SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 41
บุคลิกภาพ อารมณ์กับพฤติกรรมผู้บริโภค
Personality, Emotion and Consumer Behavior
Watjana Poopanee
Mahasarakham Business School
Mahasarakham University
E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
1
2
Personality (บุคลิกภาพ)
3
Personality (บุคลิกภาพ) คือ แนวโน้ม (Tendencies) ของการ
ตอบสนองที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคนในสถานการณ์ต่าง ๆ หรือเป็นปัจจัย
ภายในที่มีลักษณะเฉพาะซึ่งทาหน้าที่กาหนด (Determine) และสะท้อน(Reflect)
การตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของแต่ละคน
ชนิดของบุคลิกภาพที่เกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
4
1)เน้นที่แรงจูงใจของการกระทา
2) เน้นความแตกต่างของบุคคล
1)เน้นที่แรงจูงใจของการกระทา
1) เน้นที่แรงจูงใจของการกระทา
5
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
(Sigmund Freud’s Psychoanalytic Personality Theory)
1.2 ทฤษฎีประเภทบุคลิกภาพของจุง
(Jungian’s Personality Theory)
1.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพแบบนีโอฟรอยด์
(Neo-Freudian Personality Theory)
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
(Sigmund Freud’s Psychoanalytic Personality Theory)
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
6
ซิกมันด์ฟรอยด์ (Sigmund Freud : 1880) ผู้ซึ่งได้รับการ
ยกย่องว่าเป็นบิดาของทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis Theory)
เป็ นผู้ บุกเบิกแนวคิดของบุคลิกภาพโดยการใช้ จิตวิเคราะห์
(Psychoanalysis) ฟรอยด์เชื่อว่าแรงจูงใน (Motivation) ของมนุษย์มา
จากสัญชาตญาณ (Instinct) หลัก ๆ 2 ชนิดคือ
(1) สัญชาตญาณของการมีชีวิต ซึ่งหมายถึงความหิว ความ
กระหาย และแรงขับเคลื่อนทางเพศ
(2) สัญชาตญาณของความตาย ซึ่งหมายถึงความปรารถนา
ที่จะทาร้ายผู้อื่น และความต้องการทาลายตนเอง
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
7
โครงสร้างบุคลิกภาพของฟรอยด์ (Freud’s Structure of personality)
Id (อิด)
ระบบที่ 1
Ego (อีโก้)
ระบบที่ 2
Superego
(ซุปเปอร์อีโก้)
ระบบที่ 3
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
8
โครงสร้างบุคลิกภาพของฟรอยด์ (Freud’s Structure of personality)
ในสภาวะปกติและบุคคลมีความแข็งแรง ระบบทั้ง 3
เหล่านี้จะถูกพัฒนาอย่างเต็มที่และมีความสมดุลทาให้บุคคล
สามารถปฏิบัติตอบต่อสิ่งแวดล้อมได้ผลและเป็นที่น่าพอใจ
เมื่อระบบเหล่านี้หนึ่งระบบหรือมากกว่าจะได้รับการพัฒนาจน
มากเกินไปหรือต่าไป มันก็จะไปกระทบต่อความสมดุลภายใน
การกระทบจะนาไปสู่การปรับตัวที่ผิดพลาดและจะนาความไม่
พอใจต่อตนเอง (Self) และสิ่งแวดล้อมทาให้การเปิดเผยตัวเอง
ได้ผลน้อยลง ตลอดจนมีพฤติกรรมที่ปรับตัวยาก
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
9
โครงสร้างบุคลิกภาพของฟรอยด์ (Freud’s Structure of personality)
Id (สัญชาตญาณ) หมายถึง สิ่งที่อยู่ในจิตไร้สานึก เป็นพลังที่ติดตัวมาแต่กาเนิด มุ่ง
แสวงหา ความพึงพอใจ (pleasure seeking principles) และเป็นไปเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของตนเองเท่านั้น โดยไม่คานึงถึงเหตุผลความถูกต้อง และความเหมาะสม
ประกอบด้วยความต้องการทางเพศและความก้าวร้าว เป็นโครงสร้างเบื้องต้นของจิตใจ และ
เป็นพลังผลักดันให้ ego ทาในสิ่งต่าง ๆ ตามที่id ต้องการ
Ego (อัตตา) หมายถึง พลังแห่งการใช้หลักของเหตุและผลตามความเป็นจริง (Reality
principle) เป็นส่วนของความคิด และสติปัญญา
Superego (อภิอัตตา) คือส่วนที่ควบคุมการแสดงออกของบุคคลในด้านของ
คุณธรรม ความดี ความชั่ว ความถูกผิด มโนธรรม จริยธรรมที่สร้างโดยจิตใต้สานึกของบุคคล
นั้น ซึ่งเป็นผลที่ได้รับจากการเรียนรู้ในสังคมและวัฒนธรรมนั้น ๆ
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
10
ตัวอย่างการทางานของ Id, Ego และ Superego
เช่น ความหิวเป็นสัญชาตญาณ (Instinct) ที่กระตุ้นการทางานของ Id และส่งผลไปที่
การทางานของ Ego เพื่อหาอาหารมารับประทาน เช่น อาจจะเดินไปที่ตู้เย็นเพื่อหาอาหารหรือ
ไปขโมยอาหารที่อยากรับประทานจากร้านค้า (เนื่องจากอาหารมีราคาแพงมาก) สาหรับหน้าที่
ของ Superego คือเตือนสติว่าไม่ควรขโมยอาหาร เพราะผิดศีลธรรมและผิดกฎหมาย หากไม่
มีเงินซื้อก็ควรหางานทาเพื่อให้ได้เงินมาซื้อ ช่วงที่ยังไม่มีเงินเพียงพอนี้ควรจะรับประทาน
อาหารอะไรก็ได้เพื่อระงับความหิวไปก่อน เป็นต้น
1) เน้นที่แรงจูงใจของการกระทา
11
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
(Sigmund Freud’s Psychoanalytic Personality Theory)
1.2 ทฤษฎีประเภทบุคลิกภาพของจุง
(Jungian’s Personality Theory)
1.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพแบบนีโอฟรอยด์
(Neo-Freudian Personality Theory)
1.2 ทฤษฎีประเภทบุคลิกภาพของจุง
(Jungian’s Personality Theory)
1.2 ทฤษฎีประเภทบุคลิกภาพของจุง
12
คาร์ล จุง (Carl Jung) เป็นนักจิตวิทยารุ่นเดียวกับฟ
รอยด์ และเป็นผู้ที่มีแนวคิดในการศึกษาจิตวิทยาสมัยใหม่
เพิ่มเติม คาร์ล จุง ได้สร้างเครื่องมือสาหรับวัดบุคลิกภาพที่มี
คาถามเป็นชุด (Personality Inventory) เพื่อให้ผู้ที่ถูกประเมิน
เรื่องบุคลิกภาพนั้นเลือกคาตอบที่ตรงกับลักษณะของตน และ
เรียกเครื่องมือวัดนี้ว่าชนิดต่าง ๆ ของตัวบ่งชี้ไมเออร์-บริกก์
(Myer-Briggs Type Indicators)
13
Myer-Briggs Type Indicators
- ทาแบบทดสอบ Myer-Briggs Type Indicators
14
ตัวแปรตามความหมายของแบบทดสอบ Myer-Briggs Type Indicators
Extrovert, E หมายถึง คนมีคุณลักษณะแบบเปิดเผย จะสนใจต่อภายนอก ชอบ
การสนองตอบและเต็มใจให้การยอมรับต่อเหตุการณ์ใด ๆ ต้องการเข้าไปมีอิทธิพลและ
ได้รับอิทธิพลจากเหตุการณ์นั้นชอบความสนุกสนานชอบมีเพื่อนและรู้จักคนอื่น
Introvert, I หมายถึง คนที่มีคุณลักษณะแบบเก็บตัว เป็นผู้ที่ชอบครุ่นคิดแต่เรื่อง
และความรู้สึกของตนเอง ซึ่งเป็นการติดอยู่กับโลกภายในของตนเอง ทั้งความคิดและ
ความรู้สึก จึงมักไม่ค่อยไว้ใจใคร พยายามตัดขาดออกจากเหตุการณ์ภายนอก มี
ความรู้สึกหงอยเหงาและไม่อยากคบหาสมาคมกับคนอื่น
15
ตัวแปรตามความหมายของแบบทดสอบ Myer-Briggs Type Indicators
นอกจากนี้คาร์ล จุง ได้เสนอตัวแปรทางจิตวิทยาที่มีผลต่อบุคลิกภาพขึ้น 2 มิติ คือ
1. การรับรู้ (Perception dimensional หรือ P) ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรที่เกี่ยวกับ
วิธีการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์2 วิธีซึ่งอยู่ปลายขั้วคนละด้านของแกนต่อเนื่องกันได้แก่
1.1 วิธีการรู้ด้วยประสาทสัมผัส (Sensing หรือ S) ซึ่งต้องอาศัยประสาททั้ง 5 ทางกาย
1.2 วิธีการรู้ด้วยการหยั่งรู้ (Intuition หรือ N) ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์ในอดีต
2. การวินิจฉัยตัดสิน (Judgment dimension หรือ J) ซึ่งเป็นการลงความเห็นหรือ
ตีความข้อมูลที่ได้รับรู้จากมิติแรก มิตินี้ประกอบด้วยตัวแปร 2 ตัว อยู่ปลายขั้วสุดของแกน
ต่อเนื่องกัน ได้แก่
2.1 วิธีการคิด(Thinking หรือ T) ซึ่งต้องใช้หลักเหตุผลและการวิเคราะห์
2.2 วิธีการใช้ความรู้สึก (Feeling หรือ F) ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความเห็น ความรู้สึก
ส่วนตัวเป็นหลัก
16
17
1) เน้นที่แรงจูงใจของการกระทา
18
1.1 ทฤษฎีจิตวิทยาวิเคราะห์ของฟรอยด์
(Sigmund Freud’s Psychoanalytic Personality Theory)
1.2 ทฤษฎีประเภทบุคลิกภาพของจุง
(Jungian’s Personality Theory)
1.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพแบบนีโอฟรอยด์
(Neo-Freudian Personality Theory)
1.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพแบบนีโอฟรอยด์
(Neo-Freudian Personality Theory)
1.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพแบบนีโอฟรอยด์
19
ทฤษฎีนีโอ-ฟรอยด์ ของ อัลเฟร็ด แอ็ดเลอร์
(Alfred Adler) เชื่อว่าการดิ้นรนเพื่อความเหนือกว่า เป็น
ปัจจัยที่สาคัญกว่าสัญชาตญาณทางเพศ เนื่องจากในช่วง
ของการเติบโตจากวัยเด็กสู่ผู้ใหญ่นั้น เด็ก ๆ มักจะมีปมด้อย
ดังนั้นจุดมุ่งหมายเบื้องต้นคือการเอาชนะปมด้อยต่าง ๆ
เพื่อให้มีความเหนือกว่า ตามแนวคิดของอัลเฟร็ด นี้การที่
ผู้บริโภคซื้อรถยนต์ เสื้อผ้า กระเป๋ าถือ นาฬิกา หรือสิ่ง
ฟุ่มเฟือยต่าง ๆ ที่มีราคาแพงมากเป็นการแสดงออกถึงความ
เหนือกว่าผู้อื่น (Superiority)
ชนิดของบุคลิกภาพที่เกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
20
1)เน้นที่แรงจูงใจของการกระทา
2) เน้นความแตกต่างของบุคคล
2) เน้นความแตกต่างของบุคคล
2) เน้นความแตกต่างของบุคคล
21
2.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพที่อิงเทรต
(Trait Theory)
2.2 ทฤษฎีเน้นความแตกต่างของบุคคลโดยอิงการเรียนรู้ทางสังคม
(Social Learning)
2.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพที่อิงเทรต
(Trait Theory)
2.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพที่อิงเทรต (Trait Theory)
22
ทฤษฎีบุคลิกภาพที่อิงเทรต (Trait Theory) เป็น
ทฤษฎีที่ศึกบุคลิกภาพโดยเน้นไปที่ลักษณะที่ทาให้บุคคลมี
ความแตกต่างกัน ทฤษฎีตามแนวคิดนี้นาเสนอเป็นครั้งแรกโดย
ดร.เวอร์นอน อัลพอร์ท (Vernon Allport) ซึ่งเป็นนักจิตวิทยา
ชาวอเมริกันและเป็นบุคคลแรกที่ไม่เห็นด้วยกับการศึกษา
บุคลิกภาพตามแนวทฤษฎีของฟรอยด์ ทั้งนี้อัลพอร์ทเชื่อว่า
บุคลิกภาพดูได้จากลักษณะสาคัญของบุคลิกภาพ
หากสังเกตการกระทาของบุคคลหนึ่งเป็นเวลานานพอสมควรจะพบความ
เสมอต้นเสมอปลาย และความสม่าเสมอ ของการกระทาในสถานการณ์ที่มีสิ่งกระตุ้น
ที่แตกต่างกัน ความเสมอต้นเสมอปลายและความสม่าเสมอนี้ อัลพอร์ท เรียกว่า
“ลักษณะเฉพาะของบุคคล หรือ บุคลิกภาพ”
2.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพที่อิงเทรต (Trait Theory)
23
ทฤษฎีบุคลิกภาพที่อิงเทรต (Trait Theory) มี 2 ประเภท คือ
1) ทฤษฎีเทรตเดี่ยว (Single-trait Theory) เชื่อว่าการกระทาหนึ่ง ๆ ควบคุมด้วยเทรต
ชนิดเดียวเท่านั้น ใช้ในกรณีที่ต้องการทราบความสัมพันธ์ของเทรตนันกับกลุ่มพฤติกรรม เช่น
พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการบริโภค เช่น การมีลักษณะทางประสาท, การคล้อยตาม, ความฟุ่มเฟือย,
ความกระวนกระวาย, วัตถุนิยม, หัวโบราณ เป็นต้น
2) ทฤษฎีหลายเทรต (Multi-trait Theory) กล่าวถึงบุคลิกภาพที่เกิดจากหลายเทรต
รวมกัน สาหรับทฤษฎีหลายเทรต ที่นามาใช้มากทางด้านการตลาด คือ รูปแบบจาลอง 5 ปัจจัยของ
บุคลิกภาพ (Five-Factor Model of Personality) ทฤษฎีนี้แจกแจงเทรต 5 ชนิดที่สาคัญที่สุดซึ่ง
เกิดขึ้นโดยกรรมพันธุ์และการเรียนรู้ในช่วงเยาว์วัย เทรตที่มีลักษณะเป็นแก่นหลัก 5 ชนิดนี้มี
ปฏิสัมพันธ์กันดังนี้
24
Five-Factor Model of Personality
2) เน้นความแตกต่างของบุคคล
25
2.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพที่อิงเทรต
(Trait Theory)
2.2 ทฤษฎีเน้นความแตกต่างของบุคคลโดยอิงการเรียนรู้ทางสังคม
(Social Learning)
2.2 ทฤษฎีเน้นความแตกต่างของบุคคลโดยอิงการเรียนรู้ทางสังคม
(Social Learning)
26
อารมณ์กับพฤติกรรมผู้บริโภค
(Emotion and Consumer Behavior)
2.2 ทฤษฎีเน้นความแตกต่างของบุคคลโดยอิงการเรียนรู้ทางสังคม
(Social Learning)
Emotion (อารมณ์)
27
Emotion (อารมณ์) คือ ความรู้สึก (Feeling) ที่รุนแรง ควบคุมไม่ได้ และ
ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของคน
ผลกระทบของอารมณ์ มีดังนี้
1. ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระ ม่านตาขยาย เหงื่อออกมากขึ้น หายใจ
เร็วขึ้น เป็นต้น
2. ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของความคิดตรึกตรอง โดยเฉพาะในด้านของการมี
เหตุผล นั่นคือเมื่อมีอารมณ์รุนแรง ความคิดทางด้านเหตุผลจะลดลง
3. อารมณ์บางอย่างมีการกระทาเกี่ยวข้องด้วย เช่น ความกลัวทาให้เกิดการอยากวิ่ง
หนี ความโกรธทาให้เกิดอาการฮึดต่อสู้ ความเศร้าทาให้ร้องไห้ เป็นต้น
4. อารมณ์บางชนิดเกี่ยวข้องกับความรู้สึกที่ระบุให้ชัดเจนได้ยาก
ลักษณะของอารมณ์ (Nature of Emotions)
28
เหตุการณ์ทางอารมณ์
(Environmental Event)
จิตนาการ
(Mental Imagery)
การเปลี่ยนทางสรีระ
(Physiological Change)
ตีความว่าเป็นอารมณ์
ขึ้นกับสถานการณ์
(Interpreted as
Emotions Based on
Situation)
ความรู้สึกเจาะจง
Specific Feeling
ความรู้สึก
Affect
พฤติกรรม
Behavior
ความคิด
Thought
การประยุกต์บุคลิกภาพและอารมณ์กับกลยุทธ์การตลาด
29
1. กรอบความคิดของบุคลิกภาพตรายี่ห้อ (Brand Personality Framework)
2. บุคลิกภาพของตราสินค้ากับเพศ (Brand Personality and Sex)
3. บุคลิกภาพตราสินค้ากับสี (Brand Personality and Colors)
4. การใช้อารมณ์ในการโฆษณา
1. กรอบความคิดของบุคลิกภาพตรายี่ห้อ (Brand Personality Framework)
1. กรอบความคิดของบุคลิกภาพตรายี่ห้อ (Brand Personality Framework)
30
การประยุกต์บุคลิกภาพและอารมณ์กับกลยุทธ์การตลาด
31
1. กรอบความคิดของบุคลิกภาพตรายี่ห้อ (Brand Personality Framework)
2. บุคลิกภาพของตราสินค้ากับเพศ (Brand Personality and Sex)
3. บุคลิกภาพตราสินค้ากับสี (Brand Personality and Colors)
4. การใช้อารมณ์ในการโฆษณา
2. บุคลิกภาพของตราสินค้ากับเพศ (Brand Personality and Sex)
2. บุคลิกภาพของตราสินค้ากับเพศ (Brand Personality and Sex)
32
การประยุกต์บุคลิกภาพและอารมณ์กับกลยุทธ์การตลาด
33
1. กรอบความคิดของบุคลิกภาพตรายี่ห้อ (Brand Personality Framework)
2. บุคลิกภาพของตราสินค้ากับเพศ (Brand Personality and Sex)
3. บุคลิกภาพตราสินค้ากับสี (Brand Personality and Colors)
4. การใช้อารมณ์ในการโฆษณา
3. บุคลิกภาพตราสินค้ากับสี (Brand Personality and Colors)
3. บุคลิกภาพตราสินค้ากับสี (Brand Personality and Colors)
34
การประยุกต์บุคลิกภาพและอารมณ์กับกลยุทธ์การตลาด
35
1. กรอบความคิดของบุคลิกภาพตรายี่ห้อ (Brand Personality Framework)
2. บุคลิกภาพของตราสินค้ากับเพศ (Brand Personality and Sex)
3. บุคลิกภาพตราสินค้ากับสี (Brand Personality and Colors)
4. การใช้อารมณ์ในการโฆษณา
4. การใช้อารมณ์ในการโฆษณา
4. การใช้อารมณ์ในการโฆษณา
36
37
การวิเคราะห์บุคลิกภาพกับการตลาด
2.2 ทฤษฎีเน้นความแตกต่างของบุคคลโดยอิงการเรียนรู้ทางสังคม
(Social Learning)
38
การวิเคราะห์บุคลิกภาพกับการตลาด
39
การวิเคราะห์บุคลิกภาพกับการตลาด
40
การวิเคราะห์บุคลิกภาพกับการตลาด
41
SUMMARY
&
QUESTION

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 

Mais procurados (20)

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 

Semelhante a Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1csmithikrai
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Jan Sirinoot
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 

Semelhante a Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8) (20)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
51105
5110551105
51105
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 

Mais de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Mais de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 

Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)