 ราย 8.45% ศัลยกรรมกระดูก 41 ราย 3.68% อื่น 111 ราย 9.98% ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้น ปีงบประมาณ 2557 จาแนกตามแผนกที่เข ้ารับบริการ
  • 17. ผลการพิจารณาของคอก.จังหวัดปี งบประมาณ 2557 จาแนกตามประเภทหน่วยบริการ หน่วยบริการ คาร้อง ไม่ เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3) จานวนเงิน (บาท) รพศ. 192 42 150 91 17 42 31,876,600 รพท. 296 47 249 137 42 70 50,704,800 รพช. 574 68 506 269 53 184 92,368,900 คณะแพทย์ 28 6 22 12 6 4 4,324,000 รพ.เอกชน 24 9 15 6 1 8 1,940,000 รพ.สต.,สอ. 34 5 29 6 3 20 2,479,000 สังกัด กทม. 8 2 6 4 - 2 1,220,000 สังกัด กรมการแพทย์ 9 4 5 2 - 3 640,000 คลินิก 2 - 2 1 - 1 410,000 รพ.สังกัด เหล่าทัพ 5 2 3 2 1 - 600,000 อื่น ๆ 10 2 8 3 2 3 1,610,000 รวม 1,182 187 995 533 125 337 188,173,300 07/12/59 กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานักกฎหมาย
  • 18. • วันที่ ๑๕ ด.ญ. รุ่งอรุณ ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติหตุ ขาซ้ายหัก แบบชนิด ปิด รพ.รับไว้รักษาในตึกผู้ป่วยใน • วันที่ ๑๖ เวลา ๙.๐๐น. แพทย์มาดูอาการ เอ็กซเรย์ ดึงกระดูกแบบถ่วง น้าหนักด้วยถุงทราย • วันที่ ๑๗ เวลา ๙.๐๐ น แพทย์มาดูอาการ พบนิ้วเท้าและหลังเท้าของ ผู้ป่วยมีสีเขียวมากขึ้น ส่งต่อ • รพศ พบว่าเส้นเลือดแดงบริเวณแข็ง มีลิ่มเลือดอุดตัน แสดงว่าขาดเลือด มากกว่า ๖ ชม.ต้องตัดขาข้างซ้าย • ฟ้องละเมิด กระทรวงสาธารณสุข ๘,๔๓๑,๘๐๐ บาท
  • 19. • วันที่ ๓ ก.ค. นาง เนตรดาว ถูกงูกัด ญาตินาส่งรพ. เวลา ๑๖.๓๐ น ผู้ป่วยและญาติแจ้งว่าถูกงูเขียวหางไหม้กัด เวลา ๑๗.๓๐ น. รับ ไว้ใน รพ. แพทย์เจ้าของไข้กาลังผ่าตัดไส้ติ่ง เวลา ๑๙.๐๐ น. พยาบาล ไปตรวจพบผู้ป่วยหลับอยู่ เรียกไม่ตื่น ช่วยฟื้นคืนชีพ ต่อ เครื่องช่วยหายใจ จนวันที่ ๔ ก.ค. เสียชีวิต เวลา ๑๖.๔๐ น • ยื่นฟ้องละเมิด กระทรวง ค่าเสียหาย ๔๐๐,๐๐๐ บาท
  • 21. 24 จากกรณีที่ศาลจังหวัดขอนแก่น ได้ตัดสินคดีอุทธรณ์สั่งให้โรงพยาบาลน้าพอง จ.ขอนแก่น จ่ายค่าชดเชยแก่ครอบครัวเด็กที่อายุ 2 ปี ที่ได้รับผลกระทบระหว่างคลอด เมื่อพ.ศ. 2555 เมื่อ15 กรกฎาคม 2557 และส่งผลกระทบต่อขวัญกาลังใจของแพทย์ พยาบาลที่ปฏิบัติงาน นั้น ความคืบหน้าในเรื่องดังกล่าว 16 กรกฎาคม 2557 นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า กรณีดังกล่าวเป็นเหตุสุดวิสัยที่เกิดขึ้นขณะคลอดไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น โดยกระทรวงสาธารณสุข จะให้การดูแลทั้งผู้เสียหายและ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ และจะส่งเรื่องนี้เข้าสู่การพิจารณาของศาลฎีกาพิจารณาข้อเท็จจริงอีกครั้ง ขอให้ผู้ปฏิบัติงาน ทางานเพื่อประชาชนอย่างเต็มกาลังต่อไป คดีโรงพยาบาลน้าพอง- คลอดติดไหล่
  • 22. 25
  • 23. 26
  • 24. ถอดบทเรียนจากรณีฟ้ องคลอดติดไหล่ (รพ.น้าพอง จ.ขอนแก่น) • ในการต่อสู้คดีแพ่งนั้น หลักที่ใช้กันคือในคดีแพ่งศาลจะเชื่อในพยาน เอกสารมากกว่าพยานบุคคล เพราะพยานเอกสารจะยืนยันในตัวเองตาม ข้อความที่มีบันทึกไว้แต่พยานบุคคลนั้นเวลามาศาลก็จะมีปัจจัยอื่นที่ ศาลให้น้าหนักน้อยเช่นตื่นเต้น ,หวาดกลัวการซักความซักค้านของ ทนายอีกฝ่าย , ความคุ้นเคยกับฝ่ายโจทก์หรือจาเลย ทาให้ความน่าเชื่อถือ ลดลง ดังนั้นในคดีนี้เมื่อจาเลย(พยาบาลผู้มีประสบการณ์ของห้องคลอด โรงพยาบาล) อ้างพยานเอกสารเข้ามาในคดีแต่พยานเอกสารนี้กลับเป็น ผลเสียกับฝ่ายจาเลยเอง ศาลจะให้น้าหนักมากในการตัดสินมากดัง ข้อความในเอกสารวิชาการที่ว่าการคลอดติดไหล่นั้นต้องทาคลอดโดย แพทย์
  • 25. เอกสารคือหลักฐาน • ในคาพิพากษาศาล พยาบาลผู้ทาคลอดก็มีประสบการณ์ทาคลอดมาเป็น ๑๐๐๐ราย เคยเห็นและช่วยเด็กคลอดติดไหล่มาแล้ว แต่พยาบาลท่านนี้ ไม่ได้นาเอาหลักฐานใดๆมาสืบ ซึ่งโรงพยาบาลชุมชน น่าจะมีเด็กที่เคยทา คลอดติดไหล่พามาให้ศาลดูด้วยว่ามีประสบการณ์ ถ้าเพียงแต่อ้างเฉยๆนั้น ยังไม่พอ • เมื่อพยาบาลท่านนี้ที่ทาคลอดต่อสู้ว่าพยาบาลก็ทาคลอดได้และเมื่อลองดึง เด็กคนนี้แล้วดึงไม่ได้ก็ตามแพทย์นั้น ในการสืบพยานของพยาบาลท่านนี้ ต้องนาพยานบุคคลที่อยู่ในวิสัยและพฤติการณ์เช่นเดียวกันมาสืบ หมายถึง ต้องนาพยาบาลที่มีชั่วโมงบินในการทาคลอดเหมือนกันมาซักความ ให้ ศาลเห็นว่าพยาบาลท่านนี้ได้ทาในสิ่งที่พยาบาลปรกติทั่วไปทาแล้ว ไม่ได้ ทาไปเกินกว่าที่พยาบาลจะทา
  • 26. บันทึกทางการพยาบาล • ๘.๐๐ น. รับใหม่ G2P1A0L1 มาโดยรถเข็นนั่ง ด้วยอาการเจ็บครรภ์ คลอด มีน้าเดินเวลา ๐๕.๐๐ น แรกรับรู้สึกตัวดี สีหน้าไม่สุขสบาย PV ….FHS…เฝ้าระวังภาวะFetal distress ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์ คลอด/วิตกเกี่ยวกับการคลอด I ตรวจร่างกาย ตรวจภายใน ฟังเสียงหัวใจ จับcontraction อธิบายแผนการ รักษา แนะนาการหายใจ ดูแลให้นอนคะแตง • ๙.๐๐ น เจ็บครรภ์ถี่ .......ร้องครวญคราง พูดให้กาลังใจ • ๙.๔๐น. PV Fully dilate ย้ายเข้าห้องคลอด.... ขณะเบ่งคลอด รายงานแพทย์เวรทาคลอด/รายงานกุมารแพทย์ คลอดปกติ ติดไหล่ ๒๐ วินาที ทารกเพศหญิง......
  • 28. 33
  • 29. 34
  • 30. 35
  • 31. 36
  • 32. 37
  • 33. 38
  • 34. 39
  • 35. 40
  • 36. 41
  • 37. 42
  • 38. 43
  • 40. กฎหมำยว่ำด้วยจริยธรรม • คุ้มครอง สังคมโดยรวม • เริ่มจำกกำรร้องทุกข์โดยผู้เสียหำยหรือกล่ำวโทษโดยผู้อื่น ไปยังสภำวิชำชีพ • ถ้ำมีกำรกระทำผิดมำตรฐำนกำรประกอบวิชำชีพจะถูก มำตรกำรลงโทษของสภำวิชำชีพ • ภำระกำรพิสูจน์ใช้หลักกำรไต่สวนหำควำมจริง
  • 41. จริยธรรมแห่งวิชาชีพพยาบาล (THE CODE FOR NURSES) - เป็นสากลใช้ทั่วโลก - ประกาศโดยสภาการพยาบาลสากล (ICN) เมื่อเดือนพฤษภาคม 2516 ที่เมืองเม็กซิโก ซิตี้ - ประเทศไทยสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยประกาศใช้ “จริยาบรรณวิชาชีพพยาบาล” เมื่อ 26 ตุลาคม 2528 เมื่อมี สภาการพยาบาล ได้มีบทลงโทษผู้ประพฤติผิดไว้ด้วย
  • 42. - ออกโดยสภาการพยาบาลอาศัยอานาจตาม พ.ร.บ.วิชาชีพการ พยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 - ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ การพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2550 (มีทั้งสิ้น 35 ข้อ) จริยธรรมแห่งวิชาชีพพยาบาลของประเทศไทย
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46. การดาเนินด ้านการด ้านจริยธรรมวิชาชีพ ตามข ้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด ้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
  • 47. ข้อ๔ ผู้ประกอบวิชาชีพย่อมดารงตนในสังคม โดยธรรมและเคารพกฎหมายบ้านเมือง ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมประกอบวิชาชีพ ด้วยเจตนาดี โดยไม่คานึงถึงฐานะ เชื้อชาติ ศาสนา สังคมและลัทธิการเมือง
  • 48. กรณีตัวอย่าง จากคาพิพากษา  หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ วันที่..พาดหัวข่าว “บุกรวบตัวพยาบาลพัวพันแก๊ง ยาคุก” นายาบ้าส่งมอบให้แก่ผู้ต้องขังในเรือนจา หลังถูกจาคุกขยายผล พบ ยาเสพติด อีก ๙๘๐ เม็ดในตู้เหล็กที่ทางาน  ศาลพิพากษาจาคุก ๑๐๐ปี ปรับรวม ๔,๕๐๐,๐๐๐ บาท ข้อหามีไว้ ครอบครองและจาหน่าย รับสารภาพ ลดโทษเหลือจาคุก ๕๐ ปี  เลขาธิการสภาการพยาบาล ใช้สิทธิกล่าวโทษตามมาตรา ๓๓ วรรค สอง แห่ง พรบ.ฯ  เพิกถอนใบอนุญาตและพ้นสมาชิกภาพ  ถูกไล่ออกจากราชการ ปฏิบัติงานปี ๒๕๔๖
  • 49. ขับรถไม่มีใบขับขี่ นาง อุรา พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลอดทน กระทา ความผิดตามพระราชบัญญัติขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ฐานขับรถบรรทุกโดยไม่มีใบอนุญาต กาหนดโทษจาคุก ๖ เดือน ปรับ ๘,๐๐๐ บาท  และกระทาความผิดพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพล เรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตนและรักษา เกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย ถูกลงโทษภาคทันฑ์
  • 50. กรณีตัวอย่าง จากคาพิพากษา  ถูกกล่าวหาว่า” นาง ....ได้เบียดบังเงินสมาชิกกองทุนสวัสดิการเจ้าหน้าที่ เป็น ของตนเองโดยทุจริต” ตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษา จริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในข้อ๔ ที่ กาหนดว่า”ผู้ประกอบวิชาชีพย่อมต้องดารงตนให้สมควรในสังคม โดยธรรม และเคารพต่อกฎหมายบ้านเมือง และข้อ๖ “ ผู้ประกอบวิชาชีพย่อมไม่ ประพฤติหรือกระทาการใดๆ อันเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ”  ศาลจังหวัดมีคาพิพากษาถึงที่สุด ว่ามีความผิดจานวน ๕๐ กระทง ลงโทษตาม ประมวลกฎหมายอายา มาตรา ๙๑ จาคุกกระทงละ ๔ เดือน ปรับกระทงละ ๑,๐๐๐ บาท จาเลยสารภาพลดโทษให้กึ่งหนึ่ง ตามมาตรา๗๘ รวมจาคุก ๑๐๐ เดือน ปรับ ๒๕,๐๐๐ บาท
  • 51. ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชำชีพ ย่อมประกอบวิชำชีพด้วยเจตนำดี โดยไม่ คำนึงถึงฐำนะ เชื้อชำติ ศำสนำ สังคมและลัทธิกำรเมือง • หัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลเป็นใจ มีคาสั่งให้หัวหน้าหอผู้ป่วย พิเศษ จัดเวรพยาบาลเฝ้า นาย อวดเบ่ง อดีตรัฐมนตรี โดยเบิก ค่าตอบแทนนอกเวลาราชการจากเงินบารุงโรงพยาบาล ต่อมานาย อวดเบ่งและคณะไปรับประทานอาหารที่ร้านอาหาร ร้องเพลงคารา โอเกะ ได้จัดให้มีพยาบาลเฝ้าไข้เวรบ่ายและพยาบาลเวรตรวจการ ไปด้วยในชุดพยาบาล • พยาบาลเป็นผู้กล่าวโทษมายังสภาการพยาบาล ว่าการกระทาของ หัวหน้าก่อให้เกิดความเสื่อมเสียศักดิ์ศรีวิชาชีพ
  • 53. ใช่เรื่องหรือเปล่า  น.ส. จิตร ได้ให้ข้อมูลว่าช่วงเช้า ได้รับโทรศัพท์ จาก นางดารินทร์ ว่า นาย ส. ซึ่งเป็นมะเร็งกล่องเสียง และเป็นผู้ป่วยที่ น.ส.จิตรดูแลและ เยี่ยมบ้าน ต้องการทาพินัยกรรม ต้องการให้ตนไปเป็นพยายาน ตนจึง ได้ไปที่บ้านผู้ป่วย พบภรรยาผู้ป่วย น้องชายผู้ป่วย และนางดารินทร์ บุตรผู้ป่วย ตนได้พูดคุยและประเมินผู้ป่วยก่อนทาพินัยกรรมแล้วพบว่า ผู้ป่วยยังมีสติสัมปชัญญะ ตนจึงเห็นว่าสามารถทาพินัยกรรมได้ ภรรยา ผู้ป่วยได้บอกให้คนอ่านรายละเอียดในพินัยกรรมให้ทุกคนฟัง ตนก็ได้ สอบถามผู้ป่วยว่าต้องการให้นางดารินทร์ เป็นผู้จัดการมรดกใช่หรือไม่ ผู้ป่วยพยักหน้า ตนจึงประคองแขนขวาเพื่อให้ผู้ป่ วยประทับลายมือใน พินัยกรรมและตนจึงลงลายมือเป็ นพยานและมีตารวจอีกคนลงลายมือ เป็นพยานด้วย
  • 54. ไม่ใช่ลูกฟุตบอล  นางร้อนรน ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพชานาญการ ได้ร่วมกับสามีทาร้ายร่างกายนาย ใจเย็น เพื่อนร่วมงาน ขณะที่กาลังปฏิบัติงานร่วมกัน โดยใช้เท้าเตะขณะที่ตนสวมใส่ ชุดพยาบาล ซึ่งเป็นแบบฟอร์มในการปฏิบัติหน้าที่อันทรงเกียรติ ต่อหน้าผู้ป่วยและ ญาติผู้ป่วยจานวนหลายคน ทาให้ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลเสียหาย  พฤติการณ์ของนางร้อนรน ดังกล่าว เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ฐานไม่ สุภาพเรียบร้อย ไม่รักษาความสามัคคี ในการปฏิบัติราชการระหว่างผู้ร่วมปฏิบัติ ราชการ และฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตนและไม่รักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ง หน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ตามมาตรา ๙๓ และมาตรา ๙๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๑๓๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ลงโทษภาคทัณฑ์
  • 55.  ข้อ ๗ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องรักษามาตรฐานของวิชาชีพตามที่สภา ประกาศกาหนดโดยไม่เรียกร้อง สินจ้างรางวัลพิเศษนอกเหนือค่าบริการที่ สมควรได้รับตามปกติ  ข้อ ๘ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่จูงใจ หรือชักชวนผู้ใดให้มาใช้บริการการ พยาบาลหรือการผดุงครรภ์เพื่อประโยชน์ของตน  ข้อ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่เรียกร้องขอรับผลประโยชน์เป็น ค่าตอบแทนเนื่องจากการรับหรือส่งผู้ป่วยหรือผุ้ใช้บริการเพื่อรับบริการ ทางการพยาบาลหรือการผดุงครรภ์
  • 56.  นาง มันทา ได้กระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่ ราชการ กรณี ประมาทเลินเล่อให้เลือดผู้ป่วยผิดคน ทาให้ผู้ป่วย ดังกล่าวเกิดอาการแพ้เป็นการกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ฐานไม่ ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตาม ตาม มาตรา๘๔ วรรคหนึ่งแห่ง พระราชบัญญัติระเบียบราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงโทษดัด เงินเดือน ๓ เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา ๑ เดือน
  • 57.  ผู้ป่วยมาด้วยอุบัติเหตุ ศรีษะฟาดพื้นสลบไป๕นาที มาถึง รพ.เวลา ๑๘.๐๐ น พูดได้ ต่อมามีอาการอาเจียนเป็นเลือด พยาบาลบอกว่าไม่เป็นอะไร  เวลา ๒๒.๐๐ ผู้ป่วยเริ่มสับสน ความรู้สึกตัวลดลง ญาติเข้าไปคุยกับพยาบาล พยาบาลแจ้งว่าไม่เป็นไรแต่ไม่ได้เข้ามาดูคนไข้ ญาติจึงขอย้ายไปโรงพยาบาล เอกชน พยาบาลบอก”ถ้าอยากไป ก็ต้องเซ็นอกสารไม่ยอมอยู่” ญาติจึงเซ็นชื่อ พยาบาลมาบอกอีกว่า “รถโรงพยาบาลไม่ส่งนะ ให้ไปเอง “ จากนั้นพยาบาลถอด น้าเกลือและชุดคนไข้ออก และพูดว่า “ถ้าผู้ป่วยเป็นอะไรทางโรงพยาบาลไม่ รับผิดชอบนะ”  ญาติรีบนาผู้ป่วยไปเองถึงโรงพยาบาลเอกชน ใช้เวลาเดินทาง ๒๐ นาที แพทย์แจ้งว่า มาช้า มีเลือดออกทั่วสมองแล้ว รพ.เอกชน จึงส่งตัวไปโรงพยาบาลศูนย์ ใช้ เครื่องช่วยหายใจ ต่อมาผู้ป่วยเสียชีวิต
  • 58. ใครเคยเย็บบ้าง นาย ยอดเข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุ มาถึง รพ.มี พยาบาล ผู้ช่วยเหลือคนไข้ และนักศึกษาพยาบาล ช่วยกันทาความสะอาดแผลและเย็บแผล แต่ก่อนจะเย็บ แผล มีพยาบาลคนหนึ่งได้เอ่ยกับนักศึกษาพยาบาลว่า “ ใครเคยเย็บแผลบ้าง “ ไม่มีใครตอบว่าเคยเย็บ พยาบาลจึงสอนกันเย็บแผล
  • 59. นาง ธารา พยาบาลวิชาชีพ ถูกนายพิมุก กล่าวหา ผู้ป่วยเข้า รับการรักษาที่รพ. ด้วยอาการเลือดออกไม่หยุดหลังจากไป ถอนฟันจากคลินิกแห่งหนึ่ง แพทย์สั่งให้ใช้อะดรีนาลินแพ็ค ด้วยวาจา ตานางธารา นาอะดรีนาลินฉีดเข้าเส้นเลือดดา บริเวณข้อพับ ทาให้ผู้ร้องมีอาการกระสับกระส่าย หัว ใจเต้นแรง หายใจไม่ออก
  • 60.  กระทาผิดวินัย ในกรณีเจตนาดีในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ไม่ต้องการให้ผู้ป่วยใช้มือดึงลวดมัดฟันออก เพราะการดึงลวดทา ให้ปากเกิดบาดแผล จึงให้ผู้ช่วยเหลือคนไข้จับมือผู้ป่วยในท่ากา มือและใช้ผ้ายางยืดพันมือโดยรอบ๑ ม้วน หลังพันผู้ป่วยยังคง พยายามคลายมืออก จึงได้ใช้ผ้ายางยืดพันทับอีก๑ ม้วน ไม่ได้ รายงานหัวหน้าเวร การพันดังกล่าวผิดมาตรฐานวิชาชีพ ไม่ได้ คลายผ้าทุก ๑-๒ ชั่วโมง รวม ๔๑ ชั่วโมง เป็นเหตุให้เลือดไป เลี้ยงมือไม่พอ มือทั้ง๒ ข้างบวม จนในที่สุดถูกตัดนิ้วมือบริเวณ ปลายนิ้วนาง และนิ้วก้อยไปครึ่งนิ้ว  กระทาผิดวินัยร้ายแรงฐานปฏิบัติหน้าที่ด้วยความไม่เอาใจใส่ ระมัดระวังประโยชน์ของราชการ ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ ราชการ ตามมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง
  • 61. ข้อ ๑๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องปฏิบัติต่อผู้ป่วย หรือผู้ใช้บริการโดยสุภาพและปราศจากการ บังคับขู่เข็ญ ข้อ ๑๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่หลอกลวง ผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ ให้หลงเข้าใจผิดเพื่อ ผลประโยชน์ของตน
  • 62. บอกให้ไปนอนก็ไม่ฟั ง อัด....ซะ!  นำยอิทธิฯ ตำแหน่งพยำบำลวิชำชีพ ขณะปฏิบัติหน้ำที่อยู่เวรพยำบำลผู้ป่ วย เมื่อเวลำประมำณ 20 นำฬิกำเศษ นำยสิงห์ ผู้ป่ วยรำยหนึ่งได้ส่งเสียงเอะอะ โวยวำย นำยอิทธิฯ จึงไปสอบถำมอำกำรจึงทรำบว่ำนำยสิงห์ หิวข้ำว แต่ เนื่องจำกในช่วงเวลำดังกล่ำวผู้ป่ วยต้องพักผ่อน จึงแนะนำให้นำยสิงห์ หยุดร้อง และนอนพักผ่อน จำกกรณีดังกล่ำวทำให้นำยเสือ ผู้ป่ วยเตียงข้ำงเคียงนอนไม่ หลับและลุกขึ้นจำกเตียง นำยอิทธิฯ บอกให้นำยเสือ ไปที่เตียงนอน 2 ครั้ง แต่ นำยเสือ ไม่ทำตำม นำยอิทธิฯ จึงถำมว่ำ “นอนเองได้ไหม ….ทำไมบอกยำกจัง .....ถ้ำไม่นอนจะเอำผ้ำมัดไว้นะ” นำยอิทธิฯ ได้บอกให้ นำยเอกชัยฯ ผู้ช่วย เหลือคนไข้ไปเอำผ้ำมำ ทำให้ นำยเสือ ปัดมือนำยอิทธิฯ และตรงเข้ำมำหำนำย อิทธิฯด้วยท่ำทำงหงุดหงิด นำยอิทธิฯ เกรงว่ำ นำยเสือฯ จะทำร้ำยตน จึงชก ไปที่คำงนำยเสือ 1 ครั้ง จำกนั้น นำยอิทธิฯ และนำยเอกชัยฯ ร่วมกันจะจับนำย เสือ แต่นำยเสือกระโดดขึ้นบนเตียงและพูดว่ำ “งั้นต่อยตัวต่อตัว” เมื่อพูดจบ นำยเสือ ได้กระโดดลงจำกเตียง แต่ได้เข้ำชกต่อยนำยเอกชัยฯแทน โดยนำยเอก ชัยฯ ไม่ได้ตอบโต้แต่อย่ำงใด นำยอิทธิฯ อยู่ในที่เกิดเหตุกลับไม่แยกทั้งคู่ออก จำกกัน ปล่อยให้ทั้งคู่ชุลมุนกันประมำณ 5 นำที จึงแยกจำกกันเอง
  • 63. • พฤติกรรมของนายอิทธิฯ เป็นความผิดวินัยฐาน ไม่ให้ความสงเคราะห์แก่ ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ ด้วยความสุภาพเรียบร้อย โดยกระทาการข่มเหง ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ และฐานไม่รักษาชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของ ตาแหน่งหน้าที่ราชการ โดยกระทาการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ตาม มาตรา 94 วรรคหนึ่ง และมาตรา 98 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 ได้รับโทษภาคทัณฑ์
  • 64.  ข้อ ๑๒ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่ คานึงถึงความปลอดภัยและความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย หรือผู้ใช้บริการ  ข้อ ๑๓ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะ อันตรายจากการเจ็บป่วยเมื่อได้รับการขอร้องและตนอยู่ ในฐานะที่จะช่วยได้
  • 65.  ข้อ ๑๔ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ออกใบรับรองเป็นเท็จ โดยเจตนา หรือให้ความเห็นโดยไม่สุจริตในเรื่องใดๆ อัน เกี่ยวกับวิชาชีพของตน  ข้อ ๑๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่เปิดเผยความลับของ ผู้ป่วย หรือผู้ใช้บริการ ซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการ ประกอบวิชาชีพเว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วยหรือ ผู้ใช้บริการ หรือเมื่อต้อปฏิบัติตามกฎหมายหรือตาม หน้าที่
  • 66. เสนอผลงานเท็จ • นางสดใส พยาบาลวิชาชีพ 7 หัวหน้าหอผู้ป่ วยเด็ก โรงพยาบาลสายสวรรค์ ได ้ เสนอผลงานขอประเมินเพื่อแต่งตั้งขึ้นดารงตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ 8 (ด ้านการ พยาบาลผู้ป่ วยหนัก) ได ้ส่งเอกสารแบบประเมินบุคคลและผลงาน ส่วนที่ 2 ผล การปฏิบัติงานหรือผลสาเร็จของงาน โดยระบุจานวนปริมาณงานด ้านบริการ/ ปฏิบัติงานย ้อนหลัง 3 ปี ในส่วนของผลงานเฉพาะตัว หัวข ้อเรื่องการพยาบาลที่ ต ้องใช ้เครื่องมือพิเศษ การรักษาด ้วยแสงเป็นเท็จ เนื่องจากการรักษาด ้วยแสงใน โรงพยาบาลสายสวรรค์ มีหอผู้ป่ วยกุมารเวชกรรม เท่านั้นที่จะสามารถทาหัตถการ ดังกล่าวได ้ และในส่วนของผลงานทางวิชาการ นางสดใส ได ้นาแฟ้มประวัติผู้ป่ วย จานวน 3 แฟ้ม มาเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างการพยาบาลผู้ป่ วยโรคไข ้เลือดออก โดยกรณีศึกษารายที่ 1 และรายที่ 3 มีข ้อมูลบางประการที่ไม่ตรงกับผลงานทาง วิชาการที่นาเสนอ ส่วนกรณีศึกษารายที่ 2 มีข ้อมูลค่อนข ้างตรงกับผลงานทาง วิชาการที่นาเสนอ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขพิจารณาแล ้วมีความเห็นว่า การที่นางสดใส ได ้เสนอผลงานประเมินเพื่อแต่งตั้งขึ้นดารงตาแหน่งพยาบาล วิชาชีพ 8 (ด ้านการพยาบาลผู้ป่ วยหนัก) ซึ่งเป็นความเท็จบางส่วนดังกล่าวเสนอ ต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับ เป็นความผิดวินัย ฐานรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา และฐานประพฤติชั่ว ตามมาตรา 90 วรรคหนึ่ง และมาตรา 98 วรรคหนึ่ง แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบ ข ้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 จึงได ้มีคาสั่งลงโทษตัด เงินเดือน นางสดใส จานวน 5% เป็นเวลา 2 เดือน
  • 67. กลุ่มงานวินัยและระบบคุณธรรม สานักบริหารกลางสานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งคาลงโทษวินัยข้าราชการ ข้าราชการกระทาผิดวินัยฐานกระทาอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ตามมาตรา๙๘ แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน นางสาว...ได้ปลอมลายมือชื่อผู้อานวยการโรงพยาบาล.. ในหนังสือ รับรองเงินเดือนให้นาง.............ที่อ้างว่านาไปประกอบการค้า ประกันในการกู้ยืมเงินกับบริษัทไฟแน้ท.เอกสารได้นาไปใช้ ประกอบการจัดทาสินเชื่อ กับบริษัท จนมีการอนุมัติเงิน
  • 68. ตารางเวรสองฉบับ • นางแดง ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ หัวหน้างานอุบัติเหตุ ได้จัดทาตาราง เวรปฏิบัติงานนอกเวลาราชการและในวันหยุดราชการของงานอุบัติเหตุ เป็ น 2 ฉบับไม่ตรงกัน โดยฉบับที่ 1 ใช้เสนอผู้อานวยการโรงพยาบาล อนุมัติและใช้เป็ นหลักฐานประกอบการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการอยูเวร นอกเวลาราชการให้กับเจ้าหน้าที่ที่อยู่เวร ส่วนฉบับที่ 2 จัดตารางเวรตาม ความต้องการของเจ้าหน้าที่ที่อยู่เวรซึ่งวันที่อยู่เวรไม่ตรงกับตารางเวร ฉบับที่ 1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่จะต้องอยู่เวรสะดวกในการขึ้นเวรโดยเฉพาะ เรื่องความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ที่ต้องออกเวรเวลาประมาณ 24.00 น. และมารับเวรเวลาประมาณ 23.00 น.-24.00 น. โดยในช่วงเวลาดังกล่าว ไม่มีรถโดยสารประจาทางผ่านหน้าโรงพยาบาลและโรงพยาบาลไม่ สามารถจัดห้องพักเวรให้เจ้าหน้าที่ได้ ส่วนตารางเวรฉบับที่ 1 จะใช้เป็ น หลักฐานประกอบการเบิกจ่ายค่าตอบแทน สาหรับการเบิกเงินค่าเวรจะ เบิกตามจานวนเวรที่อยู่จริงและเบิกตามสิทธิของผู้ที่อยู่เวร
  • 69. • พฤติกรรมของนางแดง ที่จัดตารางเวร 2 ฉบับไม่ตรงกัน เป็นการกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร ้ายแรง ฐานรายงานเท็จ ต่อผู้บังคับบัญชา ตามมาตรา 83 (1) ประกอบมาตรา 84 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข ้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และการที่ให ้นางเหลือง อยู่เวรแทนนางเขียว พยาบาลวิชาชีพ ทั้งที่นางเหลือง เป็นเพียงพนักงานเวช กิจซึ่งไม่มีคุณสมบัติที่จะปฏิบัติงานการพยาบาลได ้เป็น การกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร ้ายแรง ฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่ ราชการให ้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบของทาง ราชการ ตามมาตรา 82(2) ประกอบมาตรา 84 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข ้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ลงโทษตัดเงินเดือน จานวน 5% เป็นเวลา 1 เดือน
  • 70. สั่งยาเพิ่มเติมจากที่แพทย์  นางสาวยาใจ พยาบาลวิชาชีพ ในขณะที่ปฏิบัติงานเป็น หัวหน้าเวรดึก ระหว่างเวลา 24.00 – 08.30 น. แพทย์เวร ได ้เขียนใบสั่งยาและใบ ย.ส.5 ไว ้เพื่อกรอกจานวนยา Pethidine ซึ่งเป็นยาเสพติดประเภท 2 เพื่อฉีดให ้กับ ผู้ป่ วยตามคาสั่งของแพทย์เวร แต่เจ ้าหน้าที่ผู้นี้ได ้กรอก จานวนยาเพิ่มเติมจากที่แพทย์สั่งเพื่อนายาไปฉีดให ้แก่ ตนเอง  พฤติการณ์ดังกล่าวของนางสาวยาใจ เป็นการกระทาผิด วินัยฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่ราชการด ้วยความซื่อสัตย์สุจริต และเที่ยงธรรม มาตรา 82 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ ข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 (ปัจจุบันเป็นความผิด ตามมาตรา 82 (1) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551)  ได ้รับโทษตัดเงินเดือน จานวน 5 % เป็นเวลา 3 เดือน
  • 71.  ข้อ ๑๖ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่ อยู่ในระยะอันตรายจากการเจ็บป่วยเมื่อได้รับคาร้องและ ตนอยู่ในฐานะที่จะช่วยได้  ข้อ๑๗ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบการในทาง สาธารณะ หรือสถานที่สาธารณะเว้นแต่ในเหตุฉุกเฉินใน การปฐมพยาบาล.....  ข้อ ๑๘ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องไม่ใช้หรือสนับสนุนให้มีการ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ การ ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์หรือสาธารณสุขหรือการ ประกอบโรคศิลปะโดยผิดกฎหมาย
  • 72. พักใช้ใบอนุญาต นาง ชรา ได้ประกอบวิชาชีพก้าวล่วงวิชาชีพเวช กรรม โดยฉีดสเต็มเชล ครั้งแรก ให้นายฉลาด น้อย และเพื่อน ที่ร้านอาหารชี ครั้งที่๒ถึง ครั้งที่ ๔ ที่คลินิกทางเลือก รพ.น และครั้งที่ ๕ ที่ร้าน เสริมสวย
  • 73.  ข้อ ๑๙ ผู้ประกอบวิชาชีพ พึงยกย่องให้เกยีรติและเคารพ ในศักดิ์ศรีซึ่งกันและกัน  ข้อ ๒๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่น แกล้งกัน  ข้อ ๒๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ชักจูงผู้ป่วยหรือ ผู้ใช้บริการผู้อื่นมาเป็นของตน
  • 74.  ข้อ ๒๒ ผู้ประกอบวิชาชีพ พึงยกย่องให้เกยีรติและเคาระ ในศักดิ์ศรีของผู้ร่วมงาน  ข้อ ๒๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่น แกล้งผู้ร่วมงาน  ข้อ ๒๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ พึงส่งเสริมและสนับสนุนการ ประกอบวิชาชีพของผู้ร่วมงาน
  • 75. กลุ่มงานวินัยและระบบคุณธรรม สานักบริหารกลาง สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได ้แจ ้งคาลงโทษ วินัยข ้าราชการ ข ้าราชการกระทาผิดวินัยฐานไม่รักษา ความสามัคคี และกลั่นแกล ้งข ้าราชการด ้วยกัน ตาม มาตรา๙๓ แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข ้าราชการพลเรือน.. นาง.... นาเอาโทรศัพท์มือถือของนางสาว... ทิ้งลง ชักโครก ในห้องน้าทาให้ได้รับความเสียหาย
  • 76. กลุ่มงานวินัยและระบบคุณธรรม สานักบริหารกลาง สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข  ได้แจ้งคาลงโทษวินัยข้าราชการ ข้าราชการกระทา ผิดวินัยฐานกระทาการหาประโยชน์ อันอาจทาให้ เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของ ตน ตามมาตรา๙๕ แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน  กรณีเก็บทรัพย์สิน(โทรศัพท์มือถือ) ของผู้อื่นได้แล้ว นาไปฝากขาย โดยไม่สืบหาเจ้าของที่แท้จริงว่าเป็ น ของผู้ใด  เลขาธิการกล่าวโทษ นาง...... ตามมาตรา ๓๓ วรรค สอง แห่ง พ.ร.บวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
  • 77. จอมไฮปาร์ค • นายยิ่ง ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ได้เข้าร่วม ชุมนุมและขึ้นเวทีกล่าวกล่าวปราศรัยโจมตี พรรคการเมืองพรรคหนึ่งและผู้สมัคร ส.ส. ด้วย ถ้อยคาที่รุนแรง พฤติการณ์ของนายยิ่ง ดังกล่าว เป็ นการกระทาผิดวินัย ฐานไม่วางตนเป็ นกลาง ทางการเมืองตามมาตรา ๘๒(๙) ลงโทษตัด เงินเดือนจานวน ๕% เป็ นเวลา ๑ เดือน
  • 80.
  • 83. คดีแพ่งพยาบาลฉีดยาผิดชนิด รพ.เอกชน ฟ้องนายจ้างและลูกจ้าง ปพพ. มาตรา 420,425,427 รพ. รัฐบาล ฟ้องหน่วยงานรัฐ ปพพ. มาตรา 420 -พรบ.ความ รับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พศ.2539 มาตรา 5 , พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคพ.ศ.2551
  • 84. •เช่น พยำบำล ก. (รพ.เอกชน) ฉีดยำผิดชนิด จนนำย ข.คนไข้ ได้รับอันตรำยถึงแก่ควำมตำย พยำบำล ก. ต้องรับผิดอย่ำงไร 103
  • 85. •คดีแพ่ง (ฟ้องเป็นคดีผู้บริโภค) • ถ้ำเป็นแพทย์/พยำบำลใน รพ.เอกชน • ทำยำทของ ข.ฟ้องเรียกค่ำสินไหมทดแทนจำกพยำบำล ก. เป็นคดีละเมิด โดยถือว่ำพยำบำล ก.ประมำทเลินเล่อตำม ปพพ.มำตรำ 420 และฟ้องเจ้ำของโรงพยำบำลได้ในฐำนะ นำยจ้ำง มำตรำ 425 โดยยื่นฟ้องต่อศำลแขวง(ทุนทรัพย์ไม่ เกิน 3 แสนบำท) ต่อศำลแพ่งหรือศำลจังหวัด(เกิน 3 แสน) 105
  • 86. เป็นแพทย์พยำบำลในรพ.รัฐ • แต่ถ้ำเป็นรพ.รัฐและพยำบำล ก.ทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ ทำยำทของข.ต้องฟ้องหน่วยงำนของรัฐ คือ สธ.หรือ สำนักงำนปลัด สธ.หรือหน่วยงำนรัฐที่สังกัดเป็นจำเลย ตำมมำตรำ 5 พ.ร.บ.ควำมรับผิดทำงละเมิดของ เจ้ำหน้ำที่พ.ศ. 2539 • จะฟ้องพยำบำล ก.เป็นจำเลยไม่ได้
  • 88. 111 ว่ำด้วยบุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหำนคร เมืองพัทยำ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล สุขำภิบำล องค์กำรบริหำรส่ วนท้องถิ่นอื่นหรือ สภำกำชำดไทย มอบหมำยให้ประกอบวิชำชีพเวช กรรมในควำมควบคุมของเจ้ำหน้ำที่ ซึ่งเป็ นผู้ ประกอบวิชำชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539 ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
  • 89.  ข้อ 12 ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ ซึ่งได้รับประกาศนียบัตร การศึกษาหรืออบรมในหลักสูตรวิสัญญี พยาบาลจากกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร หรือสถาบันการศึกษา ของรัฐบาล ทาการให้ยาสลบได้เฉพาะการ ให้ยาสลบชนิด General anesthesia คือ การทาให้หมดความรู้สึกตัว แต่ไม่รวมถึง การให้ยาชาทางไขสันหลัง หรือการระงับ ความรู้สึกทางไขสันหลัง ทั้งนี้ ให้อยู่ใน ความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็ นผู้ ประกอบวิชาชีพเวชกรรมอย่างใกล้ชิด
  • 90. • *****ข้อ 18 ให้บุคคลที่ได้รับมอบหมำยทำกำร ประกอบวิชำชีพเวชกรรมตำมระเบียบนี้สำมำรถทำ กำรประกอบวิชำชีพเวชกรรมนอกเหนือจำกที่ กำหนดไว้ในระเบียบนี้ได้เป็นกำรเฉพำะรำยหรือ กรณี โดยให้อยู่ในดุลพินิจของผู้บังคับบัญชำซึ่งเป็น ผู้ประกอบวิชำชีพเวชกรรมได้มอบหมำยเป็น ลำยลักษณ์อักษร *****
  • 91. ผลที่พยำบำลฝ่ ำฝืนข้อบังคับ,ประกำศสภำกำรพยำบำล พ.ศ.2550หรือระเบียบสธ.พ.ศ.2539 • ได้รับโทษเช่นเดียวกับผู้ฝ่าฝืน พ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 มาตรา 26 เพราะเป็นการประกอบวิชาชีพ เวชกรรมโดยมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม รับโทษ จาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 30,000 บาทหรือทั้งจา ทั้งปรับ และนอกจากนี้ยังผิดฐานทาร้ายร่างกายผู้อื่นตาม ปอ.มาตรา 391, 295, 297, 290แล้วแต่กรณี 122
  • 93. 124 •เหตุผลหลัก คือ เพื่อให้เกิดอำนำจใน กำรรักษำพยำบำลของแพทย์หรือ บุคลากรทางด้านสาธารณสุข ซึ่งจะได้ ไม่เป็นควำมผิดทำงอำญำฐำนทำร้ำย ร่ำงกำยผู้ป่ วยตำม ม.295,297,290
  • 94. 125 • ความยินยอมโดยชัดแจ้ง • ความยินยอมโดยปริยาย เช่น พยาบาลบอกกับผู้ป่ วยว่าจะ ฉีดยาให้ ผู้ป่ วยมิได้แสดงอาการขัดขืนหรือเดินไปนอน รอบนเตียงผู้ป่ วย • ความยินยอมนั้นไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี • ความยินยอมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน • ความยินยอมอันบริสุทธิ์ปราศจากแรงจูงใจ ความยินยอมของผู้รับบริการ
  • 95. 126 • การแสดงความยินยอม กฎหมายไม่ได้บังคับว่า ต้องทาเป็ นหนังสือหรือทาเป็ นลายลักษณ์อักษร เพราะการแสดงความยินยอมสามารถทาด้วย วาจา หรือการแสดงออกโดยปริยายก็ได้ • เช่นพยาบาล บอกว่าต้องนอนตะแคงเพื่อทาการ ฉีดยาผู้ป่ วยก็ขยับตัวนอนตะแคง อย่างนี้ก็ต้อง ถือว่าผู้ป่ วยให้ความยินยอมโดยปริยายแล้ว แต่ที่ นิยมทากันเป็ นลายลักษณ์อักษรก็เพื่อจะได้ไม่ ต้องมาโต้แย้งกันในภายหลัง
  • 96. • เมื่อกฎหมายไม่ได้บังคับว่าความ ยินยอมต้องทาเป็ นหนังสือ ก็แสดงว่าไม่ได้บังคับให้ต้องมีพยาน ดังนั้นไม่จาเป็ นต้องมีการลงชื่อ พยานก็ได้ แต่ในทางปฏิบัติควรมี พยานเพื่อป้ องกันการโต้แย้งกันใน ภายหลัง
  • 97. 128 • หากรักษาโดยไม่ได้รับความยินยอมจะมี ความผิดดังนี้ 1 ผิดฐานใช้กาลังทาร้ายไม่ถึงกับเป็ น อันตรายแก่กาย ปอ. ม. 391 หรือความผิด ต่อเสรีภาพ ม.309 เช่นบังคับเจาะเลือด หรือ บังคับตรวจภายใน 2. ถ้าผู้ป่ วยเป็ นอันตรายแก่กาย แพทย์ พยาบาลผิดม.295 สาหัสผิด ม.297 ถ้าตาย ผิดม.290(เจตนา) 3. ผิดต่อหน่วงเหนี่ยวกักขัง ปอ. ม. 310 เช่นผู้ป่ วยมีสิทธิปฏิเสธการรักษาและขอกลับ บ้าน พยาบาลไม่ยอมให้กลับปิดประตูขังไว้ เป็ นต้น
  • 98. 129 • ความยินยอม • ข้อยกเว้นไม่ต้องได้รับความยินยอม 1. กรณีฉุกเฉิน อุบัติเหตุไม่รู้ตัว อ้างความ จาเป็ นตามมาตรา 67(2) ยกเว้นโทษได้ 2. กรณีผู้รับบริการไม่อาจให้ความยินยอมได้ เช่น เด็ก ปัญญาอ่อน วิกลจริต แต่ควรได้รับความ ยินยอมจาก บิดา มารดา หรือผู้ปกครองแล้วแต่ กรณี 3. กรณีตรวจร่างกายผู้ต้องหา แม้ไม่ยินยอม แต่เพื่อผลประโยชน์แก่รูปคดีก็ได้รับการยกเว้น เช่น ตรวจร่างกายผู้ต้องสงสัยที่ก่อคดีข่มขืน ตาม ป.วิ. อาญา ม.132
  • 99. 130 กรณีผู้ป่ วยต้องกำรจะตำย และขอร้องให้ แพทย์หรือพยำบำลฉีดยำให้ผู้ป่ วยตำย การที่พยาบาลทาตามความต้องการของผู้ป่วย แม้กระทำไปด้วย ควำมสงสำรผู้ป่ วยที่กำลังทนทุกข์ทรมำนด้วยเวทนำอันแรง กล้ำก็ตำม ถือว่ำมีควำมผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นโดยเจตนำ ตามมาตรานี้กรณีนี้ความยินยอมของผู้ป่ วยคงไม่สามารถจะ นามาใช้เพื่อยกเว้นความผิดได้เพราะเป็น ความยินยอมที่ขัดต่อ สานึกในศีลธรรมอันดี (กำรที่พยำบำลทำให้ผู้ป่ วยตำยในเวลำ เร็วกว่ำที่ควรจะตำยตำมควำมเป็นจริงถือเป็นกำรฆ่ำแล้ว)
  • 100. 131 •มำตรำ 374 ผู้ใดเห็นผู้อื่นตกอยู่ใน ภยันตรำยแห่งชีวิต ซึ่งตนอำจช่วยได้โดย ไม่ควรกลัวอันตรำยแก่ตนเองหรือผู้อื่น แต่ ไม่ช่วยตำมควำมจำเป็น ต้องระวำงโทษ จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งพันบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ การปฏิเสธการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
  • 101. 133 • กรณีตัวอย่าง ผู้ป่ วยได้รับอุบัติเหตุอยู่ภาวะอันตราย ญาติได้นาส่งโรงพยาบาลแห่งหนึ่งที่อยู่ใกล้ที่เกิดเหตุ แต่ เนื่องจากโรงพยาบาลแห่งนั้นไม่มีเตียงว่าง พยาบาลที่อยู่เวร จึงปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือผู้ป่ วย กรณีเช่นนี้ย่อมกระทา ไม่ได้ พยาบาลจะปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ป่ วยที่อยู่ในภาวะ อันตรายเช่นนั้นไม่ได้ เป็ นความผิดตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 374 นอกจากนั้นยังมีความผิดในด้านคุณธรรมของผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาล ตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วย การรักษา จริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ พ.ศ. 2550 ในการปฏิบัติต่อผู้ป่ วยหรือผู้รับบริการข้อ 16 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการ ผดุงครรภ์ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะอันตรายจาก การเจ็บป่ วยเมื่อได้รับการขอร้องและตนอยู่ในฐานะที่จะช่วย ได้
  • 102. 134 **พยาบาลรพ.เอกชนมีหน้าที่ตามสัญญาหรือ พยาบาล รพ.รัฐมีหน้าที่ตามกฎหมายต้องให้ยารักษา โรคตามแผนการรักษาของแพทย์ แต่พยาบาลงดเว้น โดยเจตนาไม่ให้ยา รักษาโรคตามที่เเพทย์สั่ง จนต่อมา ผู้ป่ วยถึงแก่ความตาย ผิดฐานฆ่าผู้อื่นให้ถึงแก่ความ ตายโดยเจตนางดเว้นหน้าที่ที่จักต้องกระทา (หรือหากนั่งเล่นlineเพลินลืมให้ยาก็เป็นความผิด ฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นตายโดยงดเว้นได้)
  • 103. 135 กระทำโดยประมำท มาตราที่เกี่ยวข้อง มาตรา 59 วรรค 4 ถ้าได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ มาตรา 390 ถ้าได้รับอันตรายสาหัส มาตรา 300 ถ้าได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย มาตรา 291 จะเห็นว่ามาตราที่ยกมาส่วนใหญ่เป็ นการกระทาโดยประมาท ซึ่งผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาลจะผิดฐานนี้เป็ นส่วนใหญ่ ต้องระวัง นอกจากนี้ยังมี ความผิดฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังโดยประมาทตามมาตรา 311
  • 104. 136 เหตุการณ์อันน่าหวาดเสียวครั้งนี้ เกิดขึ้นที่ “โรงพยาบาลเทศบาลนครนครศรีธรรมราช” เมื่อมี ทารกน้อยวัย 7 เดือนเศษ มารักษาตัว เนื่องจากท่อ ทางเดินปัสสาวะอักเสบ แต่พยาบาลเกิดทาพลาด ขณะพยายามฉีดยารักษาอาการป่ วยอยู่นั้น เด็กเกิด ร ้องจ๊าก!!! ขึ้นมา พยายามดิ้นอย่างแรง ทาให ้เข็มฉีด ยาตกเข ้าไปในลาคอ ไหลลงสู่กระเพาะ ผ่านลาไส ้ ใหญ่ ใช ้เวลา กว่า 30 ชั่วโมงจึงถ่ายออกมาปนกับ อุจจาระ “บทเรียนอันสูงสุดครั้งนี้ ต ้องยอมรับว่า เป็นความ ผิดพลาดของพยาบาลที่พยายามจะฉีดยาให ้กับเด็ก โดยให ้แม่เป็นคนจับล็อคตัวเด็กเอาไว ้ ซึ่งในกรณีเช่นนี้ หากเด็กดิ้นมาก ควรจะมีพยาบาลเพิ่มขึ้นมาอีก 1-2 คน เพื่อช่วยกันดูแลให ้ดีกว่านี้”
  • 105. • ผู้ป่ วยฉุกเฉินมำโรงพยำบำล จำเป็นต้องรักษำโดยใช้ เครื่องช่วยหำยใจ แต่ไม่สำมำรถนำเครื่องมือมำใช้ให้ ผู้ป่ วยได้ทันเวลำ เพรำะเครื่องมือขำดแคลน ทั้งๆที่ ได้พยำยำมช่วยอยู่ตลอดเวลำจนสุดควำมสำมำรถ • หำกผู้ป่ วยเสียชีวิต ถือไม่ได้ว่ำเกิดจำกควำม ประมำทของแพทย์ • แต่เป็นควำมประมำทของโรงพยำบำล เครื่องมือแพทย์ไม่พร้อม
  • 107. • มาตรา 8 คาว่า "เหตุสุดวิสัย" หมายความ ว่า เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติ ก็ดี เป็ นเหตุที่ไม่อาจป้ องกันได้ แม้ทั้ง บุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบ เหตุนั้น จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและ ภาวะเช่นนั้น "เหตุสุดวิสัย"
  • 108. • เหตุที่เกิดขึ้นนั้นต้องมิใช่เกิดจากการกระทาของผู้ต้อง ประสบ แต่เกิดจากเหตุภายนอกตัวผู้ต้องประสบ ซึ่งอาจ เกิดจาก • ภัยธรรมชาติ ซึ่งอยู่นอกเหนืออานาจของมนุษย์ อาทิ ฟ้ าผ่า แผ่นดินไหว หรือน้าท่วม เป็ นต้น • เกิดจากอานาจรัฐ คือราชภัย เช่น การที่รัฐออก กฎหมายห้ามการกระทาบางอย่างกรณีเช่นนี้อาจถือได้ ว่าเป็ นเหตุสุดวิสัยได้ • เกิดจากการทาของบุคคลภายนอกหรือปัจจัยภายนอก เช่น มีคนสูบบุหรี่บริเวณถังออกซิเจนระเบิดทาให้ถัง ออกซิเจน
  • 109. 143 “กำรกระทำตำมคำสั่งของเจ้ำพนักงำน” • ประมวลกฎหมายอาญา มำตรำ 70 ซึ่งบัญญัติว่า “ผู้ใดกระทำตำมคำสั่งของเจ้ำพนักงำน แม้ คำสั่งนั้นจะมิชอบด้วยกฎหมำย ถ้ำผู้กระทำ มีหน้ำที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ำมีหน้ำที่ต้อง ปฏิบัติตำม ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ เว้นแต่จะรู้ ว่ำคำสั่งนั้นเป็นคำสั่งซึ่งมิชอบด้วย กฎหมำย”
  • 111. 145 • ในกำรประกอบวิชำชีพกำรพยำบำล ผู้ อำจเกิดปัญหำทำงกฎหมำยอำญำในเรื่องกระทำตำม คำสั่งโดยรู้อยู่แล้วว่ำคำสั่งไม่ถูกกฎหมำย • เช่น กำรรับคำสั่งแพทย์ซึ่งผู้ประกอบวิชำชีพให้กระทำ เวชกรรม และพยำบำลทรำบตั้งแต่แรกแล้วว่ำเป็น คำสั่งที่ไม่ถูกต้องขัดต่อระเบียบสธ.ปี39 กำรนำ คำสั่งดังกล่ำวไปปฏิบัติเมื่อเกิดผลร้ำยขึ้นกับผู้ป่ วยถือ ว่ำผู้ประกอบวิชำชีพพยำบำลมีเจตนำทำร้ำยให้ผู้ป่ วย ได้รับอันตรำย
  • 112.
  • 115. 1. กรณีถูกร้องทุกข์หรือกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน ผู้เสียหายร้อง ทุกข์ พนักงาน สอบสวน รับแจ้งความ สอบสวน รวบรวม พยานหลักฐาน ไม่มีพยานหลักฐานยืนยัน ว่าได้กระทาผิดตามที่กล่าว สั่งไม่ฟ้ องเสนอ สานวนไปพนักงาน อัยการ มีพยานหลักฐาน ยืนยันว่ากระทา ผิดตามที่กล่าวหา ออกหมายเรียก ผู้ต้องหา ยื่นคาร้อง ต่อศาล ขอออก หมายจับ จับกุม ตรวจ ค้น แจ้งข้อกล่าวหา ควบคุมตัว ยื่นขอประกันตัว/ ปล่อยชั่วคราว ฝากขัง
  • 116. 2. กรณีผู้เสียหายนาคดีไปฟ้ องต่อศาลเอง ผู้เสียหายยื่นฟ้ องต่อศาล ส่งคาฟ้ องให้ผู้ถูก ฟ้ อง ผู้ถูกฟ้ องทาหนังสือแจ้ง ผู้บังคับบัญชาทราบและขอพนักงาน อัยการแก้ต่าง อัยการจังหวัด/อัยการสูงสุด แจ้งรับ/ ไม่รับแก้ต่าง ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ผู้บังคับบัญชาทาหนังสือถึง อัยการจังหวัด/อัยการสูงสุด แจ้งผู้บังคับบัญชา ของผู้ถูกฟ้ องทราบ นัดไต่สวนมูล ฟ้ อง ไม่มีมูลยก ฟ้ อง มีมูลประทับ รับฟ้ อง ศาลออกหมายเรียก การขอประกันตัว ปล่อยตัวชั่วคราว
  • 117.
  • 119. แนวทางการพิจารณาของศาล • การดูแลก่อนการดาเนินการรักษา – การซักประวัติ – การตรวจก่อนการดา เนินการรักษา – ความพร้อมของเครื่องมือ เครื่องใช้ที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล – การให้ข้อมูลที่จาเป็น • ขั้นตอนวิธีการรักษา – ผู้ทาการรักษาพยาบาลต้องเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพ – ปฏิบัติการรักษาพยาบาล ตามขั้นตอน – เมื่อเกิดเหตุไม่พึงประสงค์ ได้แก้ไขได้ทันที การดูแลผู้ป่ วยหลังการรักษา
  • 120. การเตรียมการเมื่อเข ้าสู่กระบวนการดาเนินการคดี • กระบวนการรักษาตั้งแต่ เริ่มต ้นจนเสร็จสิ้นมีบันทึกไว ้อย่าง สมบูรณ์ต่อเนื่องทุกกระบวนการ เมื่อพยานมาเบิกความ ประกอบเอกสาร ทาให ้พยานฝ่ ายจาเลยมีน้าหนักมาก • กระบวนการรักษาเป็นไป ตามมาตรฐานทุกขั้นตอน สามารถ ชี้แจงอธิบายได ้สมเหตุสมผล • การใช ้ดุลยพินิจต ้องอยู่บนหลักการที่ถูกต ้องตามหลัก วิชาการ ไม่มีความประมาทหรือนัยหนึ่งคือ การดาเนินการที่ ถูกต ้องตามหลักวิชาการ มีมาตรฐานวิชาชีพจึงจะไม่ถือเป็น การกระทาโดยประมาทอันจะมีความผิดตามกฎหมาย
  • 121.
  • 122.
  • 123.
  • 125. ๕ ประเด็นหลักที่ให้บันทึก • วันนี้ผู้ป่วยเป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับวันที่มา และวันที่ผ่านมา • วันนี้มีแผนการรักษาอะไรที่เริ่มใหม่ อะไรที่เลิก อะไรที่ต้องทาต่อ • วันนี้มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการอะไรบ้าง เก็บได้หรือไม่ ผลมา หรือยัง แพทย์ทราบผลหรือยัง ผู้ป่วยและญาติ ทราบหรือยัง • วันนี้ผู้ป่วยต้องทาหัตถการอะไรหรือไม่ เตรียมแล้วหรือยัง จะทา เมื่อไหร่ ถ้าทาแล้วทาอะไรไปบ้าง แจ้งผลกับผู้ป่วยหรือยัง • วันนี้ต้องเตรียมผู้ป่วยและญาติเรื่องอะไร หากผู้ป่วยจะได้กลับ บ้าน
  • 127. เขตอำนำจศำลปกครอง มำตรำ 9 หน่วยงำนทำงปกครอง/จนท.ของรัฐ * หมำยเหตุ กฎ : พ.ร.ฎ. กฎกระทรวง ประกำศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผล บังคับเป็ นกำรทั่วไป โดย ไม่มุ่งหมำยให้ใชบังคับแก่ กรณีใดหรือบุคคลใดเป็ น กำรเฉพำะ กระทำกำร ออกกฎ/คำสั่ง/กระทำกำรอื่นใด โดยไม่ชอบด้วยกฎหมำย 1.ไม่มีหรือนอกเหนืออำนำจหน้ำที่ หรือไม่ถูกต้องตำมกฎหมำย 2.ไม่ถูกต้องตำมรูปแบบขั้นตอน/ หรือวิธีกำรอันเป็ นสำระสำคัญ/ หรือโดยไม่สุจริต 3.เลือกปฏิบัติไม่เป็ นธรรม 4.สร้ำงขั้นตอนโดยไม่จำเป็ น หรือสร้ำงภำระแก่ประชำชน 5.ใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบ 1.ละเลย 2.ปฏิบัติหน้ำที่ ล่ำช้ำเกินสมควร คดีที่ไม่อยู่ในอำนำจศำลปกครอง -วินัยทหำร -คณะกรรมกำรตุลำกำร -ศำลชำนัญพิเศษ กระทำละเมิด หรือควำมรับ ผิดอย่ำงอื่น 1.จำกกำรใช้อำนำจตำม กม. 2.จำกกฎ 3.คำสั่งทำงปกครอง คำสั่ง 4.ละเลยหรือล่ำช้ำ สัญญำทำงปกครอง กฎหมำยกำหนดให้หน่วยงำน ทำงปกครองหรือเจ้ำหน้ำที่ ของรัฐฟ้ องศำลเพื่อบังคับให้ บุคคลกระทำหรือละเว้นกระทำ คดีที่มีกฎหมำย กำหนดให้อยู่ในเขต อำนำจศำลปกครอง