SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 75
Baixar para ler offline
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ถอดบทเรียนจาก มาตรา ๔๑
สู่การป้ องกันผลกระทบจากการให้บริการ
นาง กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพมาตรฐาน สปสช.
หัวหน้าพยาบาล รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย”
ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร 2
ผลงานความครอบคลุมการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ
69.2
99.37 99.8299.1598.7597.82
96.2595.4793.0192.47
99.16 99.47
60
70
80
90
100
110
2544
2546
2548
2550
2552
2554
ปีงบประมาณ
%
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย”
ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
มติบอร์ดในการลงทะเบียนแทน (ประกาศ ณ 29 มิย. 55)
1. กรณีเด็กแรกเกิด
2. กลุ่มวัยทางาน
2.1 กลุ่มที่หมดสิทธิประกันสังคมตามมาตรา 10
2.2 กลุ่มที่หมดสิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ตามมาตรา 9
ได้แก่
- บุตรอายุเกิน 20 ปี
- ข้าราชการที่พ้นจากสภาพโดยรับบาเหน็จ
- ครอบครัวข้าราชการที่พ้นสภาพโดยรับบาเหน็จ
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย”
ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
การบริหาร
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปีงบประมาณ 2556
4
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย”
ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว
5
 ประมาณการประชากรผู้มีสิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติ
จานวน 48,445,000 คน
 อัตราเหมาจ่าย 2,755.60 บาทต่อผู้มีสิทธิประกันสุขภาพ
 คิดเป็นงบประมาณ 100,699.7580 ล้านบาท (ไม่รวมเงินเดือน)
ปีงบ 2556
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย”
ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
สรุปงบกองทุนปี 56
6
รายการ
จานวนเงิน
(ล้านบาท)
๑.บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว
๑.๑ ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการทางการแพทย์ต่างๆ ๑๐๐,๖๙๙.๗๖
๑.๒ เงินเดือนของหน่วยบริการภาครัฐ ๓๒,๗๙๕.๒๘
๒.บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ ๓,๒๗๖.๘๓
๓.บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ๔,๓๕๗.๗๙
๔.บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง ๔๑๐.๐๙
รวมทั้งสิ้น ๑๔๑,๕๓๙.๗๕
รวมกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ไม่รวมเงินเดือนหน่วยบริการภาครัฐ) ๑๐๘,๗๔๔.๔๖
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย”
ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
1. บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว
ประเภทบริการ จานวนบาท/ผู้มีสิทธิ
1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 983.49 (+11.98)
2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 975.85 (+3.68)
3. เงินเพิ่มสาหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 60.99
4. บริการกรณีเฉพาะ
(ค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/บริการโรคเฉพาะ)
262.10 (- 6.94)
5. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 313.70
6. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 12.88
7. บริการแพทย์แผนไทย 7.20
8. ค่าเสื่อม 128.69 (-12.81)
9. ส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76
10. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการตามมาตรา 41 5.19 (+4.09)
11. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นเพื่อการชดเชยผู้ให้บริการ 0.75
รวม (บาทต่อผู้มีสิทธิ) 2,755.60
หมายเหตุ ประเภทบริการที่ 5 ครอบคลุมประชาชนคนไทยทุกคน
ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการพยาบาล
จากกรณีผู้รับบริการขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
ตาม มาตรา 41
พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
อ.กฤษดา แสวงดี และทีม
ถอดบทเรียน
ความสาคัญ
• พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545
มาตรา 38 “กาหนดให้ตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งขาติ เพื่อเป็น
ค่าใช้จ่าย สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ”
• มาตรา 41 ให้คณะกรรมการกันเงินจานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่าย
ให้หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ ในกรณีที่
ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วย
บริการ โดยหาผู้กระทาผิดมิได้หรือหาผู้กระทาผิดได้ แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหาย
ภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่
คณะกรรมการกาหนด
(สานักกฎหมาย สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2551)
ข้อบังคับ สาระข้อบังคับ
ข ้อ ๖ ประเภทของความเสียหายที่เกิดจากการ
รักษาพยาบาลของหน่วยบริการ และอัตราจ่ายเงิน
ช่วยเหลือเบื้องต ้น แบ่งเป็น
(๑) เสียชีวิต หรือทุพพลภาพอย่างถาวร หรือเจ็บป่ วย
เรื้อรังที่ต ้องได ้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีผลกระทบ
อย่างรุนแรงต่อการดารงชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือ
เบื้องต ้นได ้ ตั้งแต่ ๒๔๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน
๔๐๐,๐๐๐ บาท
(๒) สูญเสียอวัยวะหรือพิการที่มีผลกระทบต่อการ
ดาเนินชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นได ้ตั้งแต่
๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒๔๐,๐๐๐ บาท
(๓) บาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยต่อเนื่อง จ่ายเงินช่วยเหลือ
เบื้องต ้นได ้ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
สาระสาคัญของข้อบังคับ ม.41
ข้อ 4 ไม่ต้องรอการพิสูจน์ถูกผิด
ข้อ 5 ความเสียหายไม่ได้เกิดจากพยาธิสภาพ
ของโรค หรือเหตุแทรกซ้อนของโรคตามปกติ
ข้อ 8 คอก.พิจารณาโดยคานึงถึง
ความรุนแรงของความเสียหาย
และเศรษฐานะของผู้เสียหาย
12
บทบาทหน้าที่คณะอนุกรรมการ
1. แสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริง
2. พิจารณาด้วยความเป็นธรรม
3. คาวินิจฉัย อธิบายได้ อยู่ในหลักเกณฑ์เดียวกัน
4. ประสานความเข้าใจ โดยไม่อุทธรณ์ หรือ
นาไปฟ้ องคดี
สานักกฎหมาย สปสช.
ผู้รับบริการได้รับ
ความเสียหาย
คณะกรรมการควบคุม
คุณภาพและมาตรฐาน
บริการสาธารณสุข
สปสช.สาขา
จังหวัด
(๗๗ จังหวัด)
คอก.ม.๔๑
จังหวัด
หน่วยบริการ
ยื่นคาร้อง
พิจารณา
ความ
เสียหาย
ไม่เข้าเกณฑ์
• เพราะเป็ น
พยาธิสภาพ
ของโรคและ
เหตุแทรกซ้อน
ของโรค
เข้าเกณฑ์
• เพราะ
เหตุสุดวิสัย/
ความบกพร่อง
ในการบริการ
(๑) เสียชีวิต/
ทุพพลภาพ
ถาวร/เรื้อรัง
(๒) พิการ/
เสียอวัยวะ
(๓) เจ็บป่ วย
ต่อเนื่อง
จ่ายเงิน
ช่วยเหลือ
เบื้องต้นไม่พอใจ
ยื่นอุทธรณ์
วินิจฉัย จ่ายเพิ่ม / ยกอุทธรณ์
(คาสั่งถือเป็ นที่สุด)
คกก.ควบคุมฯ
คอก.ควบคุม
ฯระดับ จว.
คัดเลือก
แต่งตั้ง
เสนอ
ไม่พอใจ
ฟ้ องศาลฯได้
ภาพรวมการเยียวยา ตามมาตรา ๔๑
1
2
3
ปีงบ
คาร้อง
(ราย)
ประเภทความเสียหาย จ่ายเพิ่ม
(อุทธรณ์)
เงินที่จ่าย
ช่วยเหลือ(1) เสียชีวิต (2) พิการ (3) บาดเจ็บ
2550 511 38,090,000 7,570,535 4,527,000 1,990,000 52,177,535
2551 658 49,722,000 7,720,000 6,406,148 1,010,000 64,858,148
2552 810 54,515,000 10,200,000 7,808,000 700,000 73,223,000
2553 876 58,450,000 14,480,000 7,790,000 1,200,000 81,920,000
2554 965 66,162,000 15,097,000 9,007,330 1,940,000 92,206,330
2555 951 69,360,000 15,250,000 11,254,000 2,763,000 98,627,000
2556
(ถึง ก.พ.)
513 54,390,000 6,501,000 6,715,000 1,490,000 69,096,000
รวม 5,284 390,689,000 76,818,535 53,507,478 11,093,000 532,108,013
สานักกฎหมาย สปสช.
49
113
215
239
303
344
361
401 401
73
97
139 141 140
174
219
204
241
293
74
7129
11
120
85
36
13
฿0
฿50
฿100
฿150
฿200
฿250
฿300
฿350
฿400
฿450
2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ปีงบประมาณ
จานวน
เสียชีวิต
พิการ
บาดเจ็บ
15
ประเภทความเสียหายตั้งแต่ปี 2547-55
16
คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554
กรณีเข้ารับบริการแผนก สูติกรรม
เหตุผลในการพิจารณา ไม่
เข้าเกณฑ์
เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3)
จากกระบวนการรักษาพยาบาล
- 61 28 16 17
การรักษาตามมาตรฐาน
6 - - - -
จากการกระทาของผู้ป่ วย 2 - - - -
เหตุสุดวิสัย - 318 135 84 99
พยาธิสภาพของโรค 42 - - - -
ไม่ใช่ผู้มีสิทธิตาม พ.ร.บ. 7 - - - -
ยื่นคาร้องเกิน 1 ปี
2 - - -
รวม 59 379 163 100 116
17
คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554
กรณีเข้ารับบริการแผนก ศัลยกรรม
เหตุผลในการพิจารณา ไม่
เข้าเกณฑ์
เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3)
จากกระบวนการรักษาพยาบาล
- 27 22 - 5
การรักษาตามมาตรฐาน
- - - - -
จากการกระทาของผู้ป่ วย 1 - - - -
เหตุสุดวิสัย - 89 45 9 35
พยาธิสภาพของโรค 29 - - - -
ไม่ใช่ผู้มีสิทธิตาม พ.ร.บ. - - - - -
ยื่นคาร้องเกิน 1 ปี 1 - - - -
รวม 31 116 67 9 40
แ ที่เ ้ารั ร าร
สต รรม
ั ย รรม
ายร รรม
มารเวช รรม
18
จาแนกความเสียหาย
ตามแผนกที่เข้ารับบริการ
ตั้งแต่ปี 2547-2555
19
ผลการพิจารณา ปีงบประมาณ 2554 จาแนกตามประเภทหน่วยบริการ
หน่วยบริการ คาร้อง ไม่เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3) จานวนเงิน
(บาท)
รพศ. 140 28 112 67 14 31 14,335,000
รพท. 208 38 170 85 30 55 19,765,000
รพช. 505 71 434 213 85 136 47,371,330
คณะแพทย์ 19 9 10 7 1 2 1,420,000
รพ.เอกชน 37 17 20 7 5 8 2,200,000
รพ.สต.,สอ. 18 4 14 4 3 7 1,115,000
สังกัด กทม. 10 5 5 5 - - 1,000,000
สังกัด
กรมการแพทย์
11 6 5 3 1 1 770,000
คลินิก 2 1 1 - 1 - 120,000
กองทัพ
,ตารวจ
7 1 6 5 - 1 1,050,000
อื่น ๆ 8 2 6 5 1 - 1,120,000
รวม 965 182 783 401 141 241 90,266,330
20
คาร้ งที่ยื่ แ ะว จฉัยไปแ ้ว 5,534 ราย
เ ้าเ ณฑ์แ ะได้รั ารจ่ายเง 4,586 ราย
ไม่เ ้าเ ณฑ์ ารจ่ายเง 948 ราย
มีคดีที่ยื่ ฟ้ งต่ า ป คร ง จา ว ทั้งส้ 14 คดี
เป็ ารฟ้ ง ให้จ่ายเง เพ่ม ช่วยเห ื
ทั้งหมด ย่ระหว่างร คาพพา ษา
ารฟ้ งร้ ง รณีไม่เห็ ด้วย ั ยต ง มาตรา 41
ข้อบังคับ สาระข้อบังคับ
ข ้อ ๖ ประเภทของความเสียหายที่เกิดจากการ
รักษาพยาบาลของหน่วยบริการ และอัตราจ่ายเงิน
ช่วยเหลือเบื้องต ้น แบ่งเป็น
(๑) เสียชีวิต หรือทุพพลภาพอย่างถาวร หรือเจ็บป่ วย
เรื้อรังที่ต ้องได ้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีผลกระทบ
อย่างรุนแรงต่อการดารงชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือ
เบื้องต ้นได ้ ตั้งแต่ ๒๔๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน
๔๐๐,๐๐๐ บาท
(๒) สูญเสียอวัยวะหรือพิการที่มีผลกระทบต่อการ
ดาเนินชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นได ้ตั้งแต่
๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒๔๐,๐๐๐ บาท
(๓) บาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยต่อเนื่อง จ่ายเงินช่วยเหลือ
เบื้องต ้นได ้ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
ประเภท ๑
สาเหตุของความเสียหาย
และการรักษาพยาบาล
ระดับความรุนแรง
ตาย ทุพพลภาพ
ถาวร
เรื้อรัง
รุนแรง
พึ่งพา
ตลอดเวลา
ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก
การรักษาพยาบาลโดยตรง และ
ไม่สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย
400,000 360,000
–
400,000
320,000
–
360,000
ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก
การรักษาพยาบาลโดยตรง และ
สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย
360,000 320,000
–
360,000
280,000
–
320,000
ความเสียหายส่วนหนึ่งเกิดจาก
การรักษาพยาบาล
320,000 280,000
–
320,000
240,000
–
280,000
23สำนักกฎหมำย สปสช.
กรณีเศรษฐานะ สังคม และจิตใจ เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 10 % ของเงินเยียวยาแต่รวม
แล้ว ต้องไม่เกินเพดานที่กาหนด ในแต่ละประเภทความเสียหาย
ประเภท ๒
สาเหตุของความเสียหาย
และการรักษาพยาบาล
ระดับความรุนแรงของผลกระทบ
จากพิการหรือเสียอวัยวะ
หรือเจ็บป่ วยเรื้อรัง
มาก ปานกลาง น้อย
ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก
การรักษาพยาบาลโดยตรง และ
ไม่สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย
240,000 216,000
–
240,000
192,000
–
216,000
ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก
การรักษาพยาบาลโดยตรง และ
สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย
216,000 192,000
–
216,000
168,000
-
192,000
ความเสียหายส่วนหนึ่งเกิดจาก
การรักษาพยาบาล
192,000 168,000
–
192,000
144,000
–
168,000
24สำนักกฎหมำย สปสช.
กรณีเศรษฐานะ สังคม และจิตใจ เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 10 % ของเงินเยียวยาแต่รวม
แล้ว ต้องไม่เกินเพดานที่กาหนด ในแต่ละประเภทความเสียหาย
ประเภท ๓
สาเหตุของความเสียหาย
และการรักษาพยาบาล
การบาดเจ็บหรือเจ็บป่ วย
ต่อเนื่องต้องใช้เวลาและ
ค่าใช้จ่ายในการรักษาหรือฟื้นฟู
มาก ปานกลาง น้อย
ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก
การรักษาพยาบาลโดยตรง และ
ไม่สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย
100,000 90,000
–
100,000
ไม่เกิน
80,000
ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก
การรักษาพยาบาลโดยตรง และ
สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย
90,000 80,000
-
90,000
ไม่เกิน
70,000
ความเสียหายส่วนหนึ่งเกิดจาก
การรักษาพยาบาล
80,000 70,000
-
80,000
ไม่เกิน
60,000
25สำนักกฎหมำย สปสช.
กรณีเศรษฐานะ สังคม และจิตใจ เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 10 % ของเงินเยียวยาแต่รวม
แล้ว ต้องไม่เกินเพดานที่กาหนด ในแต่ละประเภทความเสียหาย
ขอให้กาหนดมาตรการ เพื่อให้คอก.ม.๔๑ ระดับ
จังหวัด พิจารณาอย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่
กาหนด โดย
๑) ให้มีการศึกษาทาความเข้าใจข้อบังคับฯ
๒) ให้มีผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา ร่วมในการ
พิจารณา
๓) จัดให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม กากับดูแล
การพิจารณาของ คอก.ระดับจังหวัด
๔) ให้มีมาตรการป้ องกันการจ่ายเงินช่วยเหลือที่
ผิดจากข้อบังคับฯ
อะไรที่เราควรรู้จากกรณีผู้รับบริการขอใช้สิทธิตามมาตรา 41
• คุณลักษณะของผู้ได้รับความเสียหายที่ยื่นขอรับเงินช่วยเหลือ
เบื้องต้น เป็นอย่างไร 
• ความเสียหายที่มีการยื่นขอรับเงินฯ ในแต่ละระดับของ
สถานบริการมีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร 
• อะไรคือสาเหตุที่ทาให้เกิดความเสียหายที่เกี่ยวข้องกับ
การพยาบาล ที่ทาให้มีการขอรับเงินฯ 
• ทักษะการพยาบาลด้านใดที่มีความจาเป็นในการช่วยลด
การเกิดความเสียหาย 
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทบทวน
สร้างความตระหนัก
ให้พยาบาล
ลดความเสี่ยง/
อุบัติการณ์
เป็นแนวทางการทา
Best Practice
นิยามศัพท์เฉพาะ
• บริการสาธารณสุข หมายถึงบริการด้านการแพทย์และ
สาธารณสุขซึ่งให้โดยตรงแก่บุคคลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
การป้ องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และ
การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จาเป็นต่อสุขภาพและการดารงชีวิต
โดยรวมถึงการบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือกตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ
นิยามศัพท์เฉพาะ
• หน่วยบริการสาธารณสุข หมายถึง สถานบริการที่ได้ขึ้น
ทะเบียนตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. 2545 และให้บริการทางด้านสาธารณสุข
นิยามศัพท์เฉพาะ
• ผู้ร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น หมายถึง ผู้ป่วยหรือญาติ
ของผู้ป่วย ที่มีสิทธิตามมาตรา 41 ในพระราชบัญญัติ
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545
นิยามศัพท์เฉพาะ
• ผู้ได้รับความเสียหาย หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจาก
การรักษาพยาบาลจากหน่วยบริการสาธารณสุขที่ขึ้นทะเบียน
ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545
ซึ่งผู้ได้รับความเสียหายอาจจะเป็นบุคคลเดียวกับผู้ร้องฯหรือ
ไม่ใช่ก็ได้
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็นสองส่วน ได้แก่
ข้อมูลทั่วไปของผู้ที่ได้รับความเสียหาย
ข้อมูลทั่วไปของผู้ที่ได้รับความเสียหาย
เกี่ยวข้อง ไม่เกี่ยวข้อง
ความผิดพลาด การเจ็บป่วยรุนแรงขึ้น
การรักษาพยาบาลล่าช้า พิการจากการเจ็บป่วย
การคัดกรองผู้ป่วยผิดพลาด แพ้ยา
ปฏิเสธที่จะให้บริการ เกิดอุบัติเหตุขณะอยู่ รพ.
ผู้ป่วยเสียชีวิตหลังให้กลับบ้าน/ขณะ
เคลื่อนย้าย/จากความบกพร่องในการ
รักษาพยาบาล/ความเอาใจใส่ไม่เพียงพอ
เสียชีวิตจากพยาธิสภาพ
เกิดความพิการภายหลัง
การเจ็บป่วยรุนแรงขึ้น
ตั้งครรภ์หลังคุมกาเนิด
ประเด็นที่ 1:
ขาดความสามารถใน
การดูแลติดตามอาการ
เปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ขาดทักษะการประเมิน
อาการเปลี่ยนแปลง
ของผู้ป่วย
ขาดทักษะการ
แปลผลและแยกแยะ
ความผิดปกติ
ประเด็นย่อย1.1: การขาดความสามารถในการดูแล
ติดตามอาการเปลี่ยนแปลงผู้ป่วย
• การประเมินอาการผู้ป่วยหนักที่มีการอาการเปลี่ยนแปลง
• การประเมินอาการของผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
• การประเมินความพร้อมและองค์ประกอบในการคลอดทาง
ช่องคลอด ทารกมีอาการขาดออกซิเจนในครรภ์
คลอดมารดาเสียชีวิต ปี ๒๕๕๔ =๓๕๙ ราย
• ป่วยอายุ 35 ปี ประวัติเป็นครรภ์แรก ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบล และโรงพยาบาลอาเภอ แพทย์แนะนาให้ไปตรวจน้าคร่าที่โรงพยาบาล
จังหวัด เนื่องจากผู้ป่วยอายุเกิน 35 ปี และตั้งครรภ์แรก ทารกที่เกิดมาอาจ
ปัญญาอ่อน ผู้ป่วยจึงเข้ารับการตรวจน้าคร่าที่โรงพยาบาลขอนแก่นเมื่อ
ประมาณเดือนเมษายน 2554 ผลการตรวจปกติ ต่อมาเมื่อขณะตั้งครรภ์ได้ 36
สัปดาห์ ผู้ป่วยเข้ารับการฝากครรภ์ตามนัดพบมีภาวะความดันโลหิตสูง แพทย์
รับตัวไว้รักษา 1 คืน ต่อมาเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2554 ขณะอายุครรภ์ 37 ปี
ไปรับการตรวจตามนัดพบว่ามีความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตในครั้ง
แรกได้ 175/105 มม.ปรอท หลังจากนั้น 15 นาทีวัดครั้งที่ 2 ได้ 157/104 มม.
ปรอท และต่อมาวัดครั้งที่ 3 ได้ 160/101 มม.ปรอท
• แพทย์รับตัวไว้นอนโรงพยาบาล แรกรับตัวที่ห้องคลอดวัดอุณหภูมิได้ 37 องศา
เซลเซียส ความดันโลหิต 160/100 มม.ปรอท อัตราการหายใจของทารกในครรภ์ 128
ครั้ง/นาที ขณะที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลไม่มีอาการปวดศีรษะ ตาพร่าหรือจุด
แน่นลิ้นปี่ ความดันโลหิตอยู่ระหว่าง 140/90-150/100 มม.ปรอท อัตราการหายใจ
ของทารกในครรภ์ อยู่ระหว่าง 128-150 ครั้ง/นาที ต่อมาวันที่ 17 กันยายน 2554
ผู้ป่วยถุงน้าแตก ปากมดลูกเปิด 2 เซนติเมตร แพทย์พิจารณาส่งไปรักษาต่อที่
โรงพยาบาลจังหวัด และให้ยากันชัก แรกรับผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ต่อมาปากมดลูกเปิดหมด
แพทย์ช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ คลอดได้ทารกเพศหญิง น้าหนัก 3,600
กรัม สายสะดือพันคอ 1 รอบ แรกคลอดไม่หายใจแพทย์ช่วยฟื้นคืนชีพ แต่ไม่ประสบ
ความสาเร็จ ทารกเสียชีวิต ส่วนผู้ป่วยหลังคลอดมีอาการแน่นหน้าอก นอนราบไม่ได้
แพทย์ให้ออกซิเจน ผู้ป่วยซึมลง ไม่รู้สึกตัว หายใจเหนื่อยหอบ วัดความดันโลหิตไม่ได้
และเสียชีวิตในที่สุด แพทย์วินิจฉัยสาเหตุการเสียชีวิตจากน้าคร่าไหลเข้าสู่กระแสเลือด
ไปอุดกั้นปอด (4652)
กรณีคลอด ทารก เสียชีวิต /ทารกเสียชีวิตในครรภ์
• ผู้ป่วย อายุ 34 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ เมื่อวันที่ 25
ธันวาคม 2553 ด้วยอาการเจ็บครรภ์คลอด ประวัติตั้งครรภ์ที่ 6 อายุ
ครรภ์ 40 สัปดาห์ รับไว้รอคลอด แรกรับตรวจภายในพบปากมดลูกเปิด
6 เซนติเมตร มีสายสะดือของทารกย้อยออกมาในช่องคลอด และฟัง
เสียงหัวใจทารกไม่ได้ จึงทาการช่วยคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ได้ทารกเพศชาย Apgar Score 0,0 แรกคลอดทารกไม่หายใจ หัวใจไม่
เต้น ทาการช่วยฟื้นคืนชีพประมาณ 20 นาที ไม่มีสัญญาณชีพ จึงยุติ
การช่วยฟื้นคืนชีพ และทาความเข้าใจกับญาติกรณีทารกเสียชีวิตใน
ครรภ์มารดา ส่วนมารดาโรงพยาบาลรับตัวไว้และให้กลับบ้านในวันที่ 27
ธันวาคม 2553
ผู้ป่วยหญิงอายุ ๒๓ วัน ประวัติมารดาคลอดทารกข้าง
เตียงในท่ายืน หล่นลงพื้น สายสะดือขาด น้าหนักแรก
คลอด ๒,๖๗๐ กรัม Apgar Score ๙,๑๐,๑๐ คะแนน
สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ทารกหลังคลอดแพทย์
ตรวจร่างกายไม่พบไม่มีกระดูกหัก และไม่พบอาการ
ผิดปกติ จึงอนุญาตให้กลับบ้านและนัดตรวจติดตามอาการ
ต่อเนื่อง ไม่พบความผิดปกติ
คลอดติดไหล่ ปี ๒๕๕๔ = ๘๒ ราย
• ผู้ป่วย อายุ 17 ปี เข้ารับบริการคลอดบุตรที่โรงพยาบาลจังหวัด เมื่อวันที่
4 ตุลาคม 2554 ขณะคลอดติดไหล่ประมาณ 5 วินาที น้าหนัก 3,530
กรัม Apgar Score 8,9,9 คะแนน หลังคลอดตรวจพบว่าแขนข้างขวา
ขยับได้เล็กน้อย เฉพาะส่วนปลายแขนและมือ ปรึกษาแพทย์ศัลยกรรม
กระดูกและข้อร่วมดูแล ส่งเอกซเรย์ไม่พบกระดูกไหปลาร้าหัก วินิจฉัย
เส้นประสาทแขนขวาได้รับบาดเจ็บ ให้การรักษาโดยการทา
กายภาพบาบัดเพื่อกระตุ้นไฟฟ้ าอย่างต่อเนื่อง และนัดตรวจติดตาม
อาการอีก 1 เดือน (4823)
• ผู้ป่วย อายุ 71 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554
ด้วยประวัติ 7 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถูกไม้เสียบลูกชิ้นตาเท้า มีแผลบริเวณฝ่าเท้า
ซ้าย มีอาการปวดบวมเล็กน้อย หลังเท้าบวม แพทย์ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้าน
และนัดติดตามอาการในวันที่ 19 เมษายน 2554 ต่อมาวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554
ผู้ป่วยกลับมารับบริการก่อนถึงวันนัด เนื่องจากมีอาการปวดฝ่าเท้าซ้าย บริเวณอุ้งเท้า
บวม เป็นมา 3 วัน แพทย์ให้ยาและทาแผลให้ ต่อมาวันที่ 7 มีนาคม 2554 ผู้ป่วย
กลับมารับบริการอีกครั้งด้วยอาการปวดบวมฝ่าเท้าซ้ายมีหนอง เป็นมา 5 วันก่อนมา
โรงพยาบาล แพทย์รับตัวไว้รักษาให้การรักษาตามแผนการรักษา ทาการผ่าฝีและ
ระบายหนอง หลังทาอาการดีขึ้น ไม่มีอาการปวดแผลไม่มีไข้ จึงจาหน่ายให้กลับบ้าน
เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 และนัดมาพบแพทย์อีกครั้งในวันที่ 8 เมษายน 2554
ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัด พบมีอาการหลังเท้าซ้ายบวมเล็กน้อย แพทย์ให้ยากลับไป
รับประทานที่บ้านและให้ทาแผลที่บ้าน
ขาดการประเมินหลังให้บริการ
• ต่อมาวันที่ 21 เมษายน 2554 ผู้ป่วยกลับมารับบริการอีกครั้งด้วยอาการปวดแผล มี
หนองบวมแดง แพทย์ให้การรักษาโดยการผ่าแผลที่เท้าซ้าย และให้ยากลับไป
รับประทานที่บ้าน แต่อาการไม่ดีขึ้น วันที่ 3 พฤษภาคม 2554 ผู้ป่วยกลับมาพบแพทย์
ด้วยอาการปวด มีน้าใสๆ ซึมที่แผล แพทย์ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้านและทาแผลที่
บ้าน วันที่ 14 พฤษภาคม 2554 ผู้ป่วยกลับมารับบริการด้วยอาการมีหนองซึมออกที่
บริเวณแผลที่เท้าซ้าย แพทย์ให้การรักษาโดยการทาแผล และผู้ป่วยมารับการทาแผล
ทุกวันจนถึงวันที่ 10 มิถุนายน 2554 แพทย์ทาการตัดเนื้อบริเวณแผลได้เนื้อสีชมพู ให้
การรักษาโดยให้ยาและทาแผล ต่อมาวันที่ 13 กรกฎาคม 2554 ผู้ป่วยมาพบแพทย์อีก
ครั้งด้วยอาการปวดแผล มีหนองซึม และ 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการ
อ่อนเพลีย รับประทานอาหารไม่ได้ อาการปวดบริเวณต้นคอ แพทย์พิจารณาส่งไป
รักษาต่อที่โรงพยาบาลจังหวัด แพทย์ให้การรักษาโดยการผ่าตัด เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม
2554 ผ่าตัดพบหนอง และในแผลพบเศษไม้ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร หลังผ่าตัดให้
ยาปฏิชีวนะ ทาแผล จนแผลแห้ง แพทย์อนุญาตให้กลับบ้านในวันที่ 30 สิงหาคม
2554 และนัดติดตามอาการในวันที่ 26 กันยายน 2554 (4708)
ประเด็นย่อย 1.2: การแปลผล/แยกแยะความผิดปกติ
• ไม่สามารถบ่งบอกได้ว่าผู้ป่วยมีสัญญาณชีพที่ผิดปกติ หรือไม่
สามารถวินิจฉัยเบื้องต้นได้ว่าผู้ป่วยต้องการการติดตาม
อาการอย่างใกล้ชิด
• การช่วยฟื้นคืนชีพล่าช้า
• การพยาบาลไม่มีประสิทธิภาพ ล่าช้าทาให้ผู้ป่วยมีอาการ
รุนแรงขึ้นและเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
กรณีประเมินไม่ได้ อาการทางสมอง ไข้เลือดออก เซรุ่ม
• ผู้ป่วยชายเข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุตกบันไดขณะดื่มสุรา มี
อาเจียน ๑ ครั้ง วินิจฉัย ศีรษะได้รับบาดเจ็บ รับไว้สังเกต
อาการ รู้สึกตัวดี มีปวดศีรษะเล็กน้อย จึงอนุญาตให้กลับบ้าน
• หลังกลับบ้านอาการซึมลง ญาติ นาส่ง รพ.เอกชน CT พบ
เลือดออกในสมอง รักษาด้วยการผ่าตัด แต่อาการไม่ดีขึ้น
เสียชีวิต
กรรีแผลกดทับ
• ผู้ป่วยหญิงอายุ ๖๑ ปี มีโรคประจาตัวเบาหวาน มารักษาด้วย
อาการปวดหูข้างขวาและปวดศีรษะเรื้อรัง X-ray พบโพรง
อากาศหลังหูขวาอักเสบเรื้อรัง รักษาด้วยการผ่าตัด หลังผ่าตัด
ผู้ป่วยมีอาการทรงตัวไม่ดี แขนขาอ่อนแรง นอน รักษา ใน รพ.
นาน ๒ สัปดาห์ มีแผลกดทับ ต่อมาเกิดการติดเชื้อที่แผลกด
ทับและติดเชื้อในกระแสเลือด
ประเด็นที่ 2:
ความระมัดระวังไม่
เพียงพอ
ในการพยาบาล
ขาดความระมัดระวัง
ทางเทคนิค
การพยาบาล
ขาดการเฝ้ าระวัง
ผู้ป่วยอย่างเหมาะสม
และต่อเนื่อง
ขาดการตรวจสอบ
ความพร้อมของ
อุปกรณ์ในการ
รักษาพยาบาล
ประเด็นย่อย 2.1: ขาดความระมัดระวังทางเทคนิคการ
พยาบาล
• การให้ยา เช่น การให้ยาผิด การฉีดยาแล้วเป็นอันตรายต่อ
เส้นประสาทบริเวณที่ฉีด การเกิดการติดเชื้อบริเวณที่ฉีดยา
หรือให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
• การเตรียมผู้ป่วยก่อนจาหน่าย เช่น การให้ผู้ป่วยกลับบ้านโดย
ที่ยังมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ค้างอยู่ที่ตัวผู้ป่วยโดยที่ผู้ป่วยไม่
มีความจาเป็นต้องใช้ การไม่ได้ให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์
กับผู้ป่วยในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและการเฝ้ าระวังอาการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตนเอง
ให้ IV
• ผู้ป่วยอายุ๒ ปี เข้ารับบริการด้วยอาการไข้สูง อาเจียน ให้การ
รักษาตามอาการและให้สารน้าทางหลอดเลือด ต่อมาตรวจ
พบบริเวณแขนข้างที่ให้น้าเกลือบวมและซีดตั้งแต่ข้อศอกถึง
ปลายนิ้ว วินิจฉัยเกิดภาวะอุดตันของหลอดเลือด ให้การรักษา
โดยการตัดเส้นเลือดเพื่อคลายหลอดเลือดไม่ดีขึ้น ปัจจุบันมือ
ยังขยับแขนไม่ได้
ทาเข็มค้าง
• ผู้ป่วยหญิงอายุ ๓๔ ปี เข้ารับบริการคลอดบุตร ประวัติครรภ์ที่ ๒ อายุครรภ์
๓๘ สัปดาห์ แพทย์รับไว้รอคลอด คลอดปกติ ได้ทารกเพศหญิง น้าหนัก
๒,๘๕๐ กรัม Apgar Score ๙,๑๐,๑๐ คะแนน ผู้ป่วยหลังคลอดได้รับการ
เย็บแผลฝีเย็บ ขณะเย็บแผลชั้นผิวหนังเข็มหลุดจากไหม ทาการหาแล้วไม่พบ
เข็มจึงเย็บแผลจนเสร็จสิ้น ตรวจภายในไม่พบเข็มค้างในแผล มีอาการปวดแผล
ฝีเย็บพอทน เมื่ออาการดีขึ้นจึงอนุญาตให้กลับบ้าน ต่อมาผู้ป่วยกลับมารับ
บริการด้วยอาการปวดแผลฝีเย็บ ตรวจพบมีแผลฝีเย็บอักเสบ และแผลแยก
ยาว ๒ เซนติเมตร ให้ยาปฏิชีวนะกลับไปรับประทานต่อที่บ้าน หลังจากนั้น
ผู้ป่วยกลับมารับบริการอีกครั้งด้วยมีเข็มหลุดออกมาจากช่องคลอด แพทย์
ตรวจพบภายในไม่พบบาดแผล ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้านต่อ
ฉีดยาแล้วเกิดภาวะแทรกซ้อน
• ผู้ป่วย อายุ 44 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เมื่อ
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2554 เพื่อรับบริการฉีดยาคุมกาเนิด โดยผู้ป่วย
ได้รับการฉีดยาคุมกาเนิดเข้ากล้ามเนื้อสะโพก 1 หลอด หลังฉีดยา
ประมาณ 15 นาที บริเวณสะโพกซ้ายที่ได้รับการฉีดยามีอาการบวม
เป็นก้อนแข็ง มีอาการปวดเพียงเล็กน้อย ต่อมาเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน
2554 ผู้ป่วยกลับไปที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลอีกครั้ง
เนื่องจากก้อนที่สะโพกบริเวณที่ได้รับการฉีดวัคซีนเป็นก้อนไม่หายไป
เจ้าหน้าที่ได้ให้ยาแก้ปวดและให้ประคบสมุนไพรด้วยความร้อน หลังจาก
ประคบสมุนไพรแล้วก้อนบวมแดงมากขึ้นอาการปวดมีความรุนแรงขึ้น
ต้องรับประทานยาแก้ปวดทุก 3 ชั่วโมง อาการไม่ดีขึ้น
• หลังจากนั้นวันที่ 27 พฤศจิกายน 2554 ผู้ป่วยไปรับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ พบว่า
มีก้อนบวมแดงเวลากดจะมีอาการเจ็บขนาด 10 x 10 เซนติเมตร แพทย์ให้ยากลับไป
รับประทานที่บ้าน และนัดติดตามอาการอีกครั้งในวันที่ 6 ธันวาคม 2554 ผู้ป่วยมาพบ
แพทย์ตามนัด พบว่ายังมีก้อนแข็งที่สะโพกซ้ายอยู่ มีอาการปวดบวม และมีไข้เป็น
บางครั้ง แพทย์รับตัวไว้รักษาส่งตรวจอัลตร้าซาวด์ พบฝีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 10 เซนติเมตร ผิวหนาประมาณ 1 เซนติเมตร จึงทาการผ่าตัดฝีและระบาย
หนองในวันที่ 7 ธันวาคม 2554 ได้หนองสีน้าตาล 300 ซีซี. ใส่ท่อยางระบายหนอง
ยาว 3 นิ้วไว้ 2 เส้น หลังผ่าตัดทาความสะอาดแผลวันละ 2 ครั้ง ส่งหนองเพาะเพื่อ
เพาะเชื้อ ผลพบ Moderate Staphylococus aureus ต่อมาแผลดีและแผลตื้นขึ้น
แพทย์จาหน่ายผู้ป่วยให้กลับบ้านในวันที่ 16 ธันวาคม 2554 โดยให้กลับมาล้างแผลที่
โรงพยาบาลอาเภอทุกวัน และได้รับการตัดไหม เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554 (4978)
การแจ้งผล lab ผิดพลาด ทั้งแจ้ง บวก และแจ้งลบ
• ผู้ป่วย อายุ 32 ปี ประวัติครรภ์ที่ 3 ได้ไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพศูนย์
อนามัย เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2553 ตรวจพบภาวะเสี่ยงของคู่สามีภรรยา ปรากฏว่า
ภรรยา เป็นพาหะธาลัสซีเมียชนิดเบต้า ส่วนสามี เป็นพาหะธาลัสซีเมียชนิดอี ต่อมา
เจาะน้าคร่า ส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยภาวะธาลัสซีเมียของทารกในครรภ์โดยวิธีการวิเคราะห์
สารทางพันธุกรรม (DNA analysis) พบว่าทารกในครรภ์เป็นพาหะธาลัสซีเมียชนิด
เบต้าเหมือนมารดา ไม่พบความผิดปกติทางพันธุกรรมของธาลัสซีเมียชนิดอี แพทย์แจ้ง
ผลการตรวจธาลัสซีเมียว่า สามารถตั้งครรภ์ต่อได้ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 คลอด
ปกติ ได้ทารกเพศชาย น้าหนัก2,925 กรัม ลักษณะทารกทั่วไปปกติ ต่อมาวันที่ 16
ตุลาคม 2554 ทารกมีไข้และซีด ได้เจาะเลือดตรวจ CBC และตรวจ Hb Typing
วินิจฉัยว่าสงสัยเป็นธาลัสซีเมีย ได้ส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลอาเภอ ได้รับเลือดแดง
เข้มข้น 1 ครั้ง
• วันที่ 21 ตุลาคม 2554 ยืนยันผลตรวจเลือดพบว่า ทารกเป็นธาลัสซีเมียชนิดเบต้า
ร่วมกับอี ได้แจ้งผลให้บิดามารดาทราบถึงความรุนแรง การดาเนินของโรค แนวทางการ
รักษา และอธิบายผลตรวจน้าคร่าที่ไม่ตรงกับผลเลือดของทารก เนื่องจากผลการตรวจ
น้าคร่าพบเพียงความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ได้รับมาจากมารดา ไม่พบความผิดปกติ
ทางพันธุกรรมชนิดอีที่มาจากบิดา ซึ่งเป็นความผิดพลาดทางเทคนิคของการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการที่อาจเกิดขึ้นได้ จึงได้ส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลศูนย์ เมื่อวันที่ 25
ตุลาคม 2554 แพทย์มีความเห็นว่า ทารกเริ่มมีอาการซีดตั้งแต่อายุยังน้อยและระดับ
ฮีโมโกลบินก่อนให้เลือดต่า จึงวางแผนการรักษาโดยเน้นการให้เลือดแดงสม่าเสมอ
รักษาระดับฮีโมโกลบินก่อนให้เลือด และให้ยาขับธาตุเหล็กเมื่อมีข้อบ่งชี้ทารกมีพี่ชาย
อายุ 8 ปี จึงวางแผนเพื่อตรวจความเข้ากันได้ของชนิดเนื้อเยื่อของทารกและพี่ชาย เพื่อ
วางแผนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกาเนิดต่อไป (4886)
ประเด็นย่อย 2.2: ขาดการเฝ้ าระวังผู้ป่วยอย่าง
เหมาะสมและต่อเนื่อง
• ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุพลัดตกจากเตียง/หกล้มในโรงพยาบาล
• ท่อช่วยหายใจหลุดโดยไม่มีผู้พบเห็น
• การเคลื่อนหรือเลื่อนหลุดของอุปกรณ์การแพทย์จากตัวผู้ป่วย
ขณะมีการเคลื่อนย้าย
กรณีแผลถูกของร้อน
• ผู้ป่วยอายุ ๙เดือน เข้ารับบริการด้วยอาการไข้สูง ไอมีเสมหะ
รับไว้รักษา ให้การรักษาตามอาการ ขณะรับบริการมารดา
ออกไปล้างขวดนม เจ้าหน้าที่โรงครัวนาอาหารมาแจกและวาง
ไว้บนเตียง ขณะที่ผู้ป่วยกาลังหลับ หลังจากนั้นผู้ป่วยตื่นและ
คลานมาที่ถาดข้าวต้มและได้วางมือขวาลงในถาดข้าวต้ม พบ
ผิวหนังถูกข้าวต้มลวกในระดับดีกรี ๒ ต้องทาแผลและ
พิจารณาตัดปิดผิวหนังและยึดด้วยลวด หลังผ่าตัดไม่มี
ภาวะแทรกซ้อน
กรณีผูกคอตาย
• ผู้ป่วย อายุ 36 ปี มีประวัติป่วยเป็นโรคจิตเภท ชนิดหวาดระแวง รักษาไม่ต่อเนื่อง เข้า
รับบริการที่โรงพยาบาลจังหวัด ด้วยมีอาการพูดจาสับสน กระวนกระวาย อยากกลับ
บ้าน ก้าวร้าว หูแว่ว หลงผิดคิดว่าตนเองเป็นผู้วิเศษ แพทย์ตรวจร่างกายวินิจฉัยเป็น
ผู้ป่วยโรคจิตเภท ชนิดหวาดระแวง รับตัวไว้รักษาที่หอผู้ป่วยจิตเวช และให้ยารักษา
ด้วยสูตรยาต้านโรคจิต ระหว่างที่พักรักษาตัวอยู่อาการดีขึ้นสดชื่นในเวลากลางวัน แต่
ไม่นอนในตอนกลางคืน สับสน พูดเสียงดัง โวยวาย ยังคงมีหูแว่ว หลงผิด อารมณ์
แปรปรวน หงุดหงิดสลับกับอารมณ์ครื้นเครงโดยไม่มีเหตุผล ไม่ปรากฏอารมณ์ซึมเศร้า
หรือพฤติกรรมที่จะทาร้ายตัวเอง แพทย์จึงปรับยาที่ทาการรักษาทั้งยากินและยาฉีด
ต้านโรคจิต และเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2555 ผู้ป่วยอาการดีขึ้น และต้องการกลับบ้าน
ต่อมาวันที่ 7 มีนาคม 2555 ผู้ป่วยผูกคอตายที่หอผู้ป่วยจิตเวช ได้รับการช่วยเหลือ แต่
วัดสัญญาณชีพไม่ได้ ผู้ป่วยไม่หายใจ จึงได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ แต่อาการไม่ดีขึ้น
และเสียชีวิตในที่สุด (5220)
ประเด็นย่อย 2.3: ขาดการตรวจสอบความพร้อมของ
อุปกรณ์การแพทย์ในการใช้งาน
• ขาดการตรวจสอบอุณหภูมิของวัสดุที่ใช้เพื่ออบอุ่นร่างกาย
• การขาดการตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานของสายดินใน
การใช้จี้ไฟฟ้ าในห้องผ่าตัด
• ขาดการเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์สาหรับใช้ในการช่วย
ฟื้นคืนชีพที่หอผู้ป่วยและขณะเคลื่อนย้ายทาให้ผู้ป่วย
กรณีไม่พร้อมแล้วรับกลับ
• ผู้ป่วย อายุ 77 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลศูนย์ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2554 ด้วย
ตรวจพบว่าเป็นเนื้องอกในสมอง แพทย์พิจารณาให้การรักษาโดยการผ่าตัดเปิดสมอง
และเอาก้อนเนื้องอกออก และเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 ได้รับการผ่าตัดสมองอีกครั้ง
เพื่อเอาก้อนเลือดออก ต่อมาวันที่ 15 เมษายน 2554 แพทย์ทาการเจาะคอใส่ท่อชนิด
พลาสติกเพื่อช่วยหายใจ แพทย์พิจารณาแล้วเห็นว่าอาการผู้ป่วยคงที่จึงส่งตัวผู้ป่วย
กลับไปรับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลอาเภอ แต่ระหว่างนั้นได้รับแจ้งว่าเตียงเต็มจึงยัง
ไม่ได้ส่งผู้ป่วยกลับ ต่อมาเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 แพทย์ได้ทาการถอด
ออกซิเจนออก ผู้ป่วยหายใจเองได้ ไม่เหนื่อยหอบ และได้รับการประสานจาก
โรงพยาบาลอาเภอว่าจะมีรถพยาบาลมาส่งผู้ป่วยที่โรงพยาบาลศูนย์ แพทย์จึง
พิจารณาส่งผู้ป่วยกลับไปรักษาที่โรงพยาบาลอาเภอ แรกรับผู้ป่วยมีอาการลืมตาเมื่อ
เจ็บ ไม่ขยับแขนขา มีอาการทรุดลงเรื่อยๆ และเสียชีวิตในที่สุด เมื่อวันที่ 11
พฤษภาคม 2554 (4538)
กรณี เด็กหญิงถุงแก้ว
• ผู้ป่วย อายุ 19 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ เมื่อวันที่ 12
กันยายน 2554 ด้วยอาการ 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการ
ปวดบิดท้องมีเลือดออกทางช่องคลอด ประวัติเป็นครรภ์ที่ 2 บุตรคนแรก
อายุประมาณ 1 ปี หลังคลอดไม่ได้คุมกาเนิดและผู้ป่วยไม่ทราบว่า
ตนเองตั้งครรภ์ ไม่ทราบประจาเดือนครั้งสุดท้าย แรกรับตรวจร่างกาย
พบหน้าท้องโต คลาได้ยอดมดลูกแข็งตลอดนาน 40 วินาที ระดับยอด
มดลูกตรงระดับสะดือ มีเลือดซึมออกทางช่องคลอด ฟังเสียงหัวใจทารก
ในครรภ์ด้วยหูไม่ได้ยิน จึงประเมินด้วยเครื่องฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์
ไม่พบเสียงหัวใจทารกในครรภ์
• ผู้ป่วยมีอาการเจ็บครรภ์ตลอดเวลา ต่อมาตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดหมด ผู้ป่วย
เบ่งคลอด คลอดได้ทารกลักษณะอยู่ในถุงน้าคร่าที่ยังไม่แตก แพทย์ได้เจาะแหวกถุง
น้าคร่า และนาทารกออกมาพบทารกไม่หายใจ มือ-เท้าเขียวคล้า ตัวลาย แขนขาและ
ตัวไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น เป็นทารกเพศหญิง น้าหนัก 720 กรัม แพทย์แจ้งญาติ
ว่าทารกแท้งและเสียชีวิต ญาติจึงนาศพทารกกลับไปทาพิธีที่บ้าน ต่อมาบิดาได้นา
ทารกกลับมาโรงพยาบาลอีกครั้ง เนื่องจากเมื่อกลับไปถึงบ้านเปิดถุงที่ใส่ทารกออกดู
พบทารกหายใจได้เอง ตัวแดง ร้องเป็นพักๆ ขยับตัวได้ แพทย์พิจารณาใส่ท่อช่วย
หายใจ และส่งไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลจังหวัด แพทย์ให้การรักษาโดยใส่ท่อช่วย
หายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ให้ยาปฏิชีวนะ ส่องไฟ ให้เลือด และให้การรักษาจน
อาการดีขึ้นสามารถถอดท่อช่วยหายใจออกได้ ทารกสามารถหายใจได้ด้วยตนเอง
น้าหนักขึ้นดี อาการทั่วๆไปปกติดี แพทย์พิจารณาส่งกลับไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาล
อาเภอ แพทย์ให้การรักษาตามอาการ จนอาการดีขึ้นตามลาดับ จึงอนุญาตให้กลับ
บ้านและนัดติดตามอาการเป็นระยะ โดยครั้งสุดท้ายที่มาพบแพทย์เมื่อวันที่ 29
กุมภาพันธ์ 2555 พบว่าทารกน้าหนัก 4,100 กรัม ไม่เกร็ง กล้ามเนื้อไม่แข็ง จ้องหน้า
ดูดนมได้ ชันคอได้ ไม่มีน้าลายยืด (5045)
66
การเยียวยาช่วยเหลือ
กรณีตั้งครรภ์
ภายหลังการคุมกาเนิด
คอก.พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อลด
ผลกระทบจากบริการสาธารณสุข
67
ผลการพิจารณากรณีทาหมันแล้วตั้งครรภ์
ก่อนคกก.หลัก ฯ มีมติจ่ายเงิน
ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2547 – 2554
• ผู้ยื่นคาร้อง 4,583 ราย เป็นกรณีทาหมันแล้วตั้งครรภ์ 300 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.54
• เข้าเกณฑ์ 249 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.00
• ไม่เข้าเกณฑ์ 51 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.00
จานวนเงินที่จ่าย จานวน (ราย)
120,000 1
50,000 155
30,000 - 40,000 44
20,000 - 25,000 41
10,000 5
5,000 3
รวม 249
หมายเหตุ :กรณีที่จ่าย 120,000 บาท ข้อ 6(2) เป็ นกรณี ขณะทาหมันแล้วมีเส้นเลือดฉีกขาด ตัดปีกมดลูก(ปี 2551)
68
ประเภท คาร้อง ผลการพิจารณา อัตราจ่าย รวมเงินจ่าย
(ราย) ไม่เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์
ฉีดยา 9 3 4 50,000 200,000
1 40,000 40,000
1 25,00 25,000
ใส่ห่วง 2 1 1 10,000 10,000
ฝังยา 4 - 2 50,000 100,00
2 25,000 50,000
รวม 15 4 11 425,000
ผลการพิจารณากรณีคุมกาเนิดชั่วคราวแล้วตั้งครรภ์
ตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2547 – 2555(ส.ค.)
• ผู้ยื่นคาร้อง 5,421 ราย เป็นกรณีคุมกาเนิดชั่วคราวแล้วตั้งครรภ์ จานวน 15 ราย
คิดเป็นร้อยละ 0.28
• เข้าเกณฑ์ 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.20
• ไม่เข้าเกณฑ์ 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.07
69
ข ้อพิจารณา
กรณีทาหมันแล ้วตั้งครรภ์
• การพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้น กรณี
ตั้งครรภ์ภายหลังทาหมัน ยึดตามความเห็น
ของคกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
• ต ้องทาความเข ้าใจข ้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับ
ผู้รับบริการ
การตั้งครรภ์ภายหลังทาหมัน
ที่เกิดจากท่อนาไข่ต่อกันเอง
เป็นเหตุสุดวิสัย ไม่ใช่ ความผิดพลาดจากการให ้บริการ
70
• ฉีดยาคุม ฝังยาคุม และใส่ห่วง แล ้วตั้งครรภ์
ที่เป็นเหตุสุดวิสัย ซึ่งไม่ใช่ความบกพร่องของหน่วยบริการ
ให ้จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นได ้ไม่เกินครึ่งหนึ่ง
๕๐ %ของประเภทความเสียหาย กรณีบาดเจ็บหรือ
เจ็บป่ วยต่อเนื่อง
ทั้งนี้ ผู้รับบริการต ้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
(๑) ข ้อแนะนาของหน่วยบริการ
(๒) ข ้อแนะนาของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่ง
ประเทศไทย
ยกเว ้น
ข้อพิจารณา
กรณีคุมกาเนิดชั่วคราว
71
• กรณีที่เกิดจากความผิดพลาดบกพร่องที่
ชัดเจนของผู้ให ้บริการ เช่น ยาหมดอายุ
เสนอให ้จ่ายเงินช่วยเหลือมากกว่ากรณี
ทั่วไป
• การตั้งครรภ์หลังจากการคุมกาเนิดชั่วคราว
ภายใน ๑ เดือน ไม่ควรได ้รับเงินช่วยเหลือ
ข้อยกเว้น
ปัจจัยอะไรที่เกี่ยวข้องกับความบกพร่องที่เกิดขึ้นบ้าง
• การปรับเปลี่ยนโครงสร้างระบบการให้บริการสาธารณสุข
• อัตรากาลังและอัตราส่วนของผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ต่อ
ผู้ปฏิบัติที่ยังขาดประสบการณ์หรือมีประสบการณ์น้อย
• การเร่งผลิตของสถาบันการศึกษา
• ศักยภาพและทัศนคติในการพัฒนาองค์ความรู้ของ
แต่ละบุคคล
• ความคาดหวังต่อการบริการของผู้รับบริการที่เพิ่มขึ้น
ข้อเสนอแนะ
• องค์กรพยาบาลและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีการพัฒนา
ศักยภาพในการปฏิบัติการพยาบาลของ
พยาบาลอยู่เสมอ ควบคู่กับการจัดทาแนว
ปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพยาบาล
ที่พบความผิดพลาดบ่อยครั้งเพื่อป้ องกัน
และลดการเกิดความเสียหายต่อ
ผู้รับบริการ
ข้อเสนอแนะ
• องค์กรพยาบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีการ
เผยแพร่และทบทวนจริยธรรม กฎหมายและจรรยาบรรณ
วิชาชีพการพยาบาลให้กับผู้ปฏิบัติงานเป็นระยะ
เครือข่าย กับการส่งเสริมความเข้มแข็งและพัฒนา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Parun Rutjanathamrong
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisSakarin Habusaya
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60Yui Yuyee
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53nipapat
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016some163
 

Mais procurados (18)

Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmis
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
 
Case study : Samitivej Hospital
Case study : Samitivej HospitalCase study : Samitivej Hospital
Case study : Samitivej Hospital
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
K kn การประชุมmt_nhso
K kn การประชุมmt_nhsoK kn การประชุมmt_nhso
K kn การประชุมmt_nhso
 

Semelhante a ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน

2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...Neung Arnat
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
Estimating cost of long term care.
Estimating cost of long term care.Estimating cost of long term care.
Estimating cost of long term care.Utoomporn Wongsin
 
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมAecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมUtai Sukviwatsirikul
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีUtai Sukviwatsirikul
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...ปลั๊ก พิมวิเศษ
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD first
20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD first20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD first
20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD firstKamol Khositrangsikun
 

Semelhante a ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน (20)

Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
 
รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
2013 utoomporn development of financial performance benchmark of moph’s hospi...
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
Estimating cost of long term care.
Estimating cost of long term care.Estimating cost of long term care.
Estimating cost of long term care.
 
Financing for Emergency patients
Financing for Emergency patientsFinancing for Emergency patients
Financing for Emergency patients
 
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมAecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53) Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
 
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่...
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD first
20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD first20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD first
20 พฤศจิกายน 2557 Man power manipulation for PD first
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 

Mais de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

Mais de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 
Smg presentation and photo
Smg presentation and photoSmg presentation and photo
Smg presentation and photo
 

ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน

  • 1. ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน ถอดบทเรียนจาก มาตรา ๔๑ สู่การป้ องกันผลกระทบจากการให้บริการ นาง กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพมาตรฐาน สปสช. หัวหน้าพยาบาล รพ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
  • 2. ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร 2 ผลงานความครอบคลุมการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ 69.2 99.37 99.8299.1598.7597.82 96.2595.4793.0192.47 99.16 99.47 60 70 80 90 100 110 2544 2546 2548 2550 2552 2554 ปีงบประมาณ %
  • 3. ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร มติบอร์ดในการลงทะเบียนแทน (ประกาศ ณ 29 มิย. 55) 1. กรณีเด็กแรกเกิด 2. กลุ่มวัยทางาน 2.1 กลุ่มที่หมดสิทธิประกันสังคมตามมาตรา 10 2.2 กลุ่มที่หมดสิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ตามมาตรา 9 ได้แก่ - บุตรอายุเกิน 20 ปี - ข้าราชการที่พ้นจากสภาพโดยรับบาเหน็จ - ครอบครัวข้าราชการที่พ้นสภาพโดยรับบาเหน็จ
  • 4. ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร การบริหาร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 4
  • 5. ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว 5  ประมาณการประชากรผู้มีสิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติ จานวน 48,445,000 คน  อัตราเหมาจ่าย 2,755.60 บาทต่อผู้มีสิทธิประกันสุขภาพ  คิดเป็นงบประมาณ 100,699.7580 ล้านบาท (ไม่รวมเงินเดือน) ปีงบ 2556
  • 6. ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร สรุปงบกองทุนปี 56 6 รายการ จานวนเงิน (ล้านบาท) ๑.บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว ๑.๑ ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการทางการแพทย์ต่างๆ ๑๐๐,๖๙๙.๗๖ ๑.๒ เงินเดือนของหน่วยบริการภาครัฐ ๓๒,๗๙๕.๒๘ ๒.บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ ๓,๒๗๖.๘๓ ๓.บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ๔,๓๕๗.๗๙ ๔.บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง ๔๑๐.๐๙ รวมทั้งสิ้น ๑๔๑,๕๓๙.๗๕ รวมกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ไม่รวมเงินเดือนหน่วยบริการภาครัฐ) ๑๐๘,๗๔๔.๔๖
  • 7. ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ 11-12 ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร 1. บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว ประเภทบริการ จานวนบาท/ผู้มีสิทธิ 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 983.49 (+11.98) 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 975.85 (+3.68) 3. เงินเพิ่มสาหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 60.99 4. บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/บริการโรคเฉพาะ) 262.10 (- 6.94) 5. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 313.70 6. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 12.88 7. บริการแพทย์แผนไทย 7.20 8. ค่าเสื่อม 128.69 (-12.81) 9. ส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 10. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการตามมาตรา 41 5.19 (+4.09) 11. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นเพื่อการชดเชยผู้ให้บริการ 0.75 รวม (บาทต่อผู้มีสิทธิ) 2,755.60 หมายเหตุ ประเภทบริการที่ 5 ครอบคลุมประชาชนคนไทยทุกคน
  • 9. ความสาคัญ • พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 38 “กาหนดให้ตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งขาติ เพื่อเป็น ค่าใช้จ่าย สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ” • มาตรา 41 ให้คณะกรรมการกันเงินจานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่าย ให้หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ ในกรณีที่ ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วย บริการ โดยหาผู้กระทาผิดมิได้หรือหาผู้กระทาผิดได้ แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหาย ภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการกาหนด (สานักกฎหมาย สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2551)
  • 10. ข้อบังคับ สาระข้อบังคับ ข ้อ ๖ ประเภทของความเสียหายที่เกิดจากการ รักษาพยาบาลของหน่วยบริการ และอัตราจ่ายเงิน ช่วยเหลือเบื้องต ้น แบ่งเป็น (๑) เสียชีวิต หรือทุพพลภาพอย่างถาวร หรือเจ็บป่ วย เรื้อรังที่ต ้องได ้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อการดารงชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือ เบื้องต ้นได ้ ตั้งแต่ ๒๔๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๔๐๐,๐๐๐ บาท (๒) สูญเสียอวัยวะหรือพิการที่มีผลกระทบต่อการ ดาเนินชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นได ้ตั้งแต่ ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒๔๐,๐๐๐ บาท (๓) บาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยต่อเนื่อง จ่ายเงินช่วยเหลือ เบื้องต ้นได ้ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
  • 11. สาระสาคัญของข้อบังคับ ม.41 ข้อ 4 ไม่ต้องรอการพิสูจน์ถูกผิด ข้อ 5 ความเสียหายไม่ได้เกิดจากพยาธิสภาพ ของโรค หรือเหตุแทรกซ้อนของโรคตามปกติ ข้อ 8 คอก.พิจารณาโดยคานึงถึง ความรุนแรงของความเสียหาย และเศรษฐานะของผู้เสียหาย
  • 12. 12 บทบาทหน้าที่คณะอนุกรรมการ 1. แสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริง 2. พิจารณาด้วยความเป็นธรรม 3. คาวินิจฉัย อธิบายได้ อยู่ในหลักเกณฑ์เดียวกัน 4. ประสานความเข้าใจ โดยไม่อุทธรณ์ หรือ นาไปฟ้ องคดี
  • 13. สานักกฎหมาย สปสช. ผู้รับบริการได้รับ ความเสียหาย คณะกรรมการควบคุม คุณภาพและมาตรฐาน บริการสาธารณสุข สปสช.สาขา จังหวัด (๗๗ จังหวัด) คอก.ม.๔๑ จังหวัด หน่วยบริการ ยื่นคาร้อง พิจารณา ความ เสียหาย ไม่เข้าเกณฑ์ • เพราะเป็ น พยาธิสภาพ ของโรคและ เหตุแทรกซ้อน ของโรค เข้าเกณฑ์ • เพราะ เหตุสุดวิสัย/ ความบกพร่อง ในการบริการ (๑) เสียชีวิต/ ทุพพลภาพ ถาวร/เรื้อรัง (๒) พิการ/ เสียอวัยวะ (๓) เจ็บป่ วย ต่อเนื่อง จ่ายเงิน ช่วยเหลือ เบื้องต้นไม่พอใจ ยื่นอุทธรณ์ วินิจฉัย จ่ายเพิ่ม / ยกอุทธรณ์ (คาสั่งถือเป็ นที่สุด) คกก.ควบคุมฯ คอก.ควบคุม ฯระดับ จว. คัดเลือก แต่งตั้ง เสนอ ไม่พอใจ ฟ้ องศาลฯได้ ภาพรวมการเยียวยา ตามมาตรา ๔๑ 1 2 3
  • 14. ปีงบ คาร้อง (ราย) ประเภทความเสียหาย จ่ายเพิ่ม (อุทธรณ์) เงินที่จ่าย ช่วยเหลือ(1) เสียชีวิต (2) พิการ (3) บาดเจ็บ 2550 511 38,090,000 7,570,535 4,527,000 1,990,000 52,177,535 2551 658 49,722,000 7,720,000 6,406,148 1,010,000 64,858,148 2552 810 54,515,000 10,200,000 7,808,000 700,000 73,223,000 2553 876 58,450,000 14,480,000 7,790,000 1,200,000 81,920,000 2554 965 66,162,000 15,097,000 9,007,330 1,940,000 92,206,330 2555 951 69,360,000 15,250,000 11,254,000 2,763,000 98,627,000 2556 (ถึง ก.พ.) 513 54,390,000 6,501,000 6,715,000 1,490,000 69,096,000 รวม 5,284 390,689,000 76,818,535 53,507,478 11,093,000 532,108,013 สานักกฎหมาย สปสช.
  • 15. 49 113 215 239 303 344 361 401 401 73 97 139 141 140 174 219 204 241 293 74 7129 11 120 85 36 13 ฿0 ฿50 ฿100 ฿150 ฿200 ฿250 ฿300 ฿350 ฿400 ฿450 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 ปีงบประมาณ จานวน เสียชีวิต พิการ บาดเจ็บ 15 ประเภทความเสียหายตั้งแต่ปี 2547-55
  • 16. 16 คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554 กรณีเข้ารับบริการแผนก สูติกรรม เหตุผลในการพิจารณา ไม่ เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3) จากกระบวนการรักษาพยาบาล - 61 28 16 17 การรักษาตามมาตรฐาน 6 - - - - จากการกระทาของผู้ป่ วย 2 - - - - เหตุสุดวิสัย - 318 135 84 99 พยาธิสภาพของโรค 42 - - - - ไม่ใช่ผู้มีสิทธิตาม พ.ร.บ. 7 - - - - ยื่นคาร้องเกิน 1 ปี 2 - - - รวม 59 379 163 100 116
  • 17. 17 คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554 กรณีเข้ารับบริการแผนก ศัลยกรรม เหตุผลในการพิจารณา ไม่ เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3) จากกระบวนการรักษาพยาบาล - 27 22 - 5 การรักษาตามมาตรฐาน - - - - - จากการกระทาของผู้ป่ วย 1 - - - - เหตุสุดวิสัย - 89 45 9 35 พยาธิสภาพของโรค 29 - - - - ไม่ใช่ผู้มีสิทธิตาม พ.ร.บ. - - - - - ยื่นคาร้องเกิน 1 ปี 1 - - - - รวม 31 116 67 9 40
  • 18. แ ที่เ ้ารั ร าร สต รรม ั ย รรม ายร รรม มารเวช รรม 18 จาแนกความเสียหาย ตามแผนกที่เข้ารับบริการ ตั้งแต่ปี 2547-2555
  • 19. 19 ผลการพิจารณา ปีงบประมาณ 2554 จาแนกตามประเภทหน่วยบริการ หน่วยบริการ คาร้อง ไม่เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3) จานวนเงิน (บาท) รพศ. 140 28 112 67 14 31 14,335,000 รพท. 208 38 170 85 30 55 19,765,000 รพช. 505 71 434 213 85 136 47,371,330 คณะแพทย์ 19 9 10 7 1 2 1,420,000 รพ.เอกชน 37 17 20 7 5 8 2,200,000 รพ.สต.,สอ. 18 4 14 4 3 7 1,115,000 สังกัด กทม. 10 5 5 5 - - 1,000,000 สังกัด กรมการแพทย์ 11 6 5 3 1 1 770,000 คลินิก 2 1 1 - 1 - 120,000 กองทัพ ,ตารวจ 7 1 6 5 - 1 1,050,000 อื่น ๆ 8 2 6 5 1 - 1,120,000 รวม 965 182 783 401 141 241 90,266,330
  • 20. 20 คาร้ งที่ยื่ แ ะว จฉัยไปแ ้ว 5,534 ราย เ ้าเ ณฑ์แ ะได้รั ารจ่ายเง 4,586 ราย ไม่เ ้าเ ณฑ์ ารจ่ายเง 948 ราย มีคดีที่ยื่ ฟ้ งต่ า ป คร ง จา ว ทั้งส้ 14 คดี เป็ ารฟ้ ง ให้จ่ายเง เพ่ม ช่วยเห ื ทั้งหมด ย่ระหว่างร คาพพา ษา ารฟ้ งร้ ง รณีไม่เห็ ด้วย ั ยต ง มาตรา 41
  • 21.
  • 22. ข้อบังคับ สาระข้อบังคับ ข ้อ ๖ ประเภทของความเสียหายที่เกิดจากการ รักษาพยาบาลของหน่วยบริการ และอัตราจ่ายเงิน ช่วยเหลือเบื้องต ้น แบ่งเป็น (๑) เสียชีวิต หรือทุพพลภาพอย่างถาวร หรือเจ็บป่ วย เรื้อรังที่ต ้องได ้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อการดารงชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือ เบื้องต ้นได ้ ตั้งแต่ ๒๔๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๔๐๐,๐๐๐ บาท (๒) สูญเสียอวัยวะหรือพิการที่มีผลกระทบต่อการ ดาเนินชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นได ้ตั้งแต่ ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒๔๐,๐๐๐ บาท (๓) บาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยต่อเนื่อง จ่ายเงินช่วยเหลือ เบื้องต ้นได ้ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
  • 23. ประเภท ๑ สาเหตุของความเสียหาย และการรักษาพยาบาล ระดับความรุนแรง ตาย ทุพพลภาพ ถาวร เรื้อรัง รุนแรง พึ่งพา ตลอดเวลา ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก การรักษาพยาบาลโดยตรง และ ไม่สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย 400,000 360,000 – 400,000 320,000 – 360,000 ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก การรักษาพยาบาลโดยตรง และ สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย 360,000 320,000 – 360,000 280,000 – 320,000 ความเสียหายส่วนหนึ่งเกิดจาก การรักษาพยาบาล 320,000 280,000 – 320,000 240,000 – 280,000 23สำนักกฎหมำย สปสช. กรณีเศรษฐานะ สังคม และจิตใจ เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 10 % ของเงินเยียวยาแต่รวม แล้ว ต้องไม่เกินเพดานที่กาหนด ในแต่ละประเภทความเสียหาย
  • 24. ประเภท ๒ สาเหตุของความเสียหาย และการรักษาพยาบาล ระดับความรุนแรงของผลกระทบ จากพิการหรือเสียอวัยวะ หรือเจ็บป่ วยเรื้อรัง มาก ปานกลาง น้อย ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก การรักษาพยาบาลโดยตรง และ ไม่สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย 240,000 216,000 – 240,000 192,000 – 216,000 ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก การรักษาพยาบาลโดยตรง และ สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย 216,000 192,000 – 216,000 168,000 - 192,000 ความเสียหายส่วนหนึ่งเกิดจาก การรักษาพยาบาล 192,000 168,000 – 192,000 144,000 – 168,000 24สำนักกฎหมำย สปสช. กรณีเศรษฐานะ สังคม และจิตใจ เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 10 % ของเงินเยียวยาแต่รวม แล้ว ต้องไม่เกินเพดานที่กาหนด ในแต่ละประเภทความเสียหาย
  • 25. ประเภท ๓ สาเหตุของความเสียหาย และการรักษาพยาบาล การบาดเจ็บหรือเจ็บป่ วย ต่อเนื่องต้องใช้เวลาและ ค่าใช้จ่ายในการรักษาหรือฟื้นฟู มาก ปานกลาง น้อย ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก การรักษาพยาบาลโดยตรง และ ไม่สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย 100,000 90,000 – 100,000 ไม่เกิน 80,000 ชัดเจนว่าความเสียหายเกิดจาก การรักษาพยาบาลโดยตรง และ สัมพันธ์กับโรคที่เจ็บป่ วย 90,000 80,000 - 90,000 ไม่เกิน 70,000 ความเสียหายส่วนหนึ่งเกิดจาก การรักษาพยาบาล 80,000 70,000 - 80,000 ไม่เกิน 60,000 25สำนักกฎหมำย สปสช. กรณีเศรษฐานะ สังคม และจิตใจ เพิ่มเติมอีกไม่เกิน 10 % ของเงินเยียวยาแต่รวม แล้ว ต้องไม่เกินเพดานที่กาหนด ในแต่ละประเภทความเสียหาย
  • 26.
  • 27.
  • 28. ขอให้กาหนดมาตรการ เพื่อให้คอก.ม.๔๑ ระดับ จังหวัด พิจารณาอย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ กาหนด โดย ๑) ให้มีการศึกษาทาความเข้าใจข้อบังคับฯ ๒) ให้มีผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา ร่วมในการ พิจารณา ๓) จัดให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม กากับดูแล การพิจารณาของ คอก.ระดับจังหวัด ๔) ให้มีมาตรการป้ องกันการจ่ายเงินช่วยเหลือที่ ผิดจากข้อบังคับฯ
  • 29. อะไรที่เราควรรู้จากกรณีผู้รับบริการขอใช้สิทธิตามมาตรา 41 • คุณลักษณะของผู้ได้รับความเสียหายที่ยื่นขอรับเงินช่วยเหลือ เบื้องต้น เป็นอย่างไร  • ความเสียหายที่มีการยื่นขอรับเงินฯ ในแต่ละระดับของ สถานบริการมีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร  • อะไรคือสาเหตุที่ทาให้เกิดความเสียหายที่เกี่ยวข้องกับ การพยาบาล ที่ทาให้มีการขอรับเงินฯ  • ทักษะการพยาบาลด้านใดที่มีความจาเป็นในการช่วยลด การเกิดความเสียหาย 
  • 31. นิยามศัพท์เฉพาะ • บริการสาธารณสุข หมายถึงบริการด้านการแพทย์และ สาธารณสุขซึ่งให้โดยตรงแก่บุคคลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และ การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จาเป็นต่อสุขภาพและการดารงชีวิต โดยรวมถึงการบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ
  • 32. นิยามศัพท์เฉพาะ • หน่วยบริการสาธารณสุข หมายถึง สถานบริการที่ได้ขึ้น ทะเบียนตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 และให้บริการทางด้านสาธารณสุข
  • 33. นิยามศัพท์เฉพาะ • ผู้ร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น หมายถึง ผู้ป่วยหรือญาติ ของผู้ป่วย ที่มีสิทธิตามมาตรา 41 ในพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545
  • 34. นิยามศัพท์เฉพาะ • ผู้ได้รับความเสียหาย หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจาก การรักษาพยาบาลจากหน่วยบริการสาธารณสุขที่ขึ้นทะเบียน ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ซึ่งผู้ได้รับความเสียหายอาจจะเป็นบุคคลเดียวกับผู้ร้องฯหรือ ไม่ใช่ก็ได้
  • 38. เกี่ยวข้อง ไม่เกี่ยวข้อง ความผิดพลาด การเจ็บป่วยรุนแรงขึ้น การรักษาพยาบาลล่าช้า พิการจากการเจ็บป่วย การคัดกรองผู้ป่วยผิดพลาด แพ้ยา ปฏิเสธที่จะให้บริการ เกิดอุบัติเหตุขณะอยู่ รพ. ผู้ป่วยเสียชีวิตหลังให้กลับบ้าน/ขณะ เคลื่อนย้าย/จากความบกพร่องในการ รักษาพยาบาล/ความเอาใจใส่ไม่เพียงพอ เสียชีวิตจากพยาธิสภาพ เกิดความพิการภายหลัง การเจ็บป่วยรุนแรงขึ้น ตั้งครรภ์หลังคุมกาเนิด
  • 40. ประเด็นย่อย1.1: การขาดความสามารถในการดูแล ติดตามอาการเปลี่ยนแปลงผู้ป่วย • การประเมินอาการผู้ป่วยหนักที่มีการอาการเปลี่ยนแปลง • การประเมินอาการของผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน • การประเมินความพร้อมและองค์ประกอบในการคลอดทาง ช่องคลอด ทารกมีอาการขาดออกซิเจนในครรภ์
  • 41. คลอดมารดาเสียชีวิต ปี ๒๕๕๔ =๓๕๙ ราย • ป่วยอายุ 35 ปี ประวัติเป็นครรภ์แรก ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล และโรงพยาบาลอาเภอ แพทย์แนะนาให้ไปตรวจน้าคร่าที่โรงพยาบาล จังหวัด เนื่องจากผู้ป่วยอายุเกิน 35 ปี และตั้งครรภ์แรก ทารกที่เกิดมาอาจ ปัญญาอ่อน ผู้ป่วยจึงเข้ารับการตรวจน้าคร่าที่โรงพยาบาลขอนแก่นเมื่อ ประมาณเดือนเมษายน 2554 ผลการตรวจปกติ ต่อมาเมื่อขณะตั้งครรภ์ได้ 36 สัปดาห์ ผู้ป่วยเข้ารับการฝากครรภ์ตามนัดพบมีภาวะความดันโลหิตสูง แพทย์ รับตัวไว้รักษา 1 คืน ต่อมาเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2554 ขณะอายุครรภ์ 37 ปี ไปรับการตรวจตามนัดพบว่ามีความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตในครั้ง แรกได้ 175/105 มม.ปรอท หลังจากนั้น 15 นาทีวัดครั้งที่ 2 ได้ 157/104 มม. ปรอท และต่อมาวัดครั้งที่ 3 ได้ 160/101 มม.ปรอท
  • 42. • แพทย์รับตัวไว้นอนโรงพยาบาล แรกรับตัวที่ห้องคลอดวัดอุณหภูมิได้ 37 องศา เซลเซียส ความดันโลหิต 160/100 มม.ปรอท อัตราการหายใจของทารกในครรภ์ 128 ครั้ง/นาที ขณะที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลไม่มีอาการปวดศีรษะ ตาพร่าหรือจุด แน่นลิ้นปี่ ความดันโลหิตอยู่ระหว่าง 140/90-150/100 มม.ปรอท อัตราการหายใจ ของทารกในครรภ์ อยู่ระหว่าง 128-150 ครั้ง/นาที ต่อมาวันที่ 17 กันยายน 2554 ผู้ป่วยถุงน้าแตก ปากมดลูกเปิด 2 เซนติเมตร แพทย์พิจารณาส่งไปรักษาต่อที่ โรงพยาบาลจังหวัด และให้ยากันชัก แรกรับผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ต่อมาปากมดลูกเปิดหมด แพทย์ช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ คลอดได้ทารกเพศหญิง น้าหนัก 3,600 กรัม สายสะดือพันคอ 1 รอบ แรกคลอดไม่หายใจแพทย์ช่วยฟื้นคืนชีพ แต่ไม่ประสบ ความสาเร็จ ทารกเสียชีวิต ส่วนผู้ป่วยหลังคลอดมีอาการแน่นหน้าอก นอนราบไม่ได้ แพทย์ให้ออกซิเจน ผู้ป่วยซึมลง ไม่รู้สึกตัว หายใจเหนื่อยหอบ วัดความดันโลหิตไม่ได้ และเสียชีวิตในที่สุด แพทย์วินิจฉัยสาเหตุการเสียชีวิตจากน้าคร่าไหลเข้าสู่กระแสเลือด ไปอุดกั้นปอด (4652)
  • 43. กรณีคลอด ทารก เสียชีวิต /ทารกเสียชีวิตในครรภ์ • ผู้ป่วย อายุ 34 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2553 ด้วยอาการเจ็บครรภ์คลอด ประวัติตั้งครรภ์ที่ 6 อายุ ครรภ์ 40 สัปดาห์ รับไว้รอคลอด แรกรับตรวจภายในพบปากมดลูกเปิด 6 เซนติเมตร มีสายสะดือของทารกย้อยออกมาในช่องคลอด และฟัง เสียงหัวใจทารกไม่ได้ จึงทาการช่วยคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ ได้ทารกเพศชาย Apgar Score 0,0 แรกคลอดทารกไม่หายใจ หัวใจไม่ เต้น ทาการช่วยฟื้นคืนชีพประมาณ 20 นาที ไม่มีสัญญาณชีพ จึงยุติ การช่วยฟื้นคืนชีพ และทาความเข้าใจกับญาติกรณีทารกเสียชีวิตใน ครรภ์มารดา ส่วนมารดาโรงพยาบาลรับตัวไว้และให้กลับบ้านในวันที่ 27 ธันวาคม 2553
  • 44. ผู้ป่วยหญิงอายุ ๒๓ วัน ประวัติมารดาคลอดทารกข้าง เตียงในท่ายืน หล่นลงพื้น สายสะดือขาด น้าหนักแรก คลอด ๒,๖๗๐ กรัม Apgar Score ๙,๑๐,๑๐ คะแนน สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ทารกหลังคลอดแพทย์ ตรวจร่างกายไม่พบไม่มีกระดูกหัก และไม่พบอาการ ผิดปกติ จึงอนุญาตให้กลับบ้านและนัดตรวจติดตามอาการ ต่อเนื่อง ไม่พบความผิดปกติ
  • 45. คลอดติดไหล่ ปี ๒๕๕๔ = ๘๒ ราย • ผู้ป่วย อายุ 17 ปี เข้ารับบริการคลอดบุตรที่โรงพยาบาลจังหวัด เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2554 ขณะคลอดติดไหล่ประมาณ 5 วินาที น้าหนัก 3,530 กรัม Apgar Score 8,9,9 คะแนน หลังคลอดตรวจพบว่าแขนข้างขวา ขยับได้เล็กน้อย เฉพาะส่วนปลายแขนและมือ ปรึกษาแพทย์ศัลยกรรม กระดูกและข้อร่วมดูแล ส่งเอกซเรย์ไม่พบกระดูกไหปลาร้าหัก วินิจฉัย เส้นประสาทแขนขวาได้รับบาดเจ็บ ให้การรักษาโดยการทา กายภาพบาบัดเพื่อกระตุ้นไฟฟ้ าอย่างต่อเนื่อง และนัดตรวจติดตาม อาการอีก 1 เดือน (4823)
  • 46. • ผู้ป่วย อายุ 71 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 ด้วยประวัติ 7 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถูกไม้เสียบลูกชิ้นตาเท้า มีแผลบริเวณฝ่าเท้า ซ้าย มีอาการปวดบวมเล็กน้อย หลังเท้าบวม แพทย์ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้าน และนัดติดตามอาการในวันที่ 19 เมษายน 2554 ต่อมาวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ผู้ป่วยกลับมารับบริการก่อนถึงวันนัด เนื่องจากมีอาการปวดฝ่าเท้าซ้าย บริเวณอุ้งเท้า บวม เป็นมา 3 วัน แพทย์ให้ยาและทาแผลให้ ต่อมาวันที่ 7 มีนาคม 2554 ผู้ป่วย กลับมารับบริการอีกครั้งด้วยอาการปวดบวมฝ่าเท้าซ้ายมีหนอง เป็นมา 5 วันก่อนมา โรงพยาบาล แพทย์รับตัวไว้รักษาให้การรักษาตามแผนการรักษา ทาการผ่าฝีและ ระบายหนอง หลังทาอาการดีขึ้น ไม่มีอาการปวดแผลไม่มีไข้ จึงจาหน่ายให้กลับบ้าน เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 และนัดมาพบแพทย์อีกครั้งในวันที่ 8 เมษายน 2554 ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัด พบมีอาการหลังเท้าซ้ายบวมเล็กน้อย แพทย์ให้ยากลับไป รับประทานที่บ้านและให้ทาแผลที่บ้าน ขาดการประเมินหลังให้บริการ
  • 47. • ต่อมาวันที่ 21 เมษายน 2554 ผู้ป่วยกลับมารับบริการอีกครั้งด้วยอาการปวดแผล มี หนองบวมแดง แพทย์ให้การรักษาโดยการผ่าแผลที่เท้าซ้าย และให้ยากลับไป รับประทานที่บ้าน แต่อาการไม่ดีขึ้น วันที่ 3 พฤษภาคม 2554 ผู้ป่วยกลับมาพบแพทย์ ด้วยอาการปวด มีน้าใสๆ ซึมที่แผล แพทย์ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้านและทาแผลที่ บ้าน วันที่ 14 พฤษภาคม 2554 ผู้ป่วยกลับมารับบริการด้วยอาการมีหนองซึมออกที่ บริเวณแผลที่เท้าซ้าย แพทย์ให้การรักษาโดยการทาแผล และผู้ป่วยมารับการทาแผล ทุกวันจนถึงวันที่ 10 มิถุนายน 2554 แพทย์ทาการตัดเนื้อบริเวณแผลได้เนื้อสีชมพู ให้ การรักษาโดยให้ยาและทาแผล ต่อมาวันที่ 13 กรกฎาคม 2554 ผู้ป่วยมาพบแพทย์อีก ครั้งด้วยอาการปวดแผล มีหนองซึม และ 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการ อ่อนเพลีย รับประทานอาหารไม่ได้ อาการปวดบริเวณต้นคอ แพทย์พิจารณาส่งไป รักษาต่อที่โรงพยาบาลจังหวัด แพทย์ให้การรักษาโดยการผ่าตัด เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2554 ผ่าตัดพบหนอง และในแผลพบเศษไม้ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร หลังผ่าตัดให้ ยาปฏิชีวนะ ทาแผล จนแผลแห้ง แพทย์อนุญาตให้กลับบ้านในวันที่ 30 สิงหาคม 2554 และนัดติดตามอาการในวันที่ 26 กันยายน 2554 (4708)
  • 48. ประเด็นย่อย 1.2: การแปลผล/แยกแยะความผิดปกติ • ไม่สามารถบ่งบอกได้ว่าผู้ป่วยมีสัญญาณชีพที่ผิดปกติ หรือไม่ สามารถวินิจฉัยเบื้องต้นได้ว่าผู้ป่วยต้องการการติดตาม อาการอย่างใกล้ชิด • การช่วยฟื้นคืนชีพล่าช้า • การพยาบาลไม่มีประสิทธิภาพ ล่าช้าทาให้ผู้ป่วยมีอาการ รุนแรงขึ้นและเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
  • 49. กรณีประเมินไม่ได้ อาการทางสมอง ไข้เลือดออก เซรุ่ม • ผู้ป่วยชายเข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุตกบันไดขณะดื่มสุรา มี อาเจียน ๑ ครั้ง วินิจฉัย ศีรษะได้รับบาดเจ็บ รับไว้สังเกต อาการ รู้สึกตัวดี มีปวดศีรษะเล็กน้อย จึงอนุญาตให้กลับบ้าน • หลังกลับบ้านอาการซึมลง ญาติ นาส่ง รพ.เอกชน CT พบ เลือดออกในสมอง รักษาด้วยการผ่าตัด แต่อาการไม่ดีขึ้น เสียชีวิต
  • 50. กรรีแผลกดทับ • ผู้ป่วยหญิงอายุ ๖๑ ปี มีโรคประจาตัวเบาหวาน มารักษาด้วย อาการปวดหูข้างขวาและปวดศีรษะเรื้อรัง X-ray พบโพรง อากาศหลังหูขวาอักเสบเรื้อรัง รักษาด้วยการผ่าตัด หลังผ่าตัด ผู้ป่วยมีอาการทรงตัวไม่ดี แขนขาอ่อนแรง นอน รักษา ใน รพ. นาน ๒ สัปดาห์ มีแผลกดทับ ต่อมาเกิดการติดเชื้อที่แผลกด ทับและติดเชื้อในกระแสเลือด
  • 52. ประเด็นย่อย 2.1: ขาดความระมัดระวังทางเทคนิคการ พยาบาล • การให้ยา เช่น การให้ยาผิด การฉีดยาแล้วเป็นอันตรายต่อ เส้นประสาทบริเวณที่ฉีด การเกิดการติดเชื้อบริเวณที่ฉีดยา หรือให้สารน้าทางหลอดเลือดดา • การเตรียมผู้ป่วยก่อนจาหน่าย เช่น การให้ผู้ป่วยกลับบ้านโดย ที่ยังมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ค้างอยู่ที่ตัวผู้ป่วยโดยที่ผู้ป่วยไม่ มีความจาเป็นต้องใช้ การไม่ได้ให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ กับผู้ป่วยในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและการเฝ้ าระวังอาการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตนเอง
  • 53. ให้ IV • ผู้ป่วยอายุ๒ ปี เข้ารับบริการด้วยอาการไข้สูง อาเจียน ให้การ รักษาตามอาการและให้สารน้าทางหลอดเลือด ต่อมาตรวจ พบบริเวณแขนข้างที่ให้น้าเกลือบวมและซีดตั้งแต่ข้อศอกถึง ปลายนิ้ว วินิจฉัยเกิดภาวะอุดตันของหลอดเลือด ให้การรักษา โดยการตัดเส้นเลือดเพื่อคลายหลอดเลือดไม่ดีขึ้น ปัจจุบันมือ ยังขยับแขนไม่ได้
  • 54. ทาเข็มค้าง • ผู้ป่วยหญิงอายุ ๓๔ ปี เข้ารับบริการคลอดบุตร ประวัติครรภ์ที่ ๒ อายุครรภ์ ๓๘ สัปดาห์ แพทย์รับไว้รอคลอด คลอดปกติ ได้ทารกเพศหญิง น้าหนัก ๒,๘๕๐ กรัม Apgar Score ๙,๑๐,๑๐ คะแนน ผู้ป่วยหลังคลอดได้รับการ เย็บแผลฝีเย็บ ขณะเย็บแผลชั้นผิวหนังเข็มหลุดจากไหม ทาการหาแล้วไม่พบ เข็มจึงเย็บแผลจนเสร็จสิ้น ตรวจภายในไม่พบเข็มค้างในแผล มีอาการปวดแผล ฝีเย็บพอทน เมื่ออาการดีขึ้นจึงอนุญาตให้กลับบ้าน ต่อมาผู้ป่วยกลับมารับ บริการด้วยอาการปวดแผลฝีเย็บ ตรวจพบมีแผลฝีเย็บอักเสบ และแผลแยก ยาว ๒ เซนติเมตร ให้ยาปฏิชีวนะกลับไปรับประทานต่อที่บ้าน หลังจากนั้น ผู้ป่วยกลับมารับบริการอีกครั้งด้วยมีเข็มหลุดออกมาจากช่องคลอด แพทย์ ตรวจพบภายในไม่พบบาดแผล ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้านต่อ
  • 55. ฉีดยาแล้วเกิดภาวะแทรกซ้อน • ผู้ป่วย อายุ 44 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เมื่อ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2554 เพื่อรับบริการฉีดยาคุมกาเนิด โดยผู้ป่วย ได้รับการฉีดยาคุมกาเนิดเข้ากล้ามเนื้อสะโพก 1 หลอด หลังฉีดยา ประมาณ 15 นาที บริเวณสะโพกซ้ายที่ได้รับการฉีดยามีอาการบวม เป็นก้อนแข็ง มีอาการปวดเพียงเล็กน้อย ต่อมาเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 ผู้ป่วยกลับไปที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลอีกครั้ง เนื่องจากก้อนที่สะโพกบริเวณที่ได้รับการฉีดวัคซีนเป็นก้อนไม่หายไป เจ้าหน้าที่ได้ให้ยาแก้ปวดและให้ประคบสมุนไพรด้วยความร้อน หลังจาก ประคบสมุนไพรแล้วก้อนบวมแดงมากขึ้นอาการปวดมีความรุนแรงขึ้น ต้องรับประทานยาแก้ปวดทุก 3 ชั่วโมง อาการไม่ดีขึ้น
  • 56. • หลังจากนั้นวันที่ 27 พฤศจิกายน 2554 ผู้ป่วยไปรับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ พบว่า มีก้อนบวมแดงเวลากดจะมีอาการเจ็บขนาด 10 x 10 เซนติเมตร แพทย์ให้ยากลับไป รับประทานที่บ้าน และนัดติดตามอาการอีกครั้งในวันที่ 6 ธันวาคม 2554 ผู้ป่วยมาพบ แพทย์ตามนัด พบว่ายังมีก้อนแข็งที่สะโพกซ้ายอยู่ มีอาการปวดบวม และมีไข้เป็น บางครั้ง แพทย์รับตัวไว้รักษาส่งตรวจอัลตร้าซาวด์ พบฝีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 10 เซนติเมตร ผิวหนาประมาณ 1 เซนติเมตร จึงทาการผ่าตัดฝีและระบาย หนองในวันที่ 7 ธันวาคม 2554 ได้หนองสีน้าตาล 300 ซีซี. ใส่ท่อยางระบายหนอง ยาว 3 นิ้วไว้ 2 เส้น หลังผ่าตัดทาความสะอาดแผลวันละ 2 ครั้ง ส่งหนองเพาะเพื่อ เพาะเชื้อ ผลพบ Moderate Staphylococus aureus ต่อมาแผลดีและแผลตื้นขึ้น แพทย์จาหน่ายผู้ป่วยให้กลับบ้านในวันที่ 16 ธันวาคม 2554 โดยให้กลับมาล้างแผลที่ โรงพยาบาลอาเภอทุกวัน และได้รับการตัดไหม เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554 (4978)
  • 57. การแจ้งผล lab ผิดพลาด ทั้งแจ้ง บวก และแจ้งลบ • ผู้ป่วย อายุ 32 ปี ประวัติครรภ์ที่ 3 ได้ไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพศูนย์ อนามัย เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2553 ตรวจพบภาวะเสี่ยงของคู่สามีภรรยา ปรากฏว่า ภรรยา เป็นพาหะธาลัสซีเมียชนิดเบต้า ส่วนสามี เป็นพาหะธาลัสซีเมียชนิดอี ต่อมา เจาะน้าคร่า ส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยภาวะธาลัสซีเมียของทารกในครรภ์โดยวิธีการวิเคราะห์ สารทางพันธุกรรม (DNA analysis) พบว่าทารกในครรภ์เป็นพาหะธาลัสซีเมียชนิด เบต้าเหมือนมารดา ไม่พบความผิดปกติทางพันธุกรรมของธาลัสซีเมียชนิดอี แพทย์แจ้ง ผลการตรวจธาลัสซีเมียว่า สามารถตั้งครรภ์ต่อได้ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 คลอด ปกติ ได้ทารกเพศชาย น้าหนัก2,925 กรัม ลักษณะทารกทั่วไปปกติ ต่อมาวันที่ 16 ตุลาคม 2554 ทารกมีไข้และซีด ได้เจาะเลือดตรวจ CBC และตรวจ Hb Typing วินิจฉัยว่าสงสัยเป็นธาลัสซีเมีย ได้ส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลอาเภอ ได้รับเลือดแดง เข้มข้น 1 ครั้ง
  • 58. • วันที่ 21 ตุลาคม 2554 ยืนยันผลตรวจเลือดพบว่า ทารกเป็นธาลัสซีเมียชนิดเบต้า ร่วมกับอี ได้แจ้งผลให้บิดามารดาทราบถึงความรุนแรง การดาเนินของโรค แนวทางการ รักษา และอธิบายผลตรวจน้าคร่าที่ไม่ตรงกับผลเลือดของทารก เนื่องจากผลการตรวจ น้าคร่าพบเพียงความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ได้รับมาจากมารดา ไม่พบความผิดปกติ ทางพันธุกรรมชนิดอีที่มาจากบิดา ซึ่งเป็นความผิดพลาดทางเทคนิคของการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการที่อาจเกิดขึ้นได้ จึงได้ส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลศูนย์ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2554 แพทย์มีความเห็นว่า ทารกเริ่มมีอาการซีดตั้งแต่อายุยังน้อยและระดับ ฮีโมโกลบินก่อนให้เลือดต่า จึงวางแผนการรักษาโดยเน้นการให้เลือดแดงสม่าเสมอ รักษาระดับฮีโมโกลบินก่อนให้เลือด และให้ยาขับธาตุเหล็กเมื่อมีข้อบ่งชี้ทารกมีพี่ชาย อายุ 8 ปี จึงวางแผนเพื่อตรวจความเข้ากันได้ของชนิดเนื้อเยื่อของทารกและพี่ชาย เพื่อ วางแผนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกาเนิดต่อไป (4886)
  • 59. ประเด็นย่อย 2.2: ขาดการเฝ้ าระวังผู้ป่วยอย่าง เหมาะสมและต่อเนื่อง • ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุพลัดตกจากเตียง/หกล้มในโรงพยาบาล • ท่อช่วยหายใจหลุดโดยไม่มีผู้พบเห็น • การเคลื่อนหรือเลื่อนหลุดของอุปกรณ์การแพทย์จากตัวผู้ป่วย ขณะมีการเคลื่อนย้าย
  • 60. กรณีแผลถูกของร้อน • ผู้ป่วยอายุ ๙เดือน เข้ารับบริการด้วยอาการไข้สูง ไอมีเสมหะ รับไว้รักษา ให้การรักษาตามอาการ ขณะรับบริการมารดา ออกไปล้างขวดนม เจ้าหน้าที่โรงครัวนาอาหารมาแจกและวาง ไว้บนเตียง ขณะที่ผู้ป่วยกาลังหลับ หลังจากนั้นผู้ป่วยตื่นและ คลานมาที่ถาดข้าวต้มและได้วางมือขวาลงในถาดข้าวต้ม พบ ผิวหนังถูกข้าวต้มลวกในระดับดีกรี ๒ ต้องทาแผลและ พิจารณาตัดปิดผิวหนังและยึดด้วยลวด หลังผ่าตัดไม่มี ภาวะแทรกซ้อน
  • 61. กรณีผูกคอตาย • ผู้ป่วย อายุ 36 ปี มีประวัติป่วยเป็นโรคจิตเภท ชนิดหวาดระแวง รักษาไม่ต่อเนื่อง เข้า รับบริการที่โรงพยาบาลจังหวัด ด้วยมีอาการพูดจาสับสน กระวนกระวาย อยากกลับ บ้าน ก้าวร้าว หูแว่ว หลงผิดคิดว่าตนเองเป็นผู้วิเศษ แพทย์ตรวจร่างกายวินิจฉัยเป็น ผู้ป่วยโรคจิตเภท ชนิดหวาดระแวง รับตัวไว้รักษาที่หอผู้ป่วยจิตเวช และให้ยารักษา ด้วยสูตรยาต้านโรคจิต ระหว่างที่พักรักษาตัวอยู่อาการดีขึ้นสดชื่นในเวลากลางวัน แต่ ไม่นอนในตอนกลางคืน สับสน พูดเสียงดัง โวยวาย ยังคงมีหูแว่ว หลงผิด อารมณ์ แปรปรวน หงุดหงิดสลับกับอารมณ์ครื้นเครงโดยไม่มีเหตุผล ไม่ปรากฏอารมณ์ซึมเศร้า หรือพฤติกรรมที่จะทาร้ายตัวเอง แพทย์จึงปรับยาที่ทาการรักษาทั้งยากินและยาฉีด ต้านโรคจิต และเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2555 ผู้ป่วยอาการดีขึ้น และต้องการกลับบ้าน ต่อมาวันที่ 7 มีนาคม 2555 ผู้ป่วยผูกคอตายที่หอผู้ป่วยจิตเวช ได้รับการช่วยเหลือ แต่ วัดสัญญาณชีพไม่ได้ ผู้ป่วยไม่หายใจ จึงได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ แต่อาการไม่ดีขึ้น และเสียชีวิตในที่สุด (5220)
  • 62. ประเด็นย่อย 2.3: ขาดการตรวจสอบความพร้อมของ อุปกรณ์การแพทย์ในการใช้งาน • ขาดการตรวจสอบอุณหภูมิของวัสดุที่ใช้เพื่ออบอุ่นร่างกาย • การขาดการตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานของสายดินใน การใช้จี้ไฟฟ้ าในห้องผ่าตัด • ขาดการเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์สาหรับใช้ในการช่วย ฟื้นคืนชีพที่หอผู้ป่วยและขณะเคลื่อนย้ายทาให้ผู้ป่วย
  • 63. กรณีไม่พร้อมแล้วรับกลับ • ผู้ป่วย อายุ 77 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลศูนย์ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2554 ด้วย ตรวจพบว่าเป็นเนื้องอกในสมอง แพทย์พิจารณาให้การรักษาโดยการผ่าตัดเปิดสมอง และเอาก้อนเนื้องอกออก และเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 ได้รับการผ่าตัดสมองอีกครั้ง เพื่อเอาก้อนเลือดออก ต่อมาวันที่ 15 เมษายน 2554 แพทย์ทาการเจาะคอใส่ท่อชนิด พลาสติกเพื่อช่วยหายใจ แพทย์พิจารณาแล้วเห็นว่าอาการผู้ป่วยคงที่จึงส่งตัวผู้ป่วย กลับไปรับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลอาเภอ แต่ระหว่างนั้นได้รับแจ้งว่าเตียงเต็มจึงยัง ไม่ได้ส่งผู้ป่วยกลับ ต่อมาเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 แพทย์ได้ทาการถอด ออกซิเจนออก ผู้ป่วยหายใจเองได้ ไม่เหนื่อยหอบ และได้รับการประสานจาก โรงพยาบาลอาเภอว่าจะมีรถพยาบาลมาส่งผู้ป่วยที่โรงพยาบาลศูนย์ แพทย์จึง พิจารณาส่งผู้ป่วยกลับไปรักษาที่โรงพยาบาลอาเภอ แรกรับผู้ป่วยมีอาการลืมตาเมื่อ เจ็บ ไม่ขยับแขนขา มีอาการทรุดลงเรื่อยๆ และเสียชีวิตในที่สุด เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2554 (4538)
  • 64. กรณี เด็กหญิงถุงแก้ว • ผู้ป่วย อายุ 19 ปี เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอาเภอ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 ด้วยอาการ 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการ ปวดบิดท้องมีเลือดออกทางช่องคลอด ประวัติเป็นครรภ์ที่ 2 บุตรคนแรก อายุประมาณ 1 ปี หลังคลอดไม่ได้คุมกาเนิดและผู้ป่วยไม่ทราบว่า ตนเองตั้งครรภ์ ไม่ทราบประจาเดือนครั้งสุดท้าย แรกรับตรวจร่างกาย พบหน้าท้องโต คลาได้ยอดมดลูกแข็งตลอดนาน 40 วินาที ระดับยอด มดลูกตรงระดับสะดือ มีเลือดซึมออกทางช่องคลอด ฟังเสียงหัวใจทารก ในครรภ์ด้วยหูไม่ได้ยิน จึงประเมินด้วยเครื่องฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ ไม่พบเสียงหัวใจทารกในครรภ์
  • 65. • ผู้ป่วยมีอาการเจ็บครรภ์ตลอดเวลา ต่อมาตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดหมด ผู้ป่วย เบ่งคลอด คลอดได้ทารกลักษณะอยู่ในถุงน้าคร่าที่ยังไม่แตก แพทย์ได้เจาะแหวกถุง น้าคร่า และนาทารกออกมาพบทารกไม่หายใจ มือ-เท้าเขียวคล้า ตัวลาย แขนขาและ ตัวไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น เป็นทารกเพศหญิง น้าหนัก 720 กรัม แพทย์แจ้งญาติ ว่าทารกแท้งและเสียชีวิต ญาติจึงนาศพทารกกลับไปทาพิธีที่บ้าน ต่อมาบิดาได้นา ทารกกลับมาโรงพยาบาลอีกครั้ง เนื่องจากเมื่อกลับไปถึงบ้านเปิดถุงที่ใส่ทารกออกดู พบทารกหายใจได้เอง ตัวแดง ร้องเป็นพักๆ ขยับตัวได้ แพทย์พิจารณาใส่ท่อช่วย หายใจ และส่งไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลจังหวัด แพทย์ให้การรักษาโดยใส่ท่อช่วย หายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ให้ยาปฏิชีวนะ ส่องไฟ ให้เลือด และให้การรักษาจน อาการดีขึ้นสามารถถอดท่อช่วยหายใจออกได้ ทารกสามารถหายใจได้ด้วยตนเอง น้าหนักขึ้นดี อาการทั่วๆไปปกติดี แพทย์พิจารณาส่งกลับไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาล อาเภอ แพทย์ให้การรักษาตามอาการ จนอาการดีขึ้นตามลาดับ จึงอนุญาตให้กลับ บ้านและนัดติดตามอาการเป็นระยะ โดยครั้งสุดท้ายที่มาพบแพทย์เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 พบว่าทารกน้าหนัก 4,100 กรัม ไม่เกร็ง กล้ามเนื้อไม่แข็ง จ้องหน้า ดูดนมได้ ชันคอได้ ไม่มีน้าลายยืด (5045)
  • 67. 67 ผลการพิจารณากรณีทาหมันแล้วตั้งครรภ์ ก่อนคกก.หลัก ฯ มีมติจ่ายเงิน ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2547 – 2554 • ผู้ยื่นคาร้อง 4,583 ราย เป็นกรณีทาหมันแล้วตั้งครรภ์ 300 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.54 • เข้าเกณฑ์ 249 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.00 • ไม่เข้าเกณฑ์ 51 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.00 จานวนเงินที่จ่าย จานวน (ราย) 120,000 1 50,000 155 30,000 - 40,000 44 20,000 - 25,000 41 10,000 5 5,000 3 รวม 249 หมายเหตุ :กรณีที่จ่าย 120,000 บาท ข้อ 6(2) เป็ นกรณี ขณะทาหมันแล้วมีเส้นเลือดฉีกขาด ตัดปีกมดลูก(ปี 2551)
  • 68. 68 ประเภท คาร้อง ผลการพิจารณา อัตราจ่าย รวมเงินจ่าย (ราย) ไม่เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ ฉีดยา 9 3 4 50,000 200,000 1 40,000 40,000 1 25,00 25,000 ใส่ห่วง 2 1 1 10,000 10,000 ฝังยา 4 - 2 50,000 100,00 2 25,000 50,000 รวม 15 4 11 425,000 ผลการพิจารณากรณีคุมกาเนิดชั่วคราวแล้วตั้งครรภ์ ตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2547 – 2555(ส.ค.) • ผู้ยื่นคาร้อง 5,421 ราย เป็นกรณีคุมกาเนิดชั่วคราวแล้วตั้งครรภ์ จานวน 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.28 • เข้าเกณฑ์ 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.20 • ไม่เข้าเกณฑ์ 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.07
  • 69. 69 ข ้อพิจารณา กรณีทาหมันแล ้วตั้งครรภ์ • การพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้น กรณี ตั้งครรภ์ภายหลังทาหมัน ยึดตามความเห็น ของคกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • ต ้องทาความเข ้าใจข ้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับ ผู้รับบริการ การตั้งครรภ์ภายหลังทาหมัน ที่เกิดจากท่อนาไข่ต่อกันเอง เป็นเหตุสุดวิสัย ไม่ใช่ ความผิดพลาดจากการให ้บริการ
  • 70. 70 • ฉีดยาคุม ฝังยาคุม และใส่ห่วง แล ้วตั้งครรภ์ ที่เป็นเหตุสุดวิสัย ซึ่งไม่ใช่ความบกพร่องของหน่วยบริการ ให ้จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นได ้ไม่เกินครึ่งหนึ่ง ๕๐ %ของประเภทความเสียหาย กรณีบาดเจ็บหรือ เจ็บป่ วยต่อเนื่อง ทั้งนี้ ผู้รับบริการต ้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด (๑) ข ้อแนะนาของหน่วยบริการ (๒) ข ้อแนะนาของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่ง ประเทศไทย ยกเว ้น ข้อพิจารณา กรณีคุมกาเนิดชั่วคราว
  • 71. 71 • กรณีที่เกิดจากความผิดพลาดบกพร่องที่ ชัดเจนของผู้ให ้บริการ เช่น ยาหมดอายุ เสนอให ้จ่ายเงินช่วยเหลือมากกว่ากรณี ทั่วไป • การตั้งครรภ์หลังจากการคุมกาเนิดชั่วคราว ภายใน ๑ เดือน ไม่ควรได ้รับเงินช่วยเหลือ ข้อยกเว้น
  • 72. ปัจจัยอะไรที่เกี่ยวข้องกับความบกพร่องที่เกิดขึ้นบ้าง • การปรับเปลี่ยนโครงสร้างระบบการให้บริการสาธารณสุข • อัตรากาลังและอัตราส่วนของผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ต่อ ผู้ปฏิบัติที่ยังขาดประสบการณ์หรือมีประสบการณ์น้อย • การเร่งผลิตของสถาบันการศึกษา • ศักยภาพและทัศนคติในการพัฒนาองค์ความรู้ของ แต่ละบุคคล • ความคาดหวังต่อการบริการของผู้รับบริการที่เพิ่มขึ้น