SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
บทที่ 9
                    การประเมิน ค่า งาน
                                               กรรณิก า ปัญ ญา
อมรวัฒ น์
                                         หัว หน้า พยาบาล
รพ.ชัย บาดาล จ.ลพบุร ี
                                         รองเลขาธิก ารสภาการ
พยาบาล
หลัก การและเหตุผ ล
           พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
มาตรา 40 และ มาตรา 44 ได้กำาหนดหลักการการมอบอำานาจการ
กำาหนดตำาแหน่งให้องค์กรหรือส่วนราชการดำาเนินการแทน ก.พ. ได้
ตามหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และวิธีการที่ ก.พ. กำาหนด ซึ่ง ก.พ. ได้
มอบอำานาจการกำาหนดตำาแหน่งระดับ 8 ลงมา ตามหนังสือสำานักงาน
ก.พ. ที่ นร 1008/ว 18 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2547 และ ที่ นร
1008/ว 5 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2549 และมอบอำานาจการกำาหนด
ตำาแหน่งระดับ 9 ตามหนังสือสำานักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 1 ลง
วันที่ 26 มกราคม 2550 ทั้งนี้ เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อสร้าง
ความเข้มแข็งให้ส่วนราชการและเพื่อรองรับการกระจายอำานาจกา
รกำาหนดตำาแหน่งตามแนวทางระบบจำาแนกตำาแหน่งและค่าตอบแทน
ใหม่
            โดยทีมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัตระเบียบข้าราชการ
                 ่                          ิ
พลเรือน พ.ศ. 2535 ดังกล่าว ได้กำาหนดหลักเกณฑ์การจำาแนก
ตำาแหน่งตามหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงานไว้ เป็น
11 ระดับ การที่ส่วนราชการจะกำาหนดตำาแหน่งใด ระดับใด จำานวน
เท่าใด ต้องพิจารณาถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงาน
ของตำาแหน่ง ตามภารกิจของส่วนราชการ โดยให้เป็นไปตามหลัก
เกณฑ์การกำาหนดตำาแหน่งดังกล่าว ดังนัน ในการมอบอำานาจการ
                                     ้
กำาหนดตำาแหน่ง ก.พ. จึงกำาหนดแนวทางการประเมินค่างานเพื่อเป็น
เครื่องมือในการวิเคราะห์การกำาหนดตำาแหน่งในส่วนราชการ

หลัก เกณฑ์ก ารประเมิน ค่า งาน
           การประเมินค่างานเป็นวิธีการดำาเนินการอย่างเป็นระบบใน
การจัดลำาดับชั้นงาน (Ranking) เพื่อตีค่างานได้อย่างสมเหตุสมผล
และเป็นธรรม โดยนำางานมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกัน หรือเปรียบเทียบ
ลักษณะงานขนาด และคุณภาพความยุงยากของงานทีเป็นอยูปจจุบน
                                  ่              ่     ่ ั ั
ภายใต้องค์ประกอบหรือปัจจัยการประเมินทีมระดับการวัด (Scale) ที่
                                       ่ ี
กำาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เพือการกำาหนดระดับตำาแหน่งของงานต่างๆ
                        ่
ได้ สำาหรับหลักเกณฑ์การประเมินค่างานนี้ ก.พ. กำาหนดไว้ 2
ลักษณะ คือ
          1) ตำา แหน่ง ที่ม ีล ัก ษณะบริห ารและบัง คับ บัญ ชา
เป็นการประเมินค่างานของตำาแหน่งทีปฏิบตงานในฐานะหัวหน้าหน่วย
                                    ่ ั ิ
งาน ตังแต่หวหน้างานระดับต้นจนถึงผูบริหารในส่วนราชการ เช่น
      ้    ั                      ้
ตำาแหน่งหัวหน้างาน ตำาแหน่งหัวหน้าฝ่าย ตำาแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน
ตำาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานระดับกอง (บก.) และตำาแหน่งหัวหน้าหน่วย
งานสูงกว่ากอง (บส.)
          2) ตำา แหน่ง ทีม ใ ช่ล ก ษณะบริห ารและบัง คับ บัญ ชา
                         ่ ิ     ั
เป็นการประเมินค่างานของตำาแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ว)
ตำาแหน่งสำาหรับลักษณะงานวิชาชีพเฉพาะ (วช.) และตำาแหน่ง
สำาหรับลักษณะงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (ชช.)ที่มีในส่วนราชการ
องค์ป ระกอบในการประเมิน ค่า งาน
           หลักเกณฑ์การประเมินค่างานเป็นแนวทางทีใช้ในการ
                                                  ่
พิจารณาลักษณะหน้าทีความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุงยากของ
                      ่                              ่
งานในตำาแหน่ง สำาหรับตำาแหน่งผูปฏิบตงานในฐานะหัวหน้าส่วน
                                 ้     ั ิ
ราชการในระดับต่างๆ และตำาแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ หรือ
ตำาแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ หรือเชียวชาญเฉพาะ รวมทังการ
                                     ่                 ้
ประเมินความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทตองการใช้ในการ
                                             ี่ ้
ปฏิบตงานของตำาแหน่งนันๆ ด้วย ทังนี้ ได้กำาหนดองค์ประกอบการ
      ั ิ               ้          ้
ประเมินค่างานไว้ 3 ด้าน ประกอบด้วยองค์ประกอบ 8 องค์ประกอบ
ซึ่ งสะท้อนให้เห็น คุณภาพ ความยุ่งยากของงานของตำาแหน่งนั้น เพื่อ
การกำาหนดระดับตำาแหน่งได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรม ดังนี้
          1. องค์ป ระกอบหลัก ด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น
ในงาน
             องค์ป ระกอบที่ 1        ความรอบรู้และชำานาญงาน

             องค์ป ระกอบที่ 2 การบริหารการจัดการ

             องค์ป ระกอบที่ 3 การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์
2. องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ข
ปัญ หา
             องค์ป ระกอบที่ 4 การปฏิบัติงานและการตัดสินใจ
          แก้ไขปัญหา
             องค์ป ระกอบที่ 5 ความท้าทายในความคิดหรือความ
          คิดสร้างสรรค์
          3. องค์ป ระกอบด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ
             องค์ป ระกอบที่ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน

             องค์ป ระกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน

              องค์ป ระกอบที่ 8 อำานาจที่ได้รับ/ขอบเขตความรับ
           ผิดชอบ
โดยมีร ายละเอีย ด ดัง นี้
         1. ด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน : องค์
ประกอบด้านนี้พิจารณาถึงระดับความรอบรู้ และชำานาญงาน ความรู้
ความสามารถในการบริหารจัดการ และทักษะ ความสามารถ
ในการติดต่อสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ ที่ต้องการของตำาแหน่งนั้นๆ ซึ่ง
จำาแนกองค์ประกอบได้ ดังนี้
                องค์ป ระกอบที่ 1 ความรอบรู้แ ละชำา นาญงาน :
ความรู้ ความชำานาญงาน ซึ่งโดยสภาพของงานนั้นๆ จะต้องมีเพื่อ
ปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบให้สำาเร็จลุล่วงไปได้ และรวมถึงระดับ
และขอบเขตความรูความเชียวชาญในสาขาวิชาชีพทีจะต้องใช้ โดย
                   ้      ่                        ่
มิใช่ความรอบรูและชำานาญงานเฉพาะตัวบุคคลผู้ดำารงตำาแหน่ง
                ้
               องค์ป ระกอบที่ 2    การบริห ารการจัด การ :
ความรู้ความสามารถในการบริหารการจัดการทีตองการของตำาแหน่ง
                                          ่ ้
นันๆ โดยพิจารณาลักษณะงานในบทบาทของการบริหารจัดการ ซึง
  ้                                                       ่
ต้องคำานึงถึงความยุ่งยากในการวางแผน กำากับ ตรวจสอบ ติดตาม
การปฏิบัติงาน        ความหลากหลายในเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของ
งาน รวมถึงระดับและขอบเขตของการบริหารจัดการในงาน
             องค์ป ระกอบที่ 3 การสื่อ สารและปฏิส ัม พัน ธ์ :
ทักษะความสามารถในการ ติดต่อสือสารกับผูอน หรือการทำางานร่วม
                                 ่       ้ ื่
กับผูอนหรือการให้ผอนร่วมทำางาน โดยพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของ
     ้ ื่         ู้ ื่
การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งระดับและขอบเขตของการติดต่อสื่อสาร


          2. ด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา : องค์
ประกอบด้านนี้พจารณาถึงระดับในการคิดและการตัดสินใจทีตองการ
               ิ                                     ่ ้
ของตำาแหน่งนันๆ โดยพิจารณาระดับความเป็นอิสระในการคิดและ
             ้
ตัดสินใจตามสภาพแวดล้อมของสถานการณ์ของปัญหา รวมทังความ    ้
ท้าท้ายในการคิดและพัฒนาสิงใหม่ๆ ให้เกิดขึนในงาน ซึ่งจำาแนกองค์
                          ่              ้
ประกอบได้ ดังนี้
             องค์ป ระกอบที่ 4 การปฏิบ ต ง านและการตัด สิน ใจ
                                      ั ิ
แก้ไ ขปัญ หา : ระดับ ขอบเขต แนวทางของการปฏิบัติงานหรือการ
ตัดสินใจแก้ไขปัญหาในงานของตำาแหน่งนั้นๆ
               อ ง ค์ ป ระกอบที่ 5 ความท้า ทายในความคิด หรือ
ความคิด สร้า งสรรค์ : ระดับความท้าทายของความคิดหรือความคิด
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆในงานของตำาแหน่งนั้นๆ โดยมิใช่พิจารณาที่
ความสามารถในการคิดของบุคคลที่ดำารงตำาแหน่ง
          3. ด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ : องค์ประกอบด้านนี้
พิจารณาระดับภาระความรับผิดชอบ ซึ่งพิจารณาจากความเป็นอิสระ
ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งขนาดและขอบเขตของผลกระทบของงานที่
เป็นภาระความรับผิดชอบ ตลอดจนอำานาจหน้าที่ในขอบเขตความรับ
ผิดชอบของตำาแหน่งนั้นๆ ซึ่งจำาแนกองค์ประกอบได้ ดังนี้
             องค์ป ระกอบที่ 6 อิส ระในการปฏิบ ัต ิง าน : ความ
เป็นอิสระในการทำางาน หรือกรอบการปฏิบัติงาน หรือระดับการ
กำากับตรวจสอบที่ได้รับ
             องค์ป ระกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน :
ระดับหรือขอบเขตของผลกระทบจากงานในตำาแหน่งนั้นๆ ต่อการบรรลุ
วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
              องค์ป ระกอบที่ 8 อำา นาจทีไ ด้ร บ /ขอบเขตความ
                                        ่     ั
รับ ผิด ชอบ : ขอบเขตอำานาจ
ในการดำาเนินงาน หรือระดับการได้รับมอบอำานาจในการดำาเนินการ
หรือขอบเขตความรับผิดชอบ
ของตำาแหน่งนั้นๆ
เกณฑ์ก ารกำา หนดระดับ ตำา แหน่ง
          การกำาหนดค่าคะแนนรวมใน 8 องค์ประกอบดังกล่าว มีคา
                                                         ่
คะแนนรวม 1,000 คะแนน โดยเกณฑ์การกำาหนดระดับตำาแหน่ง
แต่ละระดับมีค่าคะแนนดังนี้
       คะแนนที่ไ ด้จ ากการ
                                              ระดับ
           ประเมิน

     ตั้งแต่   360   คะแนนขึ้นไป                  6
     ตั้งแต่   460   คะแนนขึ้นไป                  7
     ตั้งแต่   600   คะแนนขึ้นไป                  8
     ตั้งแต่   760   คะแนนขึ้นไป                  9


การวิเ คราะห์เ พื่อ ประเมิน ค่า งาน
    1. ข้อ มูล ที่ใ ช้ป ระกอบการประเมิน ค่า งาน
        ในการดำาเนินการวิเคราะห์ตำาแหน่งเพื่อประเมินค่างาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบจะต้องประมวลข้อมูลรายละเอียดของตำาแหน่ง
เพือนำาไปใช้วเคราะห์ตคางาน ซึงประกอบด้วย
   ่         ิ          ี ่       ่
          1.1 นโยบาย กลยุทธ์ ภารกิจ แผนงานโครงการของส่วน
ราชการ
          1.2 โครงสร้างการจัดส่วนราชการและความสัมพันธ์
ระหว่างหน้าที่ความรับผิดชอบของตำาแหน่งกับหน้าที่ความรับผิดชอบ
ของส่วนราชการที่สังกัด รวมทั้งตำาแหน่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
          1.3 หน้าทีความรับผิดชอบหลักของตำาแหน่ง ปริมาณและ
                      ่
คุณภาพของงานของตำาแหน่งทีจะประเมิน และวัตถุประสงค์ในการ
                                ่
กำาหนดตำาแหน่ง
          1.4 ขันตอนและวิธปฏิบตงาน ความยุงยากในการแก้ไข
                 ้            ี     ั ิ      ่
ปัญหา แนวทางการปฏิบตงาน การใช้ความรูความสามารถ และ
                          ั ิ            ้
ประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพในการปฏิบตงาน และขอบเขต
                                            ั ิ
กำากับตรวจสอบของผูบงคับบัญชา
                    ้ ั
          1.5 ผลงาน
                 · สถิติผลงานของตำาแหน่งที่ได้ดำาเนินการที่ผ่านมา
· แนวโน้มผลงานและความคุ้มค่าที่คาดว่าจะได้รับ
    2. กฎหมายและหลัก เกณฑ์ท ี่เ กี่ย วข้อ ง
          2.1 พระราชบัญญัตระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.
                             ิ
2535 มาตรา 40 และมาตรา 42
          2.2 มาตรฐานกำาหนดตำาแหน่งที่ ก.พ. กำาหนด
          2.3 แนวทางและหลักเกณฑ์การกำาหนดตำาแหน่งที่ ก.พ.
หรือองค์กรที่ได้รับมอบอำานาจกำาหนด
     3. ขั้น ตอนและวิธ ีก ารวิเ คราะห์
             3.1 ตำาแหน่งที่จะนำามาวิเคราะห์จะต้องเป็นตำาแหน่งที่ผ่าน
หลักเกณฑ์แนวทางการกำาหนดตำาแหน่งตามที่ ก.พ. หรือองค์กรที่ได้
รับมอบอำานาจกำาหนด และอยู่ในเกณฑ์ที่จะกำาหนดเป็นระดับสูงขึ้นได้
เช่น ตำาแหน่งที่จะนำามาประเมินค่างานในระดับ 9 จะต้องผ่านหลัก
เกณฑ์การกำาหนดตำาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่สูงกว่ากอง ระดับ 9
             3.2 ศึกษารายละเอียดโครงสร้างการจัดส่วนราชการ
ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบของตำาแหน่ง และความสัมพันธ์ของ
ตำาแหน่งนั้นกับตำาแหน่งอื่นที่เกี่ยวข้องในโครงสร้างองค์กร รวมทั้ง
พิจารณาเทียบเคียงตำาแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบในลักษณะ
เดียวกันในส่วนราชการอื่น
             3.3 วิเคราะห์งานของตำาแหน่งนั้นๆ ในแต่ละองค์ประกอบ
ตามเกณฑ์ประเมินค่างานว่าลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ คุณภาพ
งานของตำาแหน่ง จัดอยู่ในอันดับใดขององค์ประกอบนั้นๆ โดยแสดง
เหตุผลในการพิจารณาให้ชดเจนและมีขอมูลหรือข้อเท็จจริงอ้างอิง ซึง
                              ั          ้                         ่
เป็นทียอมรับและสอบทานความถูกต้องได้
      ่
             3.4 เมื่อประเมินค่างานในทุกองค์ประกอบแล้ว ให้รวม
คะแนนทั้งหมดที่ได้รับไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การกำาหนดระดับ
ตำาแหน่ง
             3.5 ระบุรายละเอียดการวิเคราะห์ลงในแบบประเมินค่างาน
พร้อมทั้งสรุปผลการประเมิน
                 ในกรณีทเป็นการประเมินกลุมตำาแหน่งทีมลกษณะงาน
                           ี่               ่         ่ ี ั
และหน้าทีความรับผิดชอบเช่นเดียวกันแต่ปฏิบัติงานต่างพื้นที่กัน จะ
           ่
ต้องมีการประเมินค่างานในเชิงลึก ทั้งนี้ ส่วนราชการอาจกำาหนดองค์
ประกอบย่อย ในแต่ละองค์ประกอบหลักเพิ่มเติมได้ตามลักษณะงาน
ของตำาแหน่ง โดยต้องสอดคล้องกับองค์ประกอบหลักนั้นๆ เช่น
ตำาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการประจำาจังหวัด
แบบประเมิน ค่า งาน
 ชื่อตำาแหน่ง.............................................             ตำาแหน่งเลขที่ .....
 …………………………………………
 ส่วนราชการที่
 สังกัด......................................................................................
 .....................………………..
 หน้าที่ความรับผิดชอบของตำาแหน่ง
 .............................................................................................
 .............................................................................................
 .............................................................................................
 .............................................................................................
 .............................................................................................
 .............................................................................................
 .............................................................................................
 .............................................................................................
 ............................................................................
 ……………………………………………………………………………
 ……………

                              คะแ      ประเมิ                                        คะแ
                              นน        นใน              เหตุผ ลในการ                นนที่
    องค์ป ระกอบ
                              เต็ม     อัน ดับ             พิจ ารณา                   ได้
                                                                                      รับ
องค์ป ระกอบด้า น
ความรู้แ ละทัก ษะที่
จำา เป็น ในงาน               ....... ......... ................................      .......
1. ความรอบรูและ
             ้               ..... ......      ................................      .....
 ชำานาญงาน                                     ................................
                                               ................................
                                               ................................
                             ....... ......... ................................      .......
2. การบริหารการ              ..... ......      ................................      .....
 จัดการ                                        ................................
คะแ      ประเมิ                                        คะแ
                          นน        นใน             เหตุผ ลในการ                 นนที่
    องค์ป ระกอบ
                          เต็ม     อัน ดับ            พิจ ารณา                    ได้
                                                                                  รับ
                                       ................................
                                       ................................
                                       ................................
                                       ................................
                     ....... ......... ................................          .......
3. การสือสารและ
        ่            ..... ......      ................................          .....
 ปฏิสมพันธ์
      ั                                ................................
                                       ................................
                                       ................................
                                       ................................
                                       ................................
                                       ................................
                                       ................................
องค์ป ระกอบด้า น                       ................................
การคิด และตัด สิน ใจ ....... ......... ................................
แก้ไ ขปัญ หา         ..... ......      ................................          .......
4. การปฏิบัติงานและ                    ................................          .....
   การตัดสินใจแก้ไข                    ................................
   ปัญหา                               ................................
                                       ................................

                          ....... .........
                          ..... ......                                           .......
5. ความท้าทายใน                                                                  .....
   ความคิดหรือความ                            ................................
   คิดสร้างสรรค์                              ................................
                                              ................................
                                              ................................
                                              ................................
                                              ................................
                                              ................................
คะแ      ประเมิ                                      คะแ
                       นน        นใน            เหตุผ ลในการ                นนที่
    องค์ป ระกอบ
                       เต็ม     อัน ดับ           พิจ ารณา                   ได้
                                                                             รับ
องค์ป ระกอบด้า น       ....... ......... ................................
ภาระ                   ..... ......      ................................   .......
ความรับ ผิด ชอบ                          ................................   .....
6. อิสระในการปฏิบัติ                     ................................
   งาน                                   ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ................................
                       ....... ......... ................................
                       ..... ......      ................................   .......
                                         ................................   .....
7. ขอบเขตผลกระทบ                         ................................
   ของงาน                                ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ........................

                       ....... .........
                       ..... ......      ................................ .......
                                         ................................ .....
8. อำานาจที่ได้รับ/                      ................................
   ขอบเขต ความรับ                        ................................
   ผิดชอบ                                ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ................................
                                         ................................
คะแ    ประเมิ                                       คะแ
              นน      นใน            เหตุผ ลในการ                 นนที่
องค์ป ระกอบ
              เต็ม   อัน ดับ           พิจ ารณา                    ได้
                                                                   รับ
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ......... ………..


                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
                               ........................
                               ................................
                               ................................
                               ................................
คะแ    ประเมิ                         คะแ
                      นน      นใน            เหตุผ ลในการ   นนที่
      องค์ป ระกอบ
                      เต็ม   อัน ดับ           พิจ ารณา      ได้
                                                             รับ
                                       ................


รวม                   1,00             รวม
                        0

 สรุป ผลการประเมิน
 ………………………………………………………………………………
 …………………………………………
 ………………………………………………………………………………
 …………………………………………
 ………………………………………………………………………………
 …………………………………………
 ………………………………………………………………………………
 …………………………………………

              ( ) ผ่านการประเมิน
              ( ) ไม่ผ่านการประเมิน


                      (ลงชื่อ)
              …………………………………………………………

 (……………………………………………………….)
                      เลขานุการคณะ
 กรรมการ
                      การกำาหนดตำาแหน่ง
 ระดับสูง
หลัก เกณฑ์ก ารประเมิน ค่า งาน
  สำา หรับ ตำา แหน่ง ที่ม ีล ก ษณะบริห ารและบัง คับ
                             ั
                               บัญ ชา
      หลักเกณฑ์การประเมินค่างานสำาหรับตำาแหน่งที่มีลักษณะบริหาร
และบังคับบัญชานี้ เป็นเกณฑ์ใช้พิจารณาลักษณะหน้าที่ ความรับผิด
ชอบ คุณภาพ ความยุ่งยากของงานในตำาแหน่งสำาหรับผู้ปฏิบัติงานใน
ฐานะหัวหน้างานในระดับต่างๆ รวมทั้งประเมินความรู้ ความสามารถ
และประสบการณ์ที่ตองการใช้ในการปฏิบตงานของตำาแหน่งนันๆด้วย
                    ้                 ั ิ                ้
ทังนี้ โดยมีองค์ประกอบในประเมินค่างาน ดังนี้
  ้
    องค์ป ระกอบด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน
       องค์ประกอบที่ 1 ความรอบรู้และชำานาญงาน
          (150 คะแนน)
       องค์ประกอบที่ 2 การบริหารการจัดการ
          (100 คะแนน)
       องค์ประกอบที่ 3 การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์
          (100 คะแนน)
    องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา
       องค์ประกอบที่ 4 การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไข
       ปัญหา (100 คะแนน)
       องค์ประกอบที่ 5  ความท้าทายในความคิดหรือความคิด
       สร้างสรรค์ (150 คะแนน)
    องค์ป ระกอบด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ
       องค์ประกอบที่ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน
              (100 คะแนน)
       องค์ประกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน
              (150 คะแนน)
       องค์ประกอบที่ 8 อำานาจที่ได้รับ/ขอบเขตความรับผิดชอบ
                   (150 คะแนน)

                                    รวม        1,000 คะแนน

เกณฑ์ก ารกำา หนดระดับ ตำา แหน่ง
คะแนนที่ไ ด้จ ากการ                     ระดับ
           ประเมิน
     ตั้งแต่   360   คะแนนขึ้นไป                 6
     ตั้งแต่   460   คะแนนขึ้นไป                 7
     ตั้งแต่   600   คะแนนขึ้นไป                 8
     ตั้งแต่   760   คะแนนขึ้นไป                 9




1. องค์ป ระกอบด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน
         องค์ประกอบด้านนีพจารณาถึงระดับความความรอบรูและ
                           ้ ิ                        ้
ชำานาญงาน ความรูความสามารถในการบริหารจัดการ และทักษะความ
                ้
สามารถในการติดต่อสือสาร ปฏิสมพันธ์ ทีตองการของตำาแหน่งนันๆ ซึ่ง
                   ่           ั     ่ ้                ้
จำาแนกองค์ประกอบได้ ดังนี้
            1.1 ความรอบรู้แ ละ ชำา นาญงาน (150 คะแนน)
หมายถึง ความรู้ ความชำานาญงาน ซึ่งโดยสภาพของงานนั้นๆ จะ
ต้องมีเพื่อปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบให้สำาเร็จลุล่วงไปได้ และรวม
ถึงระดับและขอบเขตความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพที่จะต้อง
ใช้ โดยมิใช่ความรอบรู้และชำานาญงานเฉพาะตัวบุคคลผู้ดำารง
ตำาแหน่ง ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้
อัน ดั                ความหมาย / สาระ                       คะแน
  บ                                                          น
  A เป็นงานที่ต้องการความรู้ระดับพื้นฐานอาชีพและ             53
       สั่งสมความชำานาญในการทำางานอย่างเป็นระบบ
 A+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ A                  58
 B- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ B แต่ปัจจัย             61
       บางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ
       B
  B    เป็นงานที่ต้องการความรู้ทางวิชาชีพ มีทักษะเฉพาะ       68
       ด้านในทางปฏิบัติทั่วไป
       มีความรอบรู้ชำานาญการในกฎ ระเบียบ หลักการ
       สามารถกำาหนดแนวคิดและระเบียบวิธีปฏิบัติงาน
 B+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ B                  75
อัน ดั                   ความหมาย / สาระ                     คะแน
  บ                                                           น
 C- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ C แต่ปัจจัย              80
       บางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ
       C
  C เป็นงานทีตองการความรอบรู้ ความเชียวชาญใน
                 ่ ้                          ่               89
       ศาสตร์สาขาวิชาในสายอาชีพนันๆ รวมทัง กฎ ระเบียบ
                                      ้             ้
       ทฤษฎี หลักการ มีทกษะเฉพาะด้าน และมีประสบการณ์
                            ั
       สูง สามารถพัฒนากฎระเบียบ หลักเกณฑ์ แนวทาง
       และระบบการทำางาน
 C+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ C                  98
 D- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ D แต่ปัจจัย             104
       บางประการยังไม่สมบูรณ์
       ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C
  D เป็นงานที่ต้องการความรอบรู้ ความเชี่ยวชาญใน              115
       สาขาวิชาในสายอาชีพนั้นๆ สูง มีทกษะและั
       ประสบการณ์ การบริหารจัดการ งานทีมการ บูรณา
                                                ่ ี
       การทังหลักวิชาการ เทคนิค กฎระเบียบ หลักการต่างๆ
              ้
       ทีเกียวข้อง และการพัฒนางานในสาขาอาชีพเฉพาะ
          ่ ่
       ด้าน
 D+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ D                  127
 E- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ E แต่ปัจจัย             135
       บางประการยังไม่สมบูรณ์
       ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E
  E    เป็นงานที่ต้องการความรู้ ความเชียวชาญอย่างลึกซึง
                                          ่              ้   150
       ในทฤษฎี หลักวิชาการ และมีทกษะ ประสบการณ์สง
                                    ั                  ู
       ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพอย่าง
       ยิ่ง ในลักษณะเป็นผูนำาทางวิชาการ หรือเป็นงานที่
                              ้
       ต้องการผูปฏิบตงานทีมความรอบรูอย่างกว้างขวางใน
                  ้    ั ิ      ่ ี     ้
       ศาสตร์สาขาทัวไป และมีประสบการณ์เป็นพิเศษใน
                     ่
       การบริหารแผนเชิงกลยุทธ์

           1.2 การบริห ารการจัด การ (100 คะแนน) หมายถึง
ความรู้ความสามารถในการบริหารการจัดการที่ต้องการของตำาแหน่ง
นั้นๆ โดยพิจารณาลักษณะงานในบทบาทของการบริหารจัดการ ซึ่ง
ต้องคำานึงความยุ่งยากในการวางแผน กำากับ ตรวจสอบ ติดตามการ
ปฏิบัติงาน รวมถึงระดับและขอบเขตของการบริหารจัดการในงาน ซึ่ง
จำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้
อัน ดั                  ความหมาย / สาระ                     คะแน
  บ                                                          น
  A    เป็นงานที่ต้องมีการจัดระเบียบงาน ติดตาม ตรวจ          35
       สอบผลการปฏิบัติงาน
       ตามขั้นตอนระเบียบงานและให้คำาปรึกษาแนะนำาผู้
       ปฏิบัติงานระดับปฏิบัติการจำานวนหนึ่ง
 A+ เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ A            39
 B- เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการในอันดับ B แต่             41
       ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน
       อันดับ B
  B    เป็ นงานที่ ต้ องมี การวางแผน กำา หนดระเบี ยบวิ ธี    46
       การปฏิ บั ติ งาน ติ ดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบติ     ั
       งานตามแผนงาน และให้คำาปรึกษาแนะนำาแก่ผปฏิบติ ู้    ั
       งานจำา นวนหนึ่ ง
 B+ เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ B            50
 C- เป็นงานทีมการบริหารการจัดการในอันดับ C แต่
                  ่ ี                                        53
       ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน
       อันดับ C
  C    เป็นงานที่ต้องมีการวางแผนงาน แผนเงิน แผนคน มี         59
       การจัดการและกำาหนดแผนงาน ระบบงาน สำาหรับ
       งานหลักหลายด้านที่มีลักษณะความยุ่งยากซับซ้อน
       ของงานต่างกัน แต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันและมี
       การตรวจสอบ ติดตาม รวมทั้งให้คำาปรึกษาแนะนำา
       แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาจำานวนมาก
 C+ เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ C            65
 D- เป็นงานทีมการบริหารการจัดการในอันดับ D แต่
                   ่ ี                                       69
       ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน
       อันดับ D
  D    เป็นงานที่ต้องมีการวางแผนงาน แผนเงิน แผนคน มี         77
       การจัดการและกำาหนดแผนงาน ระบบงาน สำาหรับ
       งานหลักที่มีความหลากหลาย หลักวิชาการ เทคนิค
       การปฏิบัติงาน และมีลักษณะความยุ่งยากซับซ้อน
อัน ดั                 ความหมาย / สาระ                         คะแน
  บ                                                             น
         ของงานสูงมาก หรืองานหลักที่มีภารกิจและปริมาณ
         งานสูงมาก และมีระบบ กระบวนการทำางานที่เป็น
         ระบบต่อเนืองสัมพันธ์กน และแสดงผลสัมฤทธิของงาน
                       ่          ั                     ์
         ได้โดยเบ็ดเสร็จ มีการควบคุม ตรวจสอบ มอบหมาย
         งานบั งคั บบั ญชาผู้ ใต้ บั งคั บบั ญชาจำา นวนมาก
 D+      เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ D          85
 E-      เป็นงานทีมการบริหารการจัดการในอันดับ E แต่ปจจัย
                   ่ ี                                     ั    90
         บางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E
  E      เป็นงานที่ต้องมีการควบคุม หรือกำากับประสาน            100
         ติดตามผลงานตามแผนงานโครงการส่วนราชการ
         ระดับกองขึ้นไปหลายหน่วย รวมทั้งให้คำาปรึกษา
         แนะนำา เพือผลักดัน เร่งรัดให้การปฏิบตงานบรรลุผล
                     ่                            ั ิ
         สัมฤทธิตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ
                ์

           1.3 การสื่อ สารและปฏิส ัม พัน ธ์ (100 คะแนน)
หมายถึง ทักษะความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น หรือการ
ทำางานร่วมกับผู้อื่นหรือการให้ผู้อื่นร่วมทำางานให้ โดยพิจารณาถึง
วัตถุประสงค์ของการติดต่อสือสาร รวมทังระดับและขอบเขตของการ
                           ่             ้
ติดต่อสือสาร ซึงจำาแนกเป็นระดับได้
        ่      ่
ดังนี้
อัน ดั                 ความหมาย / สาระ                      คะแน
  บ                                                          น
  A    เป็นงานที่ ต้องใช้มนุษยสัมพั นธ์ขั้ นพื้ นฐาน เพื่ อ  35
       การติดต่อประสานงานกั บ
       ผู้ ร่วมงาน หรือหน่วยงานอื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข้องหรือ
       ประชาชนผู้ รับบริการ
 A+ เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ        39
       A
 B- เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ในอันดับ B แต่       41
       ปัจจัยบางประการยัง
       ไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ B
  B    เป็นงานทีตองให้ขอเสนอแนะข้อคิดเห็นแก่ผปฏิบติ
                  ่ ้    ้                          ู้   ั   46
       งาน มีการติดต่อประสานงานด้านข้อมูล ให้ขอมูลกับ  ้
อัน ดั                 ความหมาย / สาระ                         คะแน
  บ                                                             น
         หน่วยงานและผูมสวนเกียวข้องทังภายในและ
                                      ้ ี ่ ่     ้
         ภายนอกหน่วยงาน รวมทั้งการให้ข้อเท็จจริงเกี่ยว
         กับปัญหาพร้อมข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะกับ
         บุคคล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 B+      เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ B    50
 C-      เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ในอันดับ C         53
         แต่ปัจจัยบางประการยัง
         ไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C
  C      เป็นงานทีต้องใช้ทกษะในการชักจูงโน้มน้าวผูร่วมงาน
                    ่                   ั           ้           59
         ทังในระดับผูบังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชารวมทั้ง
            ้                   ้
         ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน
         เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของงาน และมีทักษะที่จะโน้ม
         น้าวสร้างความเข้าใจในประเด็นสำาคัญในการชักจูง
         เจรจาต่อรองกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
 C+      เป็นงานทีมีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ C
                      ่                                         65
 D-      เป็นงานทีมีการสือสารและปฏิสมพันธ์ในอันดับ D แต่
                        ่         ่           ั                 69
         ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน
         อันดับ D
 D       เป็นงานที่ต้องใช้ทักษะในการกระตุ้นและชักจูง            77
         เจรจาต่อรองโน้มน้าวในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นทั้ง
         ภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อสร้างความเข้าใจ
         ความร่วมมือในการดำาเนินการใดๆ หรือแก้ไข
         ปัญหาในประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ
D+       เป็นงานทีมีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ D
                          ่                                     85
E-       เป็นงานทีมการสือสารและปฏิสมพันธ์ในอันดับ E แต่
                            ่ ี     ่           ั               90
         ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน
         อันดับ E
  E      เป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะในการกระตุ้นชักจูง โน้ม       100
         น้าวผู้อื่นให้เปลี่ยนความคิดหรือทัศนคติเพื่อให้
         ภารกิจบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ สร้างความ
         เปลี่ยนแปลงในการทำางานในระดับยุทธศาสตร์ของ
         ส่วนราชการ
2. องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ข
ปัญ หา
            องค์ประกอบด้านนี้พิจารณาถึงระดับในการคิดและการ
ตัดสินใจที่ต้องการ
ของตำาแหน่งนั้นๆโดยพิจารณาระดับความเป็นอิสระในการคิดและ
ตัดสินใจตามสภาพแวดล้อม
ของสถานการณ์ของปัญหา รวมทั้งความท้าท้ายในการคิดและพัฒนา
สิ่งใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นในงาน โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้
            2.1 การปฏิบ ัต ิง านและการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา
(100 คะแนน) หมายถึง ระดับ ขอบเขต แนวทางของการปฏิบัติงาน
หรือการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในงานของตำาแหน่งนั้นๆ ซึ่งจำาแนกเป็น
ระดับได้ ดังนี้

อัน ดั                ความหมาย / สาระ                  คะแน
  บ                                                     น
  A    การปฏิบัติงานและการตัดสินใจอยู่ภายใต้ระเบียบ     35
       แนวทางปฏิบัติ ระบบงานและมาตรฐานงานของ
       หน่วยงาน
 A+ การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า        39
       อันดับ A
 B- การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาใน             41
       อันดับ B แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
       พิจารณาอยู่ในอันดับ B
  B    การปฏิบัติงานและการตัดสินใจอยู่ภายใต้            46
       วัตถุประสงค์หลักของกอง โดยต้องใช้วิชาการหรือ
       วิชาชีพและประสบการณ์ในการตัดสินใจหรือการ
       แก้ปัญหาในงานที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับ
       สถานการณ์
 B+ การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า        50
       อันดับ B
 C- การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาใน             53
       อันดับ C แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
       พิจารณาอยู่ในอันดับ C
  C    การปฏิบัติงานและการตัดสินใจอยู่ภายใต้            59
อัน ดั                 ความหมาย / สาระ                      คะแน
  บ                                                          น
         วัตถุประสงค์ แผนงาน โครงการของหน่วยงานระดับ
         กอง/สูงกว่ากอง โดยต้องใช้วชาการหรือวิชาชีพใน
                                         ิ
         การตัดสินใจ กำาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงาน แผน
         ปฏิบัติการ รวมทั้งการแก้ไขปัญหางานที่ยุ่งยาก
 C+      การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า        65
         อันดับ C
 D-      การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาใน             69
         อันดับ D แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
         พิจารณาอยู่ในอันดับ D
 D       การปฏิบัติงานและการตัดสินใจภายใต้กรอบ               77
         ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการระดับกรม โดยต้องใช้
         วิชาการหรือวิชาชีพ พร้อมทักษะการเป็นผู้นำาใน
         การตัดสินใจกำาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงาน แผน
         ปฏิบัติการรวมทั้งแก้ไขปัญหางานที่มีความหลาก
         หลายทั้งในเนื้อหา เทคนิค วิชาการ กระบวนการ
         ของงาน
 D+      การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า        85
                      อันดับ D
 E-      การปฏิบตงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในอันดับ
                    ั ิ                                      90
         E แต่ปจจัยบางประการ
                  ั
         ยั งไม่ สมบู รณ์ ที่ จะพิ จารณาอยู่ ในอั นดั บ E
  E      การปฏิบัติงานและการตัดสินใจโดยอิสระ การปรับ        100
         แนวทางการปฏิบัติงานอยู่ภายใต้กรอบนโยบายและ
         ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง

             2.2 ความท้า ทายในความคิด หรือ ความคิด
สร้า งสรรค์ (150 คะแนน) หมายถึง ระดับความท้าทายของความ
คิดหรือความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในงานของตำาแหน่งนั้นๆ โดย
มิใช่พิจารณาที่ความสามารถในการคิดของบุคคลที่ดำารงตำาแหน่ง
ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้
อัน ดั                  ความหมาย/สาระ                    คะแน
   บ                                                      น
   A     เป็นงานที่ต้องใช้ความคิดริเริ่มบ้าง และมีการคิด  53
อัน ดั                  ความหมาย/สาระ                         คะแน
  บ                                                            น
         วิเคราะห์ในการปฏิบัติงาน
 A+      ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง           58
         กว่าอันดับ A
 B-      ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน            61
         อันดับ B แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
                         ั
         พิจารณาอยู่ในอันดับ B
  B      เป็นงานที่มีปัญหาซึ่งต้องแก้ไขค่อนข้างบ่อย ต้องใช้    68
         ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ค้นหาแนวทางใหม่ในการ
         ทำางาน
 B+      ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง           75
         กว่าอันดับ B
 C-      ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน            80
         อันดับ C แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
                           ั
         พิจารณาอยู่ในอันดับ C
  C      เป็นงานที่ต้องใช้ความคิด ประสบการณ์ ความ              89
         ชำานาญ และประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการ
         วิเคราะห์และตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสมใน
         สถานการณ์ที่มีความหลากหลาย
 C+      ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง           98
         กว่าอันดับ C
 D-      ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน           104
         อันดับ D แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
                             ั
         พิจารณาอยู่ในอันดับ D
 D       เป็นงานที่ต้องใช้ทักษะ การคิดวิเคราะห์และตีความ      115
         และการคิดเชิงสร้างสรรค์ รวมทั้งการใช้ดุลยพินิจ
         ในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดใน
         สถานการณ์/ปัญหาที่ยุ่งยาก ซับซ้อนหรือปัญหาที่
         ไม่เคยเกิดมาก่อน และพัฒนาแนวคิดและวิธีการใหม่
D+       ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง          127
         กว่าอันดับ D
 E-      ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน           135
         อันดับ E แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
                       ั
         พิจารณาอยู่ในอันดับ E
อัน ดั                 ความหมาย/สาระ                    คะแน
  บ                                                       น
  E    เป็นงานที่ต้องใช้ทักษะ การคิดวิเคราะห์เชิง        150
       สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ หรือวิธีการ
       ใหม่ๆ ให้เกิดความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่
       สามารถนำามาปรับใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และ
       พัฒนาต่อยอดไปได้อย่างต่อเนื่อง และบูรณาการ
       ภารกิจในระดับนโยบาย/ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง
       ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ




3. องค์ป ระกอบด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ
          องค์ประกอบด้านนี้พิจารณาระดับภาระความรับผิดชอบ
ซึ่งพิจารณาจากความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน รวมทั้งขนาดและ
ขอบเขตของผลกระทบของงานที่เป็นภาระความรับผิดชอบ ตลอดจน
อำานาจหน้าที่ในขอบเขตความรับผิดชอบของตำาแหน่งนั้นๆ โดยมี
องค์ประกอบ ดังนี้
          3.1 อิส ระในการปฏิบ ัต ิง าน (100 คะแนน) หมายถึง
ความเป็นอิสระในการทำางาน หรือกรอบการปฏิบัติงาน หรือการ
กำากับตรวจสอบที่ได้รับ ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้

อัน ดั              ความหมาย / สาระ                     คะแน
  บ                                                      น
  A เป็นงานที่มีอิสระในระดับผลสัมฤทธิ์เชิงปฏิบัติการ     35
       โดยดำาเนินการตามขั้นตอนหรือข้อปฏิบัติที่กำาหนด
       ไว้เป็นมาตรฐาน หรือเป็นการปฏิบัติงานตามคำาสั่ง
       มีการควบคุม กำากับ ตรวจสอบในส่วนของความ
       ก้าวหน้าและผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
 A+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ A              39
 B- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ B แต่ปัจจัย         41
       บางประการยังไม่สมบูรณ์
       ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ B
อัน ดั                     ความหมาย / สาระ              คะแน
  บ                                                       น
  B    เป็นงานที่มีอิสระในระดับผลสัมฤทธิ์เชิงปฏิบัติการ   46
       โดยดำาเนินการตามแนวทางหรือหลักเกณฑ์ภายใต้
       คำาแนะนำาในบางกรณี แต่สามารถปรับปรุง
       เปลี่ยนแปลงได้บ้างตามความเหมาะสมในสถานกา
       รณ์นั้นๆ ได้ มีการ ตรวจสอบในส่วนของความ
       ก้าวหน้าและผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
 B+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ B               50
 C- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ C แต่ปัจจัย          53
       บางประการยังไม่สมบูรณ์
       ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C
  C เป็นงานที่มีอิสระในระดับผลสัมฤทธิ์เชิงบริหาร          59
       จัดการ โดยดำาเนินการตามที่ได้กำาหนดทิศทางไว้
       เฉพาะภายใต้ภารกิจของส่วนราชการ มีอิสระใน
       การบริหารจัดการ ให้คำาแนะนำา กำากับตรวจสอบ
       ของหน่วยงาน โดยมีการควบคุม ตรวจสอบผลงาน
       ในระดับผลสัมฤทธิ์
 C+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ C               65
 D- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ D แต่ปัจจัย          69
       บางประการยังไม่สมบูรณ์
       ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ D
  D เป็นงานทีมอสระในระดับผลสัมฤทธิเชิงบริหารจัดการ
                   ่ ี ิ                 ์                77
       โดยมีการกำาหนดทิศทางการดำาเนินการไว้อย่างกว้าง
       มีอิสระในการบริหารจัดการงานที่มีความหลากหลาย
       ซับซ้อนของเนืองาน เทคนิค และกระบวนการทำางาน
                         ้
       ภายใต้ทศทางและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการระดับ
                ิ
       กรม
 D+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ D               85
 E- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ E แต่ปัจจัย          90
       บางประการยังไม่สมบูรณ์
       ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E
  E    เป็นงานทีมอสระในระดับผลสัมฤทธิเชิงกลยุทธ์ โดยมี
                  ่ ี ิ                ์                 100
       การกำาหนดแนวทางอย่างกว้าง สามารถปฏิบตงานเป็น
                                                ั ิ
       อิสระในการกำาหนดกลยุทธ์การปฏิบตงาน และปรับ
                                           ั ิ
อัน ดั               ความหมาย / สาระ                  คะแน
  บ                                                    น
         เปลียนแนวทางการดำาเนินการในระดับยุทธศาสตร์
             ่
         ของส่วนราชการระดับกรม และนโยบายของส่วน
         ราชการระดับกระทรวง

          3.2 ขอบเขตผลกระทบ ของงาน (150 คะแนน)
หมายถึง ระดับหรือขอบเขต
ของผลกระทบจากงานในตำาแหน่งนันๆ ต่อการบรรลุวตถุประสงค์ตาม
                              ้                ั
ภารกิจหลักของหน่วยงาน ซึงจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้
                        ่
อัน ดั               ความหมาย / สาระ                 คะแน
  บ                                                    น
  A การดำาเนินงานส่งผลกระทบบางส่วนต่อการบรรลุ         53
       วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักของหน่วยงานระดับกอง
 A+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ A                58
 B- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ B แต่ปัจจัยบาง        61
       ประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ B
  B    การดำาเนินงานส่งผลกระทบต่อการบรรลุ             68
       วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลัก
       ของหน่วยงานระดับกอง/สูงกว่ากอง
 B+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ B                75
 C- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ C แต่ปัจจัยบาง        80
       ประการยังไม่สมบูรณ์
       ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C
  C การดำาเนินงานส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบรรลุ          89
       วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักของหน่วยงานระดับ
       กอง/สูงกว่ากอง หรือส่งผลต่อผลการดำาเนินงาน
       โดยรวมของหน่วยงาน
 C+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ C                98
 D- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ D แต่ปัจจัยบาง 104
       ประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ D
  D การดำาเนินงานส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบรรลุ          115
       วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักและการวางกลยุทธ์ของ
       กรม
อัน ดั               ความหมาย / สาระ                    คะแน
  บ                                                       น
 D+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ D                   127
 E- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ E แต่ปัจจัยบาง           135
       ประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E
  E    การดำาเนินงานส่งผลกระทบต่อการบรรลุ               150
       วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลัก
       ของส่วนราชการ และการวางกลยุทธ์ของกระทรวง
       และอาจมีผลกระทบต่อการดำาเนินการของส่วน
       ราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

        3.3 อำา นาจที่ไ ด้ร ับ /ขอบเขตความรับ ผิด ชอบ
(150 คะแนน) หมายถึง ขอบเขตอำานาจในการดำาเนินงาน หรือ
ขอบเขตความรับผิดชอบของตำา แหน่ง นั้นๆ ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้
ดังนี้

อัน ดั                 ความหมาย/สาระ                    คะแน
  บ                                                      น
  A มีอำานาจในการมอบหมายงาน ควบคุม ตรวจสอบ ผล            53
       งานของเจ้าหน้าทีภายใต้บังคับบัญชาจำานวนหนึง มี
                       ่                         ่
       ระเบียบแนวทางปฏิบตงานทีกำาหนดเป็นมาตรฐานของ
                          ั ิ     ่
       หน่วยงาน
 A+ อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า        58
       อันดับ A
 B- อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน             61
       อันดับ B แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
       พิจารณาอยู่ในอันดับ B
  B มีอำานาจในการมอบหมายงาน ตัดสินใจ แก้ปญหาตามั         68
       แนวทางทีหน่วยงานกำาหนดไว้กว้าง ๆ และควบคุม
                ่
       ตรวจสอบ ผลงานของเจ้าหน้าทีภายใต้บงคับบัญชา
                                      ่     ั
       จำานวนหนึง ่
 B+ อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า        75
       อันดับ B
 C- อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน             80
       อันดับ C แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
อัน ดั                 ความหมาย/สาระ                      คะแน
  บ                                                        น
         พิจารณาอยู่ในอันดับ C
  C      มีอำานาจในการวางแผนกำาหนดแนวทางการทำางาน          89
         ตามแผนปฏิบัติการตาม นโยบายของหน่วยงานมอบ
         หมายงาน และควบคุม กำากับ ตรวจสอบ รวมทั้ง
         ใช้ดุลยพินิจในแก้ไขปัญหางานที่มีลักษณะเป็นงาน
         ยุ่งยาก แก่เจ้าหน้าที่ผู้อยู่
         ใต้บังคับบัญชาจำานวนหนึ่ง
 C+      อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า     98
         อันดับ C
 D-      อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน         104
         อันดับ D แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
         พิจารณาอยู่ในอันดับ D
 D       มีอำานาจในการวางแผน กำาหนดแนวทางการทำางาน        115
         ตามแผนปฏิบตการ นโยบายของหน่วยงาน มอบ
                       ั ิ
         หมายและควบคุม กำากับ ตรวจสอบ รวมทั้งใช้
         ดุลยพินิจในการตัดสินใจแก้ไขปัญหางานที่มี
         ลักษณะงานของภารกิจหลักที่สำาคัญ หรือภารกิจ
         หลักที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนมากและมีผลกระทบต่อ
         ความสำาเร็จ ของงานตามแผนปฏิบัติการ /
         ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน         ระดับกรม
D+       อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า    127
         อันดับ D
 E-      อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน         135
         อันดับ E แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
         พิจารณาอยู่ในอันดับ E
  E      มีอำานาจในการวางแผนกลยุทธ์ กำาหนดแผนปฏิบติ   ั   150
         การ ตามนโยบายยุทธศาสตร์ของหน่วยงานระดับ
         กระทรวง มอบหมายและควบคุม กำากับตรวจสอบการ
         ปฏิบตหน่วยงานในความรับผิดชอบตามแผนกลยุทธ์
              ั ิ
         รวมทั้งการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจปรับเปลี่ยน
         แผนกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามยุทธศาสตร์
         ของส่วนราชการระดับกระทรวง
หลัก เกณฑ์ก ารประเมิน ค่า งาน
สำา หรับ ตำา แหน่ง ทีไ ม่ใ ช่ล ัก ษณะบริห ารและบัง คับ
                     ่
                         บัญ ชา
       หลักเกณฑ์การประเมินค่างานสำาหรับตำาแหน่งที่ไม่ใช่ลักษณะ
บริหารและบังคับบัญชานี้ เป็นเกณฑ์ใช้พิจารณาลักษณะหน้าที่
ความรับผิดชอบ คุณภาพ ความยุ่งยากของงานในตำาแหน่งสำาหรับผู้
ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์หรือตำาแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะหรือ
วิชาชีพเฉพาะในส่วนราชการ รวมทังการประเมินความรู้ ความ
                                    ้
สามารถ และประสบการณ์ทตองการใช้ในการปฏิบตงานของตำาแหน่ง
                             ี่ ้             ั ิ
นันๆ ด้วย ทั้งนี้ ได้แบ่งองค์ประกอบในการประเมินค่างาน ดังนี้
  ้
      องค์ป ระกอบด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน
        องค์ประกอบที่ 1 ความรอบรู้และชำานาญงาน
          (200 คะแนน)
        องค์ประกอบที่ 2 การบริหารการจัดการ
          (100 คะแนน)
        องค์ประกอบที่ 3 การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์
          (100 คะแนน)
      องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา
         องค์ประกอบที่ 4 การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไข
ปัญหา     (100 คะแนน)
         องค์ประกอบที่ 5 ความท้าทายในความคิดหรือความคิด
    สร้างสรรค์ (150 คะแนน) องค์ป ระกอบด้า นภาระความ
    รับ ผิด ชอบ
         องค์ประกอบที่ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน
    (100 คะแนน)
         องค์ประกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน
    (150 คะแนน)
         องค์ประกอบที่ 8 อำานาจที่ได้รับ/ขอบเขตความรับผิดชอบ
          (100 คะแนน)

                                    รวม       1,000 คะแนน

เกณฑ์ก ารกำา หนดระดับ ตำา แหน่ง
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนSuthee Saritsiri
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัดAuamporn Junthong
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Nawaponch
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสารdnavaroj
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557Kamol Khositrangsikun
 
หนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่น
หนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่นหนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่น
หนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่นวีรวุฒิ แก้วปรีชา
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
หนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาหนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาBundit Umaharakham
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 

Mais procurados (20)

คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียน
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัด
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
หนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่น
หนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่นหนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่น
หนังสือแจ้งให้เข้ารับการอบรม จ.ขอนแก่น
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
หนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาหนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนา
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 

Destaque (8)

ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluation
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
นำเสนอผ่านเพจ
นำเสนอผ่านเพจนำเสนอผ่านเพจ
นำเสนอผ่านเพจ
 
Hay jobs evaluation
Hay jobs evaluationHay jobs evaluation
Hay jobs evaluation
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 

Semelhante a 9 ประเมินค่างาน

bththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdf
bththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdfbththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdf
bththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdfssuserabfd48
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional1clickidea
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละอองใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละอองอองเอง จ้า
 
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9 maruay songtanin
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงCharming Love
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53pthaiwong
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 

Semelhante a 9 ประเมินค่างาน (20)

bththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdf
bththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdfbththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdf
bththii_4_kaarpraeminkhaangaandfgdgdg..pdf
 
Tqm1
Tqm1Tqm1
Tqm1
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
Competency
CompetencyCompetency
Competency
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคลวุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
 
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละอองใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
 
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 

Mais de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

Mais de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 

9 ประเมินค่างาน

  • 1. บทที่ 9 การประเมิน ค่า งาน กรรณิก า ปัญ ญา อมรวัฒ น์ หัว หน้า พยาบาล รพ.ชัย บาดาล จ.ลพบุร ี รองเลขาธิก ารสภาการ พยาบาล หลัก การและเหตุผ ล พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 40 และ มาตรา 44 ได้กำาหนดหลักการการมอบอำานาจการ กำาหนดตำาแหน่งให้องค์กรหรือส่วนราชการดำาเนินการแทน ก.พ. ได้ ตามหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และวิธีการที่ ก.พ. กำาหนด ซึ่ง ก.พ. ได้ มอบอำานาจการกำาหนดตำาแหน่งระดับ 8 ลงมา ตามหนังสือสำานักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 18 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2547 และ ที่ นร 1008/ว 5 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2549 และมอบอำานาจการกำาหนด ตำาแหน่งระดับ 9 ตามหนังสือสำานักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 1 ลง วันที่ 26 มกราคม 2550 ทั้งนี้ เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งให้ส่วนราชการและเพื่อรองรับการกระจายอำานาจกา รกำาหนดตำาแหน่งตามแนวทางระบบจำาแนกตำาแหน่งและค่าตอบแทน ใหม่ โดยทีมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัตระเบียบข้าราชการ ่ ิ พลเรือน พ.ศ. 2535 ดังกล่าว ได้กำาหนดหลักเกณฑ์การจำาแนก ตำาแหน่งตามหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงานไว้ เป็น 11 ระดับ การที่ส่วนราชการจะกำาหนดตำาแหน่งใด ระดับใด จำานวน เท่าใด ต้องพิจารณาถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงาน ของตำาแหน่ง ตามภารกิจของส่วนราชการ โดยให้เป็นไปตามหลัก เกณฑ์การกำาหนดตำาแหน่งดังกล่าว ดังนัน ในการมอบอำานาจการ ้ กำาหนดตำาแหน่ง ก.พ. จึงกำาหนดแนวทางการประเมินค่างานเพื่อเป็น เครื่องมือในการวิเคราะห์การกำาหนดตำาแหน่งในส่วนราชการ หลัก เกณฑ์ก ารประเมิน ค่า งาน การประเมินค่างานเป็นวิธีการดำาเนินการอย่างเป็นระบบใน การจัดลำาดับชั้นงาน (Ranking) เพื่อตีค่างานได้อย่างสมเหตุสมผล และเป็นธรรม โดยนำางานมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกัน หรือเปรียบเทียบ
  • 2. ลักษณะงานขนาด และคุณภาพความยุงยากของงานทีเป็นอยูปจจุบน ่ ่ ่ ั ั ภายใต้องค์ประกอบหรือปัจจัยการประเมินทีมระดับการวัด (Scale) ที่ ่ ี กำาหนดไว้เป็นมาตรฐาน เพือการกำาหนดระดับตำาแหน่งของงานต่างๆ ่ ได้ สำาหรับหลักเกณฑ์การประเมินค่างานนี้ ก.พ. กำาหนดไว้ 2 ลักษณะ คือ 1) ตำา แหน่ง ที่ม ีล ัก ษณะบริห ารและบัง คับ บัญ ชา เป็นการประเมินค่างานของตำาแหน่งทีปฏิบตงานในฐานะหัวหน้าหน่วย ่ ั ิ งาน ตังแต่หวหน้างานระดับต้นจนถึงผูบริหารในส่วนราชการ เช่น ้ ั ้ ตำาแหน่งหัวหน้างาน ตำาแหน่งหัวหน้าฝ่าย ตำาแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ตำาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานระดับกอง (บก.) และตำาแหน่งหัวหน้าหน่วย งานสูงกว่ากอง (บส.) 2) ตำา แหน่ง ทีม ใ ช่ล ก ษณะบริห ารและบัง คับ บัญ ชา ่ ิ ั เป็นการประเมินค่างานของตำาแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ว) ตำาแหน่งสำาหรับลักษณะงานวิชาชีพเฉพาะ (วช.) และตำาแหน่ง สำาหรับลักษณะงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (ชช.)ที่มีในส่วนราชการ องค์ป ระกอบในการประเมิน ค่า งาน หลักเกณฑ์การประเมินค่างานเป็นแนวทางทีใช้ในการ ่ พิจารณาลักษณะหน้าทีความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุงยากของ ่ ่ งานในตำาแหน่ง สำาหรับตำาแหน่งผูปฏิบตงานในฐานะหัวหน้าส่วน ้ ั ิ ราชการในระดับต่างๆ และตำาแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ หรือ ตำาแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ หรือเชียวชาญเฉพาะ รวมทังการ ่ ้ ประเมินความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทตองการใช้ในการ ี่ ้ ปฏิบตงานของตำาแหน่งนันๆ ด้วย ทังนี้ ได้กำาหนดองค์ประกอบการ ั ิ ้ ้ ประเมินค่างานไว้ 3 ด้าน ประกอบด้วยองค์ประกอบ 8 องค์ประกอบ ซึ่ งสะท้อนให้เห็น คุณภาพ ความยุ่งยากของงานของตำาแหน่งนั้น เพื่อ การกำาหนดระดับตำาแหน่งได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรม ดังนี้ 1. องค์ป ระกอบหลัก ด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน องค์ป ระกอบที่ 1 ความรอบรู้และชำานาญงาน องค์ป ระกอบที่ 2 การบริหารการจัดการ องค์ป ระกอบที่ 3 การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์
  • 3. 2. องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ข ปัญ หา องค์ป ระกอบที่ 4 การปฏิบัติงานและการตัดสินใจ แก้ไขปัญหา องค์ป ระกอบที่ 5 ความท้าทายในความคิดหรือความ คิดสร้างสรรค์ 3. องค์ป ระกอบด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ องค์ป ระกอบที่ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน องค์ป ระกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน องค์ป ระกอบที่ 8 อำานาจที่ได้รับ/ขอบเขตความรับ ผิดชอบ โดยมีร ายละเอีย ด ดัง นี้ 1. ด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน : องค์ ประกอบด้านนี้พิจารณาถึงระดับความรอบรู้ และชำานาญงาน ความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ และทักษะ ความสามารถ ในการติดต่อสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ ที่ต้องการของตำาแหน่งนั้นๆ ซึ่ง จำาแนกองค์ประกอบได้ ดังนี้ องค์ป ระกอบที่ 1 ความรอบรู้แ ละชำา นาญงาน : ความรู้ ความชำานาญงาน ซึ่งโดยสภาพของงานนั้นๆ จะต้องมีเพื่อ ปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบให้สำาเร็จลุล่วงไปได้ และรวมถึงระดับ และขอบเขตความรูความเชียวชาญในสาขาวิชาชีพทีจะต้องใช้ โดย ้ ่ ่ มิใช่ความรอบรูและชำานาญงานเฉพาะตัวบุคคลผู้ดำารงตำาแหน่ง ้ องค์ป ระกอบที่ 2 การบริห ารการจัด การ : ความรู้ความสามารถในการบริหารการจัดการทีตองการของตำาแหน่ง ่ ้ นันๆ โดยพิจารณาลักษณะงานในบทบาทของการบริหารจัดการ ซึง ้ ่ ต้องคำานึงถึงความยุ่งยากในการวางแผน กำากับ ตรวจสอบ ติดตาม การปฏิบัติงาน ความหลากหลายในเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของ งาน รวมถึงระดับและขอบเขตของการบริหารจัดการในงาน องค์ป ระกอบที่ 3 การสื่อ สารและปฏิส ัม พัน ธ์ : ทักษะความสามารถในการ ติดต่อสือสารกับผูอน หรือการทำางานร่วม ่ ้ ื่ กับผูอนหรือการให้ผอนร่วมทำางาน โดยพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของ ้ ื่ ู้ ื่
  • 4. การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งระดับและขอบเขตของการติดต่อสื่อสาร 2. ด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา : องค์ ประกอบด้านนี้พจารณาถึงระดับในการคิดและการตัดสินใจทีตองการ ิ ่ ้ ของตำาแหน่งนันๆ โดยพิจารณาระดับความเป็นอิสระในการคิดและ ้ ตัดสินใจตามสภาพแวดล้อมของสถานการณ์ของปัญหา รวมทังความ ้ ท้าท้ายในการคิดและพัฒนาสิงใหม่ๆ ให้เกิดขึนในงาน ซึ่งจำาแนกองค์ ่ ้ ประกอบได้ ดังนี้ องค์ป ระกอบที่ 4 การปฏิบ ต ง านและการตัด สิน ใจ ั ิ แก้ไ ขปัญ หา : ระดับ ขอบเขต แนวทางของการปฏิบัติงานหรือการ ตัดสินใจแก้ไขปัญหาในงานของตำาแหน่งนั้นๆ อ ง ค์ ป ระกอบที่ 5 ความท้า ทายในความคิด หรือ ความคิด สร้า งสรรค์ : ระดับความท้าทายของความคิดหรือความคิด สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆในงานของตำาแหน่งนั้นๆ โดยมิใช่พิจารณาที่ ความสามารถในการคิดของบุคคลที่ดำารงตำาแหน่ง 3. ด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ : องค์ประกอบด้านนี้ พิจารณาระดับภาระความรับผิดชอบ ซึ่งพิจารณาจากความเป็นอิสระ ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งขนาดและขอบเขตของผลกระทบของงานที่ เป็นภาระความรับผิดชอบ ตลอดจนอำานาจหน้าที่ในขอบเขตความรับ ผิดชอบของตำาแหน่งนั้นๆ ซึ่งจำาแนกองค์ประกอบได้ ดังนี้ องค์ป ระกอบที่ 6 อิส ระในการปฏิบ ัต ิง าน : ความ เป็นอิสระในการทำางาน หรือกรอบการปฏิบัติงาน หรือระดับการ กำากับตรวจสอบที่ได้รับ องค์ป ระกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน : ระดับหรือขอบเขตของผลกระทบจากงานในตำาแหน่งนั้นๆ ต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน องค์ป ระกอบที่ 8 อำา นาจทีไ ด้ร บ /ขอบเขตความ ่ ั รับ ผิด ชอบ : ขอบเขตอำานาจ ในการดำาเนินงาน หรือระดับการได้รับมอบอำานาจในการดำาเนินการ หรือขอบเขตความรับผิดชอบ ของตำาแหน่งนั้นๆ
  • 5. เกณฑ์ก ารกำา หนดระดับ ตำา แหน่ง การกำาหนดค่าคะแนนรวมใน 8 องค์ประกอบดังกล่าว มีคา ่ คะแนนรวม 1,000 คะแนน โดยเกณฑ์การกำาหนดระดับตำาแหน่ง แต่ละระดับมีค่าคะแนนดังนี้ คะแนนที่ไ ด้จ ากการ ระดับ ประเมิน ตั้งแต่ 360 คะแนนขึ้นไป 6 ตั้งแต่ 460 คะแนนขึ้นไป 7 ตั้งแต่ 600 คะแนนขึ้นไป 8 ตั้งแต่ 760 คะแนนขึ้นไป 9 การวิเ คราะห์เ พื่อ ประเมิน ค่า งาน 1. ข้อ มูล ที่ใ ช้ป ระกอบการประเมิน ค่า งาน ในการดำาเนินการวิเคราะห์ตำาแหน่งเพื่อประเมินค่างาน หน่วยงานที่รับผิดชอบจะต้องประมวลข้อมูลรายละเอียดของตำาแหน่ง เพือนำาไปใช้วเคราะห์ตคางาน ซึงประกอบด้วย ่ ิ ี ่ ่ 1.1 นโยบาย กลยุทธ์ ภารกิจ แผนงานโครงการของส่วน ราชการ 1.2 โครงสร้างการจัดส่วนราชการและความสัมพันธ์ ระหว่างหน้าที่ความรับผิดชอบของตำาแหน่งกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ของส่วนราชการที่สังกัด รวมทั้งตำาแหน่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.3 หน้าทีความรับผิดชอบหลักของตำาแหน่ง ปริมาณและ ่ คุณภาพของงานของตำาแหน่งทีจะประเมิน และวัตถุประสงค์ในการ ่ กำาหนดตำาแหน่ง 1.4 ขันตอนและวิธปฏิบตงาน ความยุงยากในการแก้ไข ้ ี ั ิ ่ ปัญหา แนวทางการปฏิบตงาน การใช้ความรูความสามารถ และ ั ิ ้ ประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพในการปฏิบตงาน และขอบเขต ั ิ กำากับตรวจสอบของผูบงคับบัญชา ้ ั 1.5 ผลงาน · สถิติผลงานของตำาแหน่งที่ได้ดำาเนินการที่ผ่านมา
  • 6. · แนวโน้มผลงานและความคุ้มค่าที่คาดว่าจะได้รับ 2. กฎหมายและหลัก เกณฑ์ท ี่เ กี่ย วข้อ ง 2.1 พระราชบัญญัตระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ิ 2535 มาตรา 40 และมาตรา 42 2.2 มาตรฐานกำาหนดตำาแหน่งที่ ก.พ. กำาหนด 2.3 แนวทางและหลักเกณฑ์การกำาหนดตำาแหน่งที่ ก.พ. หรือองค์กรที่ได้รับมอบอำานาจกำาหนด 3. ขั้น ตอนและวิธ ีก ารวิเ คราะห์ 3.1 ตำาแหน่งที่จะนำามาวิเคราะห์จะต้องเป็นตำาแหน่งที่ผ่าน หลักเกณฑ์แนวทางการกำาหนดตำาแหน่งตามที่ ก.พ. หรือองค์กรที่ได้ รับมอบอำานาจกำาหนด และอยู่ในเกณฑ์ที่จะกำาหนดเป็นระดับสูงขึ้นได้ เช่น ตำาแหน่งที่จะนำามาประเมินค่างานในระดับ 9 จะต้องผ่านหลัก เกณฑ์การกำาหนดตำาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่สูงกว่ากอง ระดับ 9 3.2 ศึกษารายละเอียดโครงสร้างการจัดส่วนราชการ ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบของตำาแหน่ง และความสัมพันธ์ของ ตำาแหน่งนั้นกับตำาแหน่งอื่นที่เกี่ยวข้องในโครงสร้างองค์กร รวมทั้ง พิจารณาเทียบเคียงตำาแหน่งที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบในลักษณะ เดียวกันในส่วนราชการอื่น 3.3 วิเคราะห์งานของตำาแหน่งนั้นๆ ในแต่ละองค์ประกอบ ตามเกณฑ์ประเมินค่างานว่าลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ คุณภาพ งานของตำาแหน่ง จัดอยู่ในอันดับใดขององค์ประกอบนั้นๆ โดยแสดง เหตุผลในการพิจารณาให้ชดเจนและมีขอมูลหรือข้อเท็จจริงอ้างอิง ซึง ั ้ ่ เป็นทียอมรับและสอบทานความถูกต้องได้ ่ 3.4 เมื่อประเมินค่างานในทุกองค์ประกอบแล้ว ให้รวม คะแนนทั้งหมดที่ได้รับไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การกำาหนดระดับ ตำาแหน่ง 3.5 ระบุรายละเอียดการวิเคราะห์ลงในแบบประเมินค่างาน พร้อมทั้งสรุปผลการประเมิน ในกรณีทเป็นการประเมินกลุมตำาแหน่งทีมลกษณะงาน ี่ ่ ่ ี ั และหน้าทีความรับผิดชอบเช่นเดียวกันแต่ปฏิบัติงานต่างพื้นที่กัน จะ ่ ต้องมีการประเมินค่างานในเชิงลึก ทั้งนี้ ส่วนราชการอาจกำาหนดองค์ ประกอบย่อย ในแต่ละองค์ประกอบหลักเพิ่มเติมได้ตามลักษณะงาน ของตำาแหน่ง โดยต้องสอดคล้องกับองค์ประกอบหลักนั้นๆ เช่น ตำาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการประจำาจังหวัด
  • 7.
  • 8. แบบประเมิน ค่า งาน ชื่อตำาแหน่ง............................................. ตำาแหน่งเลขที่ ..... ………………………………………… ส่วนราชการที่ สังกัด...................................................................................... .....................……………….. หน้าที่ความรับผิดชอบของตำาแหน่ง ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................ …………………………………………………………………………… …………… คะแ ประเมิ คะแ นน นใน เหตุผ ลในการ นนที่ องค์ป ระกอบ เต็ม อัน ดับ พิจ ารณา ได้ รับ องค์ป ระกอบด้า น ความรู้แ ละทัก ษะที่ จำา เป็น ในงาน ....... ......... ................................ ....... 1. ความรอบรูและ ้ ..... ...... ................................ ..... ชำานาญงาน ................................ ................................ ................................ ....... ......... ................................ ....... 2. การบริหารการ ..... ...... ................................ ..... จัดการ ................................
  • 9. คะแ ประเมิ คะแ นน นใน เหตุผ ลในการ นนที่ องค์ป ระกอบ เต็ม อัน ดับ พิจ ารณา ได้ รับ ................................ ................................ ................................ ................................ ....... ......... ................................ ....... 3. การสือสารและ ่ ..... ...... ................................ ..... ปฏิสมพันธ์ ั ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ องค์ป ระกอบด้า น ................................ การคิด และตัด สิน ใจ ....... ......... ................................ แก้ไ ขปัญ หา ..... ...... ................................ ....... 4. การปฏิบัติงานและ ................................ ..... การตัดสินใจแก้ไข ................................ ปัญหา ................................ ................................ ....... ......... ..... ...... ....... 5. ความท้าทายใน ..... ความคิดหรือความ ................................ คิดสร้างสรรค์ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................
  • 10. คะแ ประเมิ คะแ นน นใน เหตุผ ลในการ นนที่ องค์ป ระกอบ เต็ม อัน ดับ พิจ ารณา ได้ รับ องค์ป ระกอบด้า น ....... ......... ................................ ภาระ ..... ...... ................................ ....... ความรับ ผิด ชอบ ................................ ..... 6. อิสระในการปฏิบัติ ................................ งาน ................................ ................................ ................................ ................................ ....... ......... ................................ ..... ...... ................................ ....... ................................ ..... 7. ขอบเขตผลกระทบ ................................ ของงาน ................................ ................................ ................................ ........................ ....... ......... ..... ...... ................................ ....... ................................ ..... 8. อำานาจที่ได้รับ/ ................................ ขอบเขต ความรับ ................................ ผิดชอบ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................
  • 11. คะแ ประเมิ คะแ นน นใน เหตุผ ลในการ นนที่ องค์ป ระกอบ เต็ม อัน ดับ พิจ ารณา ได้ รับ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ......... ……….. ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ........................ ................................ ................................ ................................
  • 12. คะแ ประเมิ คะแ นน นใน เหตุผ ลในการ นนที่ องค์ป ระกอบ เต็ม อัน ดับ พิจ ารณา ได้ รับ ................ รวม 1,00 รวม 0 สรุป ผลการประเมิน ……………………………………………………………………………… ………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………………………………………… ( ) ผ่านการประเมิน ( ) ไม่ผ่านการประเมิน (ลงชื่อ) ………………………………………………………… (……………………………………………………….) เลขานุการคณะ กรรมการ การกำาหนดตำาแหน่ง ระดับสูง
  • 13. หลัก เกณฑ์ก ารประเมิน ค่า งาน สำา หรับ ตำา แหน่ง ที่ม ีล ก ษณะบริห ารและบัง คับ ั บัญ ชา หลักเกณฑ์การประเมินค่างานสำาหรับตำาแหน่งที่มีลักษณะบริหาร และบังคับบัญชานี้ เป็นเกณฑ์ใช้พิจารณาลักษณะหน้าที่ ความรับผิด ชอบ คุณภาพ ความยุ่งยากของงานในตำาแหน่งสำาหรับผู้ปฏิบัติงานใน ฐานะหัวหน้างานในระดับต่างๆ รวมทั้งประเมินความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่ตองการใช้ในการปฏิบตงานของตำาแหน่งนันๆด้วย ้ ั ิ ้ ทังนี้ โดยมีองค์ประกอบในประเมินค่างาน ดังนี้ ้ องค์ป ระกอบด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน องค์ประกอบที่ 1 ความรอบรู้และชำานาญงาน (150 คะแนน) องค์ประกอบที่ 2 การบริหารการจัดการ (100 คะแนน) องค์ประกอบที่ 3 การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ (100 คะแนน) องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา องค์ประกอบที่ 4 การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไข ปัญหา (100 คะแนน) องค์ประกอบที่ 5 ความท้าทายในความคิดหรือความคิด สร้างสรรค์ (150 คะแนน) องค์ป ระกอบด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ องค์ประกอบที่ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน (100 คะแนน) องค์ประกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน (150 คะแนน) องค์ประกอบที่ 8 อำานาจที่ได้รับ/ขอบเขตความรับผิดชอบ (150 คะแนน) รวม 1,000 คะแนน เกณฑ์ก ารกำา หนดระดับ ตำา แหน่ง
  • 14. คะแนนที่ไ ด้จ ากการ ระดับ ประเมิน ตั้งแต่ 360 คะแนนขึ้นไป 6 ตั้งแต่ 460 คะแนนขึ้นไป 7 ตั้งแต่ 600 คะแนนขึ้นไป 8 ตั้งแต่ 760 คะแนนขึ้นไป 9 1. องค์ป ระกอบด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน องค์ประกอบด้านนีพจารณาถึงระดับความความรอบรูและ ้ ิ ้ ชำานาญงาน ความรูความสามารถในการบริหารจัดการ และทักษะความ ้ สามารถในการติดต่อสือสาร ปฏิสมพันธ์ ทีตองการของตำาแหน่งนันๆ ซึ่ง ่ ั ่ ้ ้ จำาแนกองค์ประกอบได้ ดังนี้ 1.1 ความรอบรู้แ ละ ชำา นาญงาน (150 คะแนน) หมายถึง ความรู้ ความชำานาญงาน ซึ่งโดยสภาพของงานนั้นๆ จะ ต้องมีเพื่อปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบให้สำาเร็จลุล่วงไปได้ และรวม ถึงระดับและขอบเขตความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพที่จะต้อง ใช้ โดยมิใช่ความรอบรู้และชำานาญงานเฉพาะตัวบุคคลผู้ดำารง ตำาแหน่ง ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้ อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น A เป็นงานที่ต้องการความรู้ระดับพื้นฐานอาชีพและ 53 สั่งสมความชำานาญในการทำางานอย่างเป็นระบบ A+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ A 58 B- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ B แต่ปัจจัย 61 บางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ B B เป็นงานที่ต้องการความรู้ทางวิชาชีพ มีทักษะเฉพาะ 68 ด้านในทางปฏิบัติทั่วไป มีความรอบรู้ชำานาญการในกฎ ระเบียบ หลักการ สามารถกำาหนดแนวคิดและระเบียบวิธีปฏิบัติงาน B+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ B 75
  • 15. อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น C- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ C แต่ปัจจัย 80 บางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C C เป็นงานทีตองการความรอบรู้ ความเชียวชาญใน ่ ้ ่ 89 ศาสตร์สาขาวิชาในสายอาชีพนันๆ รวมทัง กฎ ระเบียบ ้ ้ ทฤษฎี หลักการ มีทกษะเฉพาะด้าน และมีประสบการณ์ ั สูง สามารถพัฒนากฎระเบียบ หลักเกณฑ์ แนวทาง และระบบการทำางาน C+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ C 98 D- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ D แต่ปัจจัย 104 บางประการยังไม่สมบูรณ์ ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C D เป็นงานที่ต้องการความรอบรู้ ความเชี่ยวชาญใน 115 สาขาวิชาในสายอาชีพนั้นๆ สูง มีทกษะและั ประสบการณ์ การบริหารจัดการ งานทีมการ บูรณา ่ ี การทังหลักวิชาการ เทคนิค กฎระเบียบ หลักการต่างๆ ้ ทีเกียวข้อง และการพัฒนางานในสาขาอาชีพเฉพาะ ่ ่ ด้าน D+ มีความรอบรู้และชำานาญงานสูงกว่าอันดับ D 127 E- มีความรอบรู้และชำานาญงานในอันดับ E แต่ปัจจัย 135 บางประการยังไม่สมบูรณ์ ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E E เป็นงานที่ต้องการความรู้ ความเชียวชาญอย่างลึกซึง ่ ้ 150 ในทฤษฎี หลักวิชาการ และมีทกษะ ประสบการณ์สง ั ู ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพอย่าง ยิ่ง ในลักษณะเป็นผูนำาทางวิชาการ หรือเป็นงานที่ ้ ต้องการผูปฏิบตงานทีมความรอบรูอย่างกว้างขวางใน ้ ั ิ ่ ี ้ ศาสตร์สาขาทัวไป และมีประสบการณ์เป็นพิเศษใน ่ การบริหารแผนเชิงกลยุทธ์ 1.2 การบริห ารการจัด การ (100 คะแนน) หมายถึง ความรู้ความสามารถในการบริหารการจัดการที่ต้องการของตำาแหน่ง นั้นๆ โดยพิจารณาลักษณะงานในบทบาทของการบริหารจัดการ ซึ่ง
  • 16. ต้องคำานึงความยุ่งยากในการวางแผน กำากับ ตรวจสอบ ติดตามการ ปฏิบัติงาน รวมถึงระดับและขอบเขตของการบริหารจัดการในงาน ซึ่ง จำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้ อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น A เป็นงานที่ต้องมีการจัดระเบียบงาน ติดตาม ตรวจ 35 สอบผลการปฏิบัติงาน ตามขั้นตอนระเบียบงานและให้คำาปรึกษาแนะนำาผู้ ปฏิบัติงานระดับปฏิบัติการจำานวนหนึ่ง A+ เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ A 39 B- เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการในอันดับ B แต่ 41 ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน อันดับ B B เป็ นงานที่ ต้ องมี การวางแผน กำา หนดระเบี ยบวิ ธี 46 การปฏิ บั ติ งาน ติ ดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบติ ั งานตามแผนงาน และให้คำาปรึกษาแนะนำาแก่ผปฏิบติ ู้ ั งานจำา นวนหนึ่ ง B+ เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ B 50 C- เป็นงานทีมการบริหารการจัดการในอันดับ C แต่ ่ ี 53 ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน อันดับ C C เป็นงานที่ต้องมีการวางแผนงาน แผนเงิน แผนคน มี 59 การจัดการและกำาหนดแผนงาน ระบบงาน สำาหรับ งานหลักหลายด้านที่มีลักษณะความยุ่งยากซับซ้อน ของงานต่างกัน แต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันและมี การตรวจสอบ ติดตาม รวมทั้งให้คำาปรึกษาแนะนำา แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาจำานวนมาก C+ เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ C 65 D- เป็นงานทีมการบริหารการจัดการในอันดับ D แต่ ่ ี 69 ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน อันดับ D D เป็นงานที่ต้องมีการวางแผนงาน แผนเงิน แผนคน มี 77 การจัดการและกำาหนดแผนงาน ระบบงาน สำาหรับ งานหลักที่มีความหลากหลาย หลักวิชาการ เทคนิค การปฏิบัติงาน และมีลักษณะความยุ่งยากซับซ้อน
  • 17. อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น ของงานสูงมาก หรืองานหลักที่มีภารกิจและปริมาณ งานสูงมาก และมีระบบ กระบวนการทำางานที่เป็น ระบบต่อเนืองสัมพันธ์กน และแสดงผลสัมฤทธิของงาน ่ ั ์ ได้โดยเบ็ดเสร็จ มีการควบคุม ตรวจสอบ มอบหมาย งานบั งคั บบั ญชาผู้ ใต้ บั งคั บบั ญชาจำา นวนมาก D+ เป็นงานที่มีการบริหารการจัดการสูงกว่าอันดับ D 85 E- เป็นงานทีมการบริหารการจัดการในอันดับ E แต่ปจจัย ่ ี ั 90 บางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E E เป็นงานที่ต้องมีการควบคุม หรือกำากับประสาน 100 ติดตามผลงานตามแผนงานโครงการส่วนราชการ ระดับกองขึ้นไปหลายหน่วย รวมทั้งให้คำาปรึกษา แนะนำา เพือผลักดัน เร่งรัดให้การปฏิบตงานบรรลุผล ่ ั ิ สัมฤทธิตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ์ 1.3 การสื่อ สารและปฏิส ัม พัน ธ์ (100 คะแนน) หมายถึง ทักษะความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น หรือการ ทำางานร่วมกับผู้อื่นหรือการให้ผู้อื่นร่วมทำางานให้ โดยพิจารณาถึง วัตถุประสงค์ของการติดต่อสือสาร รวมทังระดับและขอบเขตของการ ่ ้ ติดต่อสือสาร ซึงจำาแนกเป็นระดับได้ ่ ่ ดังนี้ อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น A เป็นงานที่ ต้องใช้มนุษยสัมพั นธ์ขั้ นพื้ นฐาน เพื่ อ 35 การติดต่อประสานงานกั บ ผู้ ร่วมงาน หรือหน่วยงานอื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข้องหรือ ประชาชนผู้ รับบริการ A+ เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ 39 A B- เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ในอันดับ B แต่ 41 ปัจจัยบางประการยัง ไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ B B เป็นงานทีตองให้ขอเสนอแนะข้อคิดเห็นแก่ผปฏิบติ ่ ้ ้ ู้ ั 46 งาน มีการติดต่อประสานงานด้านข้อมูล ให้ขอมูลกับ ้
  • 18. อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น หน่วยงานและผูมสวนเกียวข้องทังภายในและ ้ ี ่ ่ ้ ภายนอกหน่วยงาน รวมทั้งการให้ข้อเท็จจริงเกี่ยว กับปัญหาพร้อมข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะกับ บุคคล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง B+ เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ B 50 C- เป็นงานที่มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ในอันดับ C 53 แต่ปัจจัยบางประการยัง ไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C C เป็นงานทีต้องใช้ทกษะในการชักจูงโน้มน้าวผูร่วมงาน ่ ั ้ 59 ทังในระดับผูบังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชารวมทั้ง ้ ้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของงาน และมีทักษะที่จะโน้ม น้าวสร้างความเข้าใจในประเด็นสำาคัญในการชักจูง เจรจาต่อรองกับผู้ที่เกี่ยวข้อง C+ เป็นงานทีมีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ C ่ 65 D- เป็นงานทีมีการสือสารและปฏิสมพันธ์ในอันดับ D แต่ ่ ่ ั 69 ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน อันดับ D D เป็นงานที่ต้องใช้ทักษะในการกระตุ้นและชักจูง 77 เจรจาต่อรองโน้มน้าวในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นทั้ง ภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อสร้างความเข้าใจ ความร่วมมือในการดำาเนินการใดๆ หรือแก้ไข ปัญหาในประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ D+ เป็นงานทีมีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์สูงกว่าอันดับ D ่ 85 E- เป็นงานทีมการสือสารและปฏิสมพันธ์ในอันดับ E แต่ ่ ี ่ ั 90 ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ใน อันดับ E E เป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะในการกระตุ้นชักจูง โน้ม 100 น้าวผู้อื่นให้เปลี่ยนความคิดหรือทัศนคติเพื่อให้ ภารกิจบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ สร้างความ เปลี่ยนแปลงในการทำางานในระดับยุทธศาสตร์ของ ส่วนราชการ
  • 19. 2. องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ข ปัญ หา องค์ประกอบด้านนี้พิจารณาถึงระดับในการคิดและการ ตัดสินใจที่ต้องการ ของตำาแหน่งนั้นๆโดยพิจารณาระดับความเป็นอิสระในการคิดและ ตัดสินใจตามสภาพแวดล้อม ของสถานการณ์ของปัญหา รวมทั้งความท้าท้ายในการคิดและพัฒนา สิ่งใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นในงาน โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้ 2.1 การปฏิบ ัต ิง านและการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา (100 คะแนน) หมายถึง ระดับ ขอบเขต แนวทางของการปฏิบัติงาน หรือการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในงานของตำาแหน่งนั้นๆ ซึ่งจำาแนกเป็น ระดับได้ ดังนี้ อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น A การปฏิบัติงานและการตัดสินใจอยู่ภายใต้ระเบียบ 35 แนวทางปฏิบัติ ระบบงานและมาตรฐานงานของ หน่วยงาน A+ การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า 39 อันดับ A B- การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาใน 41 อันดับ B แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ พิจารณาอยู่ในอันดับ B B การปฏิบัติงานและการตัดสินใจอยู่ภายใต้ 46 วัตถุประสงค์หลักของกอง โดยต้องใช้วิชาการหรือ วิชาชีพและประสบการณ์ในการตัดสินใจหรือการ แก้ปัญหาในงานที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ B+ การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า 50 อันดับ B C- การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาใน 53 อันดับ C แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ พิจารณาอยู่ในอันดับ C C การปฏิบัติงานและการตัดสินใจอยู่ภายใต้ 59
  • 20. อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น วัตถุประสงค์ แผนงาน โครงการของหน่วยงานระดับ กอง/สูงกว่ากอง โดยต้องใช้วชาการหรือวิชาชีพใน ิ การตัดสินใจ กำาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงาน แผน ปฏิบัติการ รวมทั้งการแก้ไขปัญหางานที่ยุ่งยาก C+ การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า 65 อันดับ C D- การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาใน 69 อันดับ D แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ พิจารณาอยู่ในอันดับ D D การปฏิบัติงานและการตัดสินใจภายใต้กรอบ 77 ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการระดับกรม โดยต้องใช้ วิชาการหรือวิชาชีพ พร้อมทักษะการเป็นผู้นำาใน การตัดสินใจกำาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงาน แผน ปฏิบัติการรวมทั้งแก้ไขปัญหางานที่มีความหลาก หลายทั้งในเนื้อหา เทคนิค วิชาการ กระบวนการ ของงาน D+ การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาสูงกว่า 85 อันดับ D E- การปฏิบตงานและการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในอันดับ ั ิ 90 E แต่ปจจัยบางประการ ั ยั งไม่ สมบู รณ์ ที่ จะพิ จารณาอยู่ ในอั นดั บ E E การปฏิบัติงานและการตัดสินใจโดยอิสระ การปรับ 100 แนวทางการปฏิบัติงานอยู่ภายใต้กรอบนโยบายและ ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง 2.2 ความท้า ทายในความคิด หรือ ความคิด สร้า งสรรค์ (150 คะแนน) หมายถึง ระดับความท้าทายของความ คิดหรือความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในงานของตำาแหน่งนั้นๆ โดย มิใช่พิจารณาที่ความสามารถในการคิดของบุคคลที่ดำารงตำาแหน่ง ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้ อัน ดั ความหมาย/สาระ คะแน บ น A เป็นงานที่ต้องใช้ความคิดริเริ่มบ้าง และมีการคิด 53
  • 21. อัน ดั ความหมาย/สาระ คะแน บ น วิเคราะห์ในการปฏิบัติงาน A+ ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง 58 กว่าอันดับ A B- ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน 61 อันดับ B แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ ั พิจารณาอยู่ในอันดับ B B เป็นงานที่มีปัญหาซึ่งต้องแก้ไขค่อนข้างบ่อย ต้องใช้ 68 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ค้นหาแนวทางใหม่ในการ ทำางาน B+ ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง 75 กว่าอันดับ B C- ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน 80 อันดับ C แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ ั พิจารณาอยู่ในอันดับ C C เป็นงานที่ต้องใช้ความคิด ประสบการณ์ ความ 89 ชำานาญ และประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการ วิเคราะห์และตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสมใน สถานการณ์ที่มีความหลากหลาย C+ ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง 98 กว่าอันดับ C D- ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน 104 อันดับ D แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ ั พิจารณาอยู่ในอันดับ D D เป็นงานที่ต้องใช้ทักษะ การคิดวิเคราะห์และตีความ 115 และการคิดเชิงสร้างสรรค์ รวมทั้งการใช้ดุลยพินิจ ในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดใน สถานการณ์/ปัญหาที่ยุ่งยาก ซับซ้อนหรือปัญหาที่ ไม่เคยเกิดมาก่อน และพัฒนาแนวคิดและวิธีการใหม่ D+ ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์สูง 127 กว่าอันดับ D E- ความท้าทายในความคิดหรือความคิดสร้างสรรค์ใน 135 อันดับ E แต่ปจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ ั พิจารณาอยู่ในอันดับ E
  • 22. อัน ดั ความหมาย/สาระ คะแน บ น E เป็นงานที่ต้องใช้ทักษะ การคิดวิเคราะห์เชิง 150 สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ หรือวิธีการ ใหม่ๆ ให้เกิดความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่ สามารถนำามาปรับใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และ พัฒนาต่อยอดไปได้อย่างต่อเนื่อง และบูรณาการ ภารกิจในระดับนโยบาย/ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ 3. องค์ป ระกอบด้า นภาระความรับ ผิด ชอบ องค์ประกอบด้านนี้พิจารณาระดับภาระความรับผิดชอบ ซึ่งพิจารณาจากความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน รวมทั้งขนาดและ ขอบเขตของผลกระทบของงานที่เป็นภาระความรับผิดชอบ ตลอดจน อำานาจหน้าที่ในขอบเขตความรับผิดชอบของตำาแหน่งนั้นๆ โดยมี องค์ประกอบ ดังนี้ 3.1 อิส ระในการปฏิบ ัต ิง าน (100 คะแนน) หมายถึง ความเป็นอิสระในการทำางาน หรือกรอบการปฏิบัติงาน หรือการ กำากับตรวจสอบที่ได้รับ ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้ อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น A เป็นงานที่มีอิสระในระดับผลสัมฤทธิ์เชิงปฏิบัติการ 35 โดยดำาเนินการตามขั้นตอนหรือข้อปฏิบัติที่กำาหนด ไว้เป็นมาตรฐาน หรือเป็นการปฏิบัติงานตามคำาสั่ง มีการควบคุม กำากับ ตรวจสอบในส่วนของความ ก้าวหน้าและผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย A+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ A 39 B- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ B แต่ปัจจัย 41 บางประการยังไม่สมบูรณ์ ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ B
  • 23. อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น B เป็นงานที่มีอิสระในระดับผลสัมฤทธิ์เชิงปฏิบัติการ 46 โดยดำาเนินการตามแนวทางหรือหลักเกณฑ์ภายใต้ คำาแนะนำาในบางกรณี แต่สามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลงได้บ้างตามความเหมาะสมในสถานกา รณ์นั้นๆ ได้ มีการ ตรวจสอบในส่วนของความ ก้าวหน้าและผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย B+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ B 50 C- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ C แต่ปัจจัย 53 บางประการยังไม่สมบูรณ์ ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C C เป็นงานที่มีอิสระในระดับผลสัมฤทธิ์เชิงบริหาร 59 จัดการ โดยดำาเนินการตามที่ได้กำาหนดทิศทางไว้ เฉพาะภายใต้ภารกิจของส่วนราชการ มีอิสระใน การบริหารจัดการ ให้คำาแนะนำา กำากับตรวจสอบ ของหน่วยงาน โดยมีการควบคุม ตรวจสอบผลงาน ในระดับผลสัมฤทธิ์ C+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ C 65 D- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ D แต่ปัจจัย 69 บางประการยังไม่สมบูรณ์ ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ D D เป็นงานทีมอสระในระดับผลสัมฤทธิเชิงบริหารจัดการ ่ ี ิ ์ 77 โดยมีการกำาหนดทิศทางการดำาเนินการไว้อย่างกว้าง มีอิสระในการบริหารจัดการงานที่มีความหลากหลาย ซับซ้อนของเนืองาน เทคนิค และกระบวนการทำางาน ้ ภายใต้ทศทางและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการระดับ ิ กรม D+ ความอิสระในการปฏิบัติงานสูงกว่าอันดับ D 85 E- ความอิสระในการปฏิบัติงานในอันดับ E แต่ปัจจัย 90 บางประการยังไม่สมบูรณ์ ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E E เป็นงานทีมอสระในระดับผลสัมฤทธิเชิงกลยุทธ์ โดยมี ่ ี ิ ์ 100 การกำาหนดแนวทางอย่างกว้าง สามารถปฏิบตงานเป็น ั ิ อิสระในการกำาหนดกลยุทธ์การปฏิบตงาน และปรับ ั ิ
  • 24. อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น เปลียนแนวทางการดำาเนินการในระดับยุทธศาสตร์ ่ ของส่วนราชการระดับกรม และนโยบายของส่วน ราชการระดับกระทรวง 3.2 ขอบเขตผลกระทบ ของงาน (150 คะแนน) หมายถึง ระดับหรือขอบเขต ของผลกระทบจากงานในตำาแหน่งนันๆ ต่อการบรรลุวตถุประสงค์ตาม ้ ั ภารกิจหลักของหน่วยงาน ซึงจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้ ่ อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น A การดำาเนินงานส่งผลกระทบบางส่วนต่อการบรรลุ 53 วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักของหน่วยงานระดับกอง A+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ A 58 B- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ B แต่ปัจจัยบาง 61 ประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ B B การดำาเนินงานส่งผลกระทบต่อการบรรลุ 68 วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลัก ของหน่วยงานระดับกอง/สูงกว่ากอง B+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ B 75 C- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ C แต่ปัจจัยบาง 80 ประการยังไม่สมบูรณ์ ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ C C การดำาเนินงานส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบรรลุ 89 วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักของหน่วยงานระดับ กอง/สูงกว่ากอง หรือส่งผลต่อผลการดำาเนินงาน โดยรวมของหน่วยงาน C+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ C 98 D- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ D แต่ปัจจัยบาง 104 ประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ D D การดำาเนินงานส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบรรลุ 115 วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลักและการวางกลยุทธ์ของ กรม
  • 25. อัน ดั ความหมาย / สาระ คะแน บ น D+ ขอบเขตผลกระทบของงานสูงกว่าอันดับ D 127 E- ขอบเขตผลกระทบของงานในอันดับ E แต่ปัจจัยบาง 135 ประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะพิจารณาอยู่ในอันดับ E E การดำาเนินงานส่งผลกระทบต่อการบรรลุ 150 วัตถุประสงค์ตามภารกิจหลัก ของส่วนราชการ และการวางกลยุทธ์ของกระทรวง และอาจมีผลกระทบต่อการดำาเนินการของส่วน ราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.3 อำา นาจที่ไ ด้ร ับ /ขอบเขตความรับ ผิด ชอบ (150 คะแนน) หมายถึง ขอบเขตอำานาจในการดำาเนินงาน หรือ ขอบเขตความรับผิดชอบของตำา แหน่ง นั้นๆ ซึ่งจำาแนกเป็นระดับได้ ดังนี้ อัน ดั ความหมาย/สาระ คะแน บ น A มีอำานาจในการมอบหมายงาน ควบคุม ตรวจสอบ ผล 53 งานของเจ้าหน้าทีภายใต้บังคับบัญชาจำานวนหนึง มี ่ ่ ระเบียบแนวทางปฏิบตงานทีกำาหนดเป็นมาตรฐานของ ั ิ ่ หน่วยงาน A+ อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า 58 อันดับ A B- อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน 61 อันดับ B แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ พิจารณาอยู่ในอันดับ B B มีอำานาจในการมอบหมายงาน ตัดสินใจ แก้ปญหาตามั 68 แนวทางทีหน่วยงานกำาหนดไว้กว้าง ๆ และควบคุม ่ ตรวจสอบ ผลงานของเจ้าหน้าทีภายใต้บงคับบัญชา ่ ั จำานวนหนึง ่ B+ อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า 75 อันดับ B C- อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน 80 อันดับ C แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ
  • 26. อัน ดั ความหมาย/สาระ คะแน บ น พิจารณาอยู่ในอันดับ C C มีอำานาจในการวางแผนกำาหนดแนวทางการทำางาน 89 ตามแผนปฏิบัติการตาม นโยบายของหน่วยงานมอบ หมายงาน และควบคุม กำากับ ตรวจสอบ รวมทั้ง ใช้ดุลยพินิจในแก้ไขปัญหางานที่มีลักษณะเป็นงาน ยุ่งยาก แก่เจ้าหน้าที่ผู้อยู่ ใต้บังคับบัญชาจำานวนหนึ่ง C+ อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า 98 อันดับ C D- อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน 104 อันดับ D แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ พิจารณาอยู่ในอันดับ D D มีอำานาจในการวางแผน กำาหนดแนวทางการทำางาน 115 ตามแผนปฏิบตการ นโยบายของหน่วยงาน มอบ ั ิ หมายและควบคุม กำากับ ตรวจสอบ รวมทั้งใช้ ดุลยพินิจในการตัดสินใจแก้ไขปัญหางานที่มี ลักษณะงานของภารกิจหลักที่สำาคัญ หรือภารกิจ หลักที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนมากและมีผลกระทบต่อ ความสำาเร็จ ของงานตามแผนปฏิบัติการ / ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ระดับกรม D+ อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบสูงกว่า 127 อันดับ D E- อำานาจที่ได้รับหรือขอบเขตความรับผิดชอบใน 135 อันดับ E แต่ปัจจัยบางประการยังไม่สมบูรณ์ที่จะ พิจารณาอยู่ในอันดับ E E มีอำานาจในการวางแผนกลยุทธ์ กำาหนดแผนปฏิบติ ั 150 การ ตามนโยบายยุทธศาสตร์ของหน่วยงานระดับ กระทรวง มอบหมายและควบคุม กำากับตรวจสอบการ ปฏิบตหน่วยงานในความรับผิดชอบตามแผนกลยุทธ์ ั ิ รวมทั้งการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจปรับเปลี่ยน แผนกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการระดับกระทรวง
  • 27.
  • 28. หลัก เกณฑ์ก ารประเมิน ค่า งาน สำา หรับ ตำา แหน่ง ทีไ ม่ใ ช่ล ัก ษณะบริห ารและบัง คับ ่ บัญ ชา หลักเกณฑ์การประเมินค่างานสำาหรับตำาแหน่งที่ไม่ใช่ลักษณะ บริหารและบังคับบัญชานี้ เป็นเกณฑ์ใช้พิจารณาลักษณะหน้าที่ ความรับผิดชอบ คุณภาพ ความยุ่งยากของงานในตำาแหน่งสำาหรับผู้ ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์หรือตำาแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะหรือ วิชาชีพเฉพาะในส่วนราชการ รวมทังการประเมินความรู้ ความ ้ สามารถ และประสบการณ์ทตองการใช้ในการปฏิบตงานของตำาแหน่ง ี่ ้ ั ิ นันๆ ด้วย ทั้งนี้ ได้แบ่งองค์ประกอบในการประเมินค่างาน ดังนี้ ้ องค์ป ระกอบด้า นความรู้แ ละทัก ษะที่จ ำา เป็น ในงาน องค์ประกอบที่ 1 ความรอบรู้และชำานาญงาน (200 คะแนน) องค์ประกอบที่ 2 การบริหารการจัดการ (100 คะแนน) องค์ประกอบที่ 3 การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ (100 คะแนน) องค์ป ระกอบด้า นการคิด และการตัด สิน ใจแก้ไ ขปัญ หา องค์ประกอบที่ 4 การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแก้ไข ปัญหา (100 คะแนน) องค์ประกอบที่ 5 ความท้าทายในความคิดหรือความคิด สร้างสรรค์ (150 คะแนน) องค์ป ระกอบด้า นภาระความ รับ ผิด ชอบ องค์ประกอบที่ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน (100 คะแนน) องค์ประกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน (150 คะแนน) องค์ประกอบที่ 8 อำานาจที่ได้รับ/ขอบเขตความรับผิดชอบ (100 คะแนน) รวม 1,000 คะแนน เกณฑ์ก ารกำา หนดระดับ ตำา แหน่ง