SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 38
Motivation and Consumer Behavior

                  แรงจูงใจกับพฤติกรรมผู้บริโภค




                              Watjana Poopanee
                      Mahasarakham Business School
                              Mahasarakham University
                     E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
                                                  1
เนือหา
                                 ้
• ความหมาย และคาจากัดความของการจูงใจ (Motivation)
• รูปแบบจาลองของกระบวนการจูงใจ
• Need (ความจาเป็ น)
• Goal (เปาหมาย)
          ้
• ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory)
• การประยุกต์ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ทางการตลาด




                                                     2
3
Motivation VS Motive
          Motivation (แรงจูงใจ) คือ สภาวะที่ถกกระตุ้น (Activated State) ภายในแต่
                                             ู
ละคน ซึงนาไปสูพฤติกรรมที่มีจดมุ่งหมาย หรื อเป็ นเหตุผลของพฤติกรรมแต่ละครัง
       ่     ่              ุ                                            ้
          Motive (แรงกระตุ้น) คือ ลักษณะทางจิตวิทยาชนิดหนึ่ง ซึงเป็ นตัวแทนของพลัง
                                                               ่
ภายในที่มองไม่เห็น (Unobservable) ทาหน้ าที่กระตุ้น (Stimulate) และออกแรงบังคับ
(Compel) ให้ มีปฏิ กิริยาตอบสนอง (Response) ตลอดจนให้ ทิศทางที่ ชดเจนสาหรั บการ
                                                                 ั
ตอบสนองนัน ๆ (คาว่าแรงจูงใจและแรงกระตุ้นนามาใช้ แทนที่กนได้ )
          ้                                            ั




                                                                                     4
รูปแบบจาลองของกระบวนการจูงใจ

                                                  การเรี ยนรู้


ความต้ องการที่ยัง                                                          เปาหมายหรื อการ
                                                                              ้
  ไม่ ได้ รับการ     การยอมรั บว่ ามี   สภาวะของแรง
                                                                 พฤติกรรม    ตอบสนองความ
   ตอบสนอง            ความจาเป็ น         ขับเคลื่อน
                                                                                ต้ องการ
  (Latent Need)




                                                 กระบวนการทาง
                                                    ความคิด




                                                  การลดความตึง
                                                     เครี ยด
                                                                                         5
ตัวอย่ างรูปแบบจาลองของกระบวนการจูงใจ

                                                  การเรี ยนรู้


ความต้ องการที่ยัง                เห็นโฆษณาพิซซ่ า                                  - พิซซ่ า มาส่ ง
  ไม่ ได้ รับการ     รู้ สึกหิว                             โทรศัพท์ ส่ งพิซซ่ า
                                                                        ั
                                      น่ ากินมาก                                    - กินพิซซ่ า
   ตอบสนอง                           (Delivery)                                    (ได้ รับการตอบสนอง)
  (Latent Need)




                                              กระบวนการทาง
                                                 ความคิด




                                                     หายหิว
                                                                                                       6
Need (ความจาเป็ น)
          ความจาเป็ น (Need) คือ ความต้ องการในปั จจัยแห่งการดารงชีวิตที่มนุษย์ ขาด
ไม่ได้ หากพิจารณาจากแหล่งกาเนิดแบ่งได้ 2 กลุ่มคือ (1) เกิดขึ ้นตามธรรมชาติ (Innate
Needs) เช่น ความจาเป็ นเรื่ องอาหาร นา อากาศ (2) ความจาเป็ นที่ เกิ ดจากการเรี ยนรู้
                                     ้
(Learned Needs) โดยกระบวนการกลุมเกลาทางสังคม
                                  ่
             เมื่ อ การแบ่ง ความจ าเป็ นตามแหล่ง ก าเนิ ด และล าดับ การเกิ ด (Source and
Sequence) พบว่ามีประโยชน์ทางด้ านการตลาดมากกว่าการแบ่งตามวิธีข้างต้ น แต่สาหรับวิธี
นี ้มี 2 ชนิด คือ
              (1) ความจาเป็ นที่เกี่ยวกับสรี ระและเกิดขึนตามธรรมชาติ เรี ยกว่า “ความ
                                                             ้
จาเป็ นเบื ้องต้ น (Primary Needs or Primary Motives) หรื อ “ความจาเป็ นทางกายภาพ
(Physiological Needs) เช่น ความจาเป็ นด้ านอาหาร น ้า อากาศ เสื ้อผ้ า ยารักษาโรค เป็ นต้ น
               (2) ความจาเป็ นที่เกิดขึนจากการเรี ยนรู้ และเกิดขึนภายหลัง เรี ยกว่า “ความ
                                         ้                          ้
จาเป็ นทางจิตวิทยา (Psychological Needs) เช่น ความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Esteem
Need) ความมีชื่อเสียง (Prestige Need) เป็ นต้ น
                                                                                            7
Goal (เปาหมาย)
           ้
               เปาหมาย (Goal) ทุกพฤติกรรมของผู้บริ โภคล้ วนมีเปาหมายซึงอาจเรี ยกว่า “วัตถุ
                 ้                                             ้      ่
เร่ งเร้ า (Incentive Object) สาหรับเปาหมายที่เกี่ ยวข้ องกับการตลาดมี 2 ชนิด คือ
                                        ้
(1) เปาหมายทัวไป (Generic Goals) และ (2) เปาหมายที่เจาะจงผลิตภัณฑ์ (Product-
          ้         ่                               ้
specific Goals)

        (1)   เปาหมายทั่วไป (Generic Goal) คือ กลุ่มของเปาหมายซึ่งผู้บริ โภคเห็นว่า
                  ้                                        ้
สามารถตอบสนองความต้ องการ (Want) และความจาเป็ น (Needs) ต่าง ๆ ของตนได้ เช่น ถ้ า
ผู้บริ โภครายหนึงบอกว่าตนเองกาลังหิว หมายความว่าเขามีความจาเป็ นต้ องรับประทานอาหาร
                ่
การรับประทานอาหาร (ชนิดใดก็ได้ ) เป็ นเปาหมายทัวไป
                                        ้      ่
        (2)  เปาหมายที่เจาะจงผลิตภัณฑ์ (Product-specific Goal) คือ สินค้ าที่มีปาย
               ้                                                                      ้
ฉลากหรื อ ตรายี่ ห้อ ที่ ผ้ ูบ ริ โ ภคเลื อ กมาตอบสนองความต้ อ งการของตนโดยเฉพาะ เช่ น ถ้ า
ผู้บริ โภครายหนึ่งบอกว่าตนเองกาลังหิว และระบุว่าต้ องการรับประทานพิซซ่าให้ หายหิวนัน      ้
ความต้ องการในการรับประทานพิซซ่าคือเปาหมายที่เจาะจงผลิตภัณฑ์นนเอง
                                                 ้                     ั่
                                                                                              8
ตัวอย่ างลาดับชันของเปาหมาย
                     ้     ้
                                                          ดีดู มีเสน่ห์ต่อเพศ
 เปาหมายสูงสุด
   ้                                   เพิ่มความมันใจใน
                                                  ่
                           สุขภาพดี                       ตรงข้ าม หรื อเพศ
(Super Ordinate Goals)                       ตัวเอง
                                                                เดียวกัน




  เปาหมายหลัก
    ้
     (Focal Goal)                         ลดน ้าหนัก




   เปาหมายรอง
     ้                   ออกกาลังกาย                      ควบคุมอาหาร
 (Subordinate Goals)



                                                                            9
ตัวอย่ างลาดับชันของเปาหมาย
                ้     ้




                              10
ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory)
1. ทฤษฎีลลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์(Maslow)
 1. ทฤษฎี าดับขัน้ ความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow)
                ้

2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์   (Alderfer)



3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์           (McClelland)



4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์         (McGuire)

                                                              11
1. ทฤษฎีลาดับขั้นความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow)


        Abraham Maslow (อับบราฮัม มาสโลว์) ได้
นาเสนอเรื่ องความต้ องการของมนุษย์ในองค์การเป็ นเรื่ องที่
ผู้บริ หารต้ องเอาใจใส่ เพราะความต้ องการมีผลต่อทัศนคติ
และพฤติกรรมในการทางานของพนักงาน
    สมมุติ ฐ านที่ ใ ช้ อ ธิ บ ายทฤษฏี แ รงจูง ใจของมาสโลว์          Abraham Maslow
ประกอบด้ วย
  1. มนุษย์มีความต้ องการที่ไม่สิ ้นสุด

  2. ความต้ องการในระดับล่างต้ องได้ รับการตอบสนองก่อนจึงจะเริ่ มมีความต้ องการในขันต่อไป
                                                                                   ้
  3. ความต้ องการของมนุษย์มีความสลับซับซ้ อน


                                                                                        12
ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




                                        13
ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




      Physiological needs คือ ความต้ องการทางกายภาพที่สามารถดารงชีพ
                     อยู่ได้ ได้ แก่ อาหาร นา ที่อยู่อาศัย
                                            ้

                                                                      14
ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




      Safety คือ ความต้ องการถึงความปลอดภัย ทังจากโรคภัยไข้ เจ็บและความ
                                              ้
                          ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์ สน
                                      ิ           ิ



                                                                          15
ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




       Love/Social คือ ความต้ องการการเข้ าสังคมและการยอมรั บจากสังคม
                       ภายนอกร่ วมถึงต้ องการความรั ก




                                                                        16
ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




        Esteem คือ ความต้ องการที่จะได้ รับการยกย่ องเชิดชู อาจจะต้ องการการ
              เลื่อนตาแหน่ งในองค์ การ หรื อรั บรางวัลจากการทางาน




                                                                               17
ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow

        Self-Actualization คือ ความต้ องการขันสูงสุดของมนุษย์ ซ่ งหมายถึงการ
                                                        ้                ึ
       เข้ าใจตัวเอง เข้ าใจโลก เข้ าใจธรรมชาติ หรื อความสาเร็จในสิ่งที่ตนเองต้ องการ
                                    จะเป็ น หรื อต้ องการจะทา




                                                                                        18
ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory)

 1. ทฤษฎีลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow)
                ้

2. ทฤษฎี ERG ของอัลลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer)
 2. ทฤษฎี ERG ของอั เดอร์ เฟอร์ (Alderfer)


 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์   (McClelland)



 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์   (McGuire)

                                                         19
2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer)
        ความคิดของมาสโลว์ถกทักท้ วงโดยเคลย์ตน
                               ู                      ั
อัลเดอร์ เฟอร์ (Clayton Alderfer, 1972) แห่ง
มหาวิทยาลัยเยล ซึ่งไม่เห็นด้ วยกับการก้ าวอย่างเป็ น
ล าดั บ ขั น บนปิ รามิ ด ของความต้ องการ จึ ง ได้ น า
           ้
ทฤษฎี ล าดั บ ขั น ความต้ องการของมาส โลว์ ม า
                   ้
ปรั บ ปรุ ง และจั ด กลุ่ ม ความต้ องการของมนุ ษ ย์
ออกเป็ น 3 กลุมและเกิดเป็ นทฤษฎีที่เรี ยกว่า ERG ซึง
                ่                                       ่   Clayton Alderfer
ย่อมาจาก Existence (ความต้ องการที่จะดารงอยู่)
Relatedness          (ความสัมพันธ์ กับบุคคลอื่ น ) และ
Growth        (ความเจริ ญก้ าวหน้ า การเติบโต) ทังนี ้
                                                    ้
ความต้ องการทัง้ 3 กลุมนี ้อาจเกิดขึ ้นพร้ อมกันได้
                         ่
                                                                               20
2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer)



                          G : Growth


                          R : Relatedness

                          E : Existence
                                            21
2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer)




                                            22
ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory)

1. ทฤษฎีลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow)
               ้

2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์   (Alderfer)



 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland)
3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland)



4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์     (McGuire)

                                                          23
3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland)


         David McClelland (1961)        เป็ นอีกผู้หนึ่ง ซึงศึกษาเรื่ อง
                                                            ่
 ของแรงจูงใจและแนวคิดของแม็คเคลแลนด์คล้ ายกับอันเดอร์ เฟอร์
 ตรงที่แบ่งกลุ่มความต้ องการออกเป็ น 3 กลุ่ม และเห็นว่าการ
 เกิดขึ ้นของความต้ องการในแต่ละกลุ่มไม่จาเป็ นต้ องเป็ นอิสระจาก
 กัน กล่าวคือ สามารถเกิดขึ ้นได้ พร้ อมกัน และหากเกิดขึ ้นหรื อมีขึ ้น
 พร้ อมกันได้ ก็จะทาให้ บคคลนันมีแรงจูงใจในระดับที่สงมาก ความ
                         ุ     ้                          ู
 ต้ องการของมนุษย์ในทัศนะของแม็คเคลแลนด์ประกอบด้ วย
                                                                           David McClelland

       1. ความต้ องการที่จะเข้ ากลุ่ม (Need for Affiliation : nAff)

       2. ความต้ องการอานาจ (Need for Power: nPower)

       3. ความต้ องการประสบความสาเร็ จ (Need for Achievement : nAch)

                                                                                              24
3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland)

  1. ความต้ องการที่จะเข้ ากลุ่ม (Need for Affiliation : nAff)
       เป็ นส่วนหนึงของกลุม หรื อมีการดารงความสัมพันธ์ที่ดีกบบุคคลอื่น ซึงคล้ ายกับความ
                   ่     ่                                  ั            ่
ต้ องการทางสังคมของมาสโลว์ และความต้ องการที่มีความสัมพันธ์กบบุคคลอื่นของอัลเดอร์ เฟอร์
                                                                ั

  2. ความต้ องการอานาจ (Need for Power: nPower)
       ปรารถนาจะเป็ นผู้นา พยายามที่จะสร้ างอิทธิพล และอานาจจากการควบคุมเหนือบุคคลอื่น
ทาให้ ผ้ อื่นทาตามสิ่งที่ตนต้ องการทัง้ ๆ ที่ผ้ อื่นอาจไม่ตงใจจะทาเช่นนัน
         ู                                      ู          ั้           ้

   3. ความต้ องการประสบความสาเร็ จ (Need for Achievement : nAch)
      เป็ นความต้ องการอย่างแรงกล้ าที่จะได้ รับการยอมรับในความสาเร็จที่บางครังอาจเกิดควบคู่
                                                                              ้
กันกับความกลัวที่จะล้ มเหลว

                                                                                          25
ตารางเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องแรงจูงใจ
            ของ มาสโลว์ อัลเดอร์ เฟอร์ แม็คเคลแลนด์


         มาสโลว์             อัลเดอร์ เฟอร์       แม็คเคลแลนด์
         (Maslow)              (Alderfer)           (McClelland)
Self-Actualization       Growth               Achievement
Esteem
Social                   Relatedness          Affiliation
Security Physiological   Existence            -




                                                                   26
ตัวอย่ างโฆษณาทีสร้ างแรงจูงใจ
                ่

                             VDO Example

- โฆษณา Land & House : Your Signature (Achievement)

- โฆษณา MK : Friends      (Social, Relatedness)

- โฆษณา ไทยประกันชีวิต : คุณค่าของการมีชีวิตอยู่ (Security, Existence)




                                                                         27
ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory)

1. ทฤษฎีลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow)
               ้

2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์   (Alderfer)



3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์           (McClelland)



4. ทฤษฎีแรงกระตุ้น้ ทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire)
 4. ทฤษฎีแรงกระตุนทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire)
                                                             28
4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire)



                   ได้ เสนอทฤษฎีของแรงกระตุ้น ซึงแบ่งเป็ น 16 ประเภท โดยเริ่ มจากการแบ่งเป็ น
                            McGuire             ่
2 กลุ่มหลักด้ วยข้ อพิจารณา 2 ข้ อ คือ (1) เป็ นแรงจูงใจที่ เกี่ ยวกับการขบคิดหรื ออารมณ์
(Cognitive or Affective Mode of Motivation) และ (2) เป็ นแรงจูงใจที่เพ่งไปที่การรักษาสภาพ
เดิมหรื อการเติบโต (Status Quo or Growth Focused Motives) โดยแบ่งแรงจูงใจออกเป็ น 4
ชนิด ดังนี ้
                             แรงกระตุ้นที่เกี่ยวข้ องกับการขบคิด             แรงกระตุ้นที่เกี่ยวข้ องกับอารมณ์
 การเติบโต รั กษาสภาพเดิม




                              กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความขบคิด            กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความรู้ สึก
                                (Cognitive Preservation Motives)              (Affective Preservation Motives)




                            กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความขบคิด   กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความรู้ สึก
                                   (Cognitive Growth Motives)                    (Affective Growth Motives)


                                                                                                                          29
4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire)


1. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความขบคิด (Cognitive Preservation Motives)
  1. ความจาเป็ นต้ องมีความเสมอต้ นเสมอปลาย (Need for Consistency, Active or Internal)

  2. ความจาเป็ นต้ องมีการอ้ างต้ นเหตุ (Need for Attribution, Active or External)

  3. ความจาเป็ นต้ องมีการจัดประเภท (Need for Categorize, Passive or Internal)

  4. ความจาเป็ นต้ องมีการแสดงออกเป็ นรูปร่ าง (Need for Objectification, Passive or External)

2. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความขบคิด (Cognitive Growth Motives)
  5. ความจาเป็ นต้ องปกครองตนเอง (Need for Autonomy, Active or Internal)

  6. ความจาเป็ นต้ องมีการกระตุ้น (Need for Activation, Active or External)

  7. ความจาเป็ นต้ องมีความมุ่งหมาย (Teleological Need, Active or Internal)

  8. ความจาเป็ นต้ องมีประโยชน์ใช้ สอย (Utilitarian Need, Passive or External)
                                                                                         30
4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire)


3. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความรู้ สึก (Affective Preservation Motives)
   9. ความจาเป็ นต้ องลดความตึงเครี ยด (Need for Tension Reduction, Active or Internal)

   10. ความจาเป็ นต้ องแสดงออก (Need for Expression, Active or External)

   11. ความจาเป็ นต้ องปกปองความภาคภูมิใจตนเอง (Need for Ego Defense, Passive or Internal)
                          ้
   12. ความจาเป็ นต้ องตอกย ้า (Need for Reinforcement, Passive or External)

4. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความรู้ สึก (Affective Growth Motives)
   13. ความจาเป็ นต้ องอ้ างสิทธิ์ (Need for Assertion, Active or Internal)

   14. ความจาเป็ นต้ องมีความรัก (Need for Affiliation, Active or External)

   15. ความจาเป็ นต้ องต้ องทาให้ เหมือน (Need for Identification, Passive or Internal)

   16. ความจาเป็ นต้ องมีต้นแบบ (Need for Modeling, Passive or External)
                                                                                          31
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด
   (Motivation Theory and Marketing Theory)




                                                     32
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด
         กลยุ ทธ์ การตลาดที่มีรากฐานบนสิ่งจูงใจจานวนมาก (Marketing Strategy
Based on Multiple Motives) ถ้ ามีนกการตลาดถามท่านว่าทาไมจึงใส่กางเกงยีนส์ ที่น่าแปลก
                                     ั
ก็คือท่านอาจมีเหตุผลมากมาก เช่น กาลังฮิต เพื่อน ๆ ใช้ กน ชอบที่มนฟิ ตพอดี ดูแล้ วไม่เบื่อ เป็ น
                                                         ั         ั
ต้ น อย่างไรก็ดียงมีเหตุผลอีกหลายอย่างที่ท่านลังเลที่จะยอมรับ หรื อไม่ตวเองก็ยงนึกไม่ออก เช่น
                 ั                                                      ั     ั
แสดงถึง ความมี ฐานะ ต้ องตาเพศตรงข้ าม หรื อใส่แล้ วดูเด็กลง ซึ่งทังหมดเป็ นสิ่งจูง ใจและมี
                                                                      ้
อิทธิพลต่อการซื ้อกางเกงยีนส์ดงกล่าวนันเอง
                               ั       ้




                                                                                              33
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด
       สิ่งจูงใจกลุ่มแรกนี ้ผู้บริ โภครับรู้อยู่แล้ วและยอมรับกับนักการตลาดด้ วย เรี ยกว่า สิ่งจูงใจ
ที่แสดงออก (Manifest Motives) เป็ นสิ่งจูงใจที่สอดคล้ องกับระบบค่านิยมที่ครอบงาสังคม
ซึงมีแนวโน้ มที่จะแสดงออกมากกว่าสิ่งจูงใจที่ขดแย้ งกับค่านิยม
  ่                                                   ั

       สิ่งจูงใจกลุ่มที่สองนันผู้บริ โภคไม่ร้ ู หรื อผู้บริ โภครู้แต่ลงเลที่จะยอมรับมัน นันคือ สิ่งจูงใจ
                             ้                                        ั                   ่
ที่ซ่อนเร้ น (Latent Motives) สิ่งจูงใจทังสองอย่าง หรื ออย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวจะมี
                                                ้
อิทธิพลต่อการซื ้อได้




                                                                                                       34
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด
  สิ่งจูงใจที่แสดงออก                พฤติกรรมการซือ
                                                  ้                       สิ่งจูงใจซ่ อนเร้ น


   รถใหญ่สะดวกสบาย                                                       แสดงให้ เห็นว่ามีฐานะ
                                                                        และประสบความสาเร็จ

     รถคุณภาพสูง                        ซื ้อรถยี่ห้อเบนซ์


   เพื่อน ๆ ก็ขบเบนซ์
               ั                                                      เป็ นรถที่ดงดูดเพศตรงข้ าม
                                                                                 ึ


             การเชื่อมระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งจูงใจที่เป็ นที่ร้ ูจกกันและเป็ นที่ยอมรับ
                                                                 ั
             การเชื่อมระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งจูงใจที่ผ้ บริ โภคลังเลที่จะยอมรับหรื อเปิ ดเผยมัน
                                                       ู
                                                                                                35
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด
ความจาเป็ นทางสรีระ
ผลิตภัณฑ์ : อาหารสุขภาพ ยารักษาโรค เครื่ องดื่ม อาหารไขมันต่า เครื่ องออกกาลังกาย

ความจาเป็ นทางด้ านความมั่นคง ปลอดภัย
ผลิตภัณฑ์ : ประกันภัย บริ การเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย สัญญาณกันขโมย

ความจาเป็ นทางด้ านสังคม
ผลิตภัณฑ์ : เครื่ องสาอาง ผลิตภัณฑ์บารุงผิว อาหาร ความบันเทิง เสื ้อผ้ า

ความภาคภูมใจในตนเอง
             ิ
ผลิตภัณฑ์ : เสื ้อผ้ า เครื่ องตกแต่งบ้ าน สุรา ไวน์ งานอดิเรก ร้ านค้ า รถยนต์

ความสาเร็จส่ วนตัว
ผลิตภัณฑ์ : การศึกษา งานอดิเรก กีฬา การพักผ่อนวันหยุด พิพิธภัณฑ์
                                                                                    36
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด
ความจาเป็ นทางสรีระ
ผลิตภัณฑ์ : อาหารสุขภาพ ยารักษาโรค เครื่ องดื่ม อาหารไขมันต่า เครื่ องออกกาลังกาย

ความจาเป็ นทางด้ านความมั่นคง ปลอดภัย
ผลิตภัณฑ์ : ประกันภัย บริ การเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย สัญญาณกันขโมย

ความจาเป็ นทางด้ านสังคม
ผลิตภัณฑ์ : เครื่ องสาอาง ผลิตภัณฑ์บารุงผิว อาหาร ความบันเทิง เสื ้อผ้ า

ความภาคภูมใจในตนเอง
             ิ
ผลิตภัณฑ์ : เสื ้อผ้ า เครื่ องตกแต่งบ้ าน สุรา ไวน์ งานอดิเรก ร้ านค้ า รถยนต์

ความสาเร็จส่ วนตัว
ผลิตภัณฑ์ : การศึกษา งานอดิเรก กีฬา การพักผ่อนวันหยุด พิพิธภัณฑ์
                                                                                    37
SUMMARY
   &
QUESTION

           38

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวิเครา Swot
การวิเครา Swotการวิเครา Swot
การวิเครา Swotjanjirapansri
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 

Mais procurados (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
การวิเครา Swot
การวิเครา Swotการวิเครา Swot
การวิเครา Swot
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 

Destaque

บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคUsableLabs
 
บทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขายบทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขายetcenterrbru
 
การส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาดการส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาดamp nittaya
 
ความต้องการ
ความต้องการความต้องการ
ความต้องการSusu Zaza
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00JeenNe915
 

Destaque (6)

บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
 
บทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขายบทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
 
การส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาดการส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาด
 
ความต้องการ
ความต้องการความต้องการ
ความต้องการ
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
 

Semelhante a Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค

Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00JeenNe915
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00JeenNe915
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อtiffany14021975
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับเรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับsupatra39
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0Yota Bhikkhu
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อsupatra39
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00JeenNe915
 

Semelhante a Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค (20)

1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
Need esteem
Need  esteemNeed  esteem
Need esteem
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อ
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับเรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
Pb
PbPb
Pb
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 

Mais de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Mais de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
 
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
 
IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)
 

Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค

  • 1. Motivation and Consumer Behavior แรงจูงใจกับพฤติกรรมผู้บริโภค Watjana Poopanee Mahasarakham Business School Mahasarakham University E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th 1
  • 2. เนือหา ้ • ความหมาย และคาจากัดความของการจูงใจ (Motivation) • รูปแบบจาลองของกระบวนการจูงใจ • Need (ความจาเป็ น) • Goal (เปาหมาย) ้ • ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory) • การประยุกต์ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ทางการตลาด 2
  • 3. 3
  • 4. Motivation VS Motive Motivation (แรงจูงใจ) คือ สภาวะที่ถกกระตุ้น (Activated State) ภายในแต่ ู ละคน ซึงนาไปสูพฤติกรรมที่มีจดมุ่งหมาย หรื อเป็ นเหตุผลของพฤติกรรมแต่ละครัง ่ ่ ุ ้ Motive (แรงกระตุ้น) คือ ลักษณะทางจิตวิทยาชนิดหนึ่ง ซึงเป็ นตัวแทนของพลัง ่ ภายในที่มองไม่เห็น (Unobservable) ทาหน้ าที่กระตุ้น (Stimulate) และออกแรงบังคับ (Compel) ให้ มีปฏิ กิริยาตอบสนอง (Response) ตลอดจนให้ ทิศทางที่ ชดเจนสาหรั บการ ั ตอบสนองนัน ๆ (คาว่าแรงจูงใจและแรงกระตุ้นนามาใช้ แทนที่กนได้ ) ้ ั 4
  • 5. รูปแบบจาลองของกระบวนการจูงใจ การเรี ยนรู้ ความต้ องการที่ยัง เปาหมายหรื อการ ้ ไม่ ได้ รับการ การยอมรั บว่ ามี สภาวะของแรง พฤติกรรม ตอบสนองความ ตอบสนอง ความจาเป็ น ขับเคลื่อน ต้ องการ (Latent Need) กระบวนการทาง ความคิด การลดความตึง เครี ยด 5
  • 6. ตัวอย่ างรูปแบบจาลองของกระบวนการจูงใจ การเรี ยนรู้ ความต้ องการที่ยัง เห็นโฆษณาพิซซ่ า - พิซซ่ า มาส่ ง ไม่ ได้ รับการ รู้ สึกหิว โทรศัพท์ ส่ งพิซซ่ า ั น่ ากินมาก - กินพิซซ่ า ตอบสนอง (Delivery) (ได้ รับการตอบสนอง) (Latent Need) กระบวนการทาง ความคิด หายหิว 6
  • 7. Need (ความจาเป็ น) ความจาเป็ น (Need) คือ ความต้ องการในปั จจัยแห่งการดารงชีวิตที่มนุษย์ ขาด ไม่ได้ หากพิจารณาจากแหล่งกาเนิดแบ่งได้ 2 กลุ่มคือ (1) เกิดขึ ้นตามธรรมชาติ (Innate Needs) เช่น ความจาเป็ นเรื่ องอาหาร นา อากาศ (2) ความจาเป็ นที่ เกิ ดจากการเรี ยนรู้ ้ (Learned Needs) โดยกระบวนการกลุมเกลาทางสังคม ่ เมื่ อ การแบ่ง ความจ าเป็ นตามแหล่ง ก าเนิ ด และล าดับ การเกิ ด (Source and Sequence) พบว่ามีประโยชน์ทางด้ านการตลาดมากกว่าการแบ่งตามวิธีข้างต้ น แต่สาหรับวิธี นี ้มี 2 ชนิด คือ (1) ความจาเป็ นที่เกี่ยวกับสรี ระและเกิดขึนตามธรรมชาติ เรี ยกว่า “ความ ้ จาเป็ นเบื ้องต้ น (Primary Needs or Primary Motives) หรื อ “ความจาเป็ นทางกายภาพ (Physiological Needs) เช่น ความจาเป็ นด้ านอาหาร น ้า อากาศ เสื ้อผ้ า ยารักษาโรค เป็ นต้ น (2) ความจาเป็ นที่เกิดขึนจากการเรี ยนรู้ และเกิดขึนภายหลัง เรี ยกว่า “ความ ้ ้ จาเป็ นทางจิตวิทยา (Psychological Needs) เช่น ความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Esteem Need) ความมีชื่อเสียง (Prestige Need) เป็ นต้ น 7
  • 8. Goal (เปาหมาย) ้ เปาหมาย (Goal) ทุกพฤติกรรมของผู้บริ โภคล้ วนมีเปาหมายซึงอาจเรี ยกว่า “วัตถุ ้ ้ ่ เร่ งเร้ า (Incentive Object) สาหรับเปาหมายที่เกี่ ยวข้ องกับการตลาดมี 2 ชนิด คือ ้ (1) เปาหมายทัวไป (Generic Goals) และ (2) เปาหมายที่เจาะจงผลิตภัณฑ์ (Product- ้ ่ ้ specific Goals) (1) เปาหมายทั่วไป (Generic Goal) คือ กลุ่มของเปาหมายซึ่งผู้บริ โภคเห็นว่า ้ ้ สามารถตอบสนองความต้ องการ (Want) และความจาเป็ น (Needs) ต่าง ๆ ของตนได้ เช่น ถ้ า ผู้บริ โภครายหนึงบอกว่าตนเองกาลังหิว หมายความว่าเขามีความจาเป็ นต้ องรับประทานอาหาร ่ การรับประทานอาหาร (ชนิดใดก็ได้ ) เป็ นเปาหมายทัวไป ้ ่ (2) เปาหมายที่เจาะจงผลิตภัณฑ์ (Product-specific Goal) คือ สินค้ าที่มีปาย ้ ้ ฉลากหรื อ ตรายี่ ห้อ ที่ ผ้ ูบ ริ โ ภคเลื อ กมาตอบสนองความต้ อ งการของตนโดยเฉพาะ เช่ น ถ้ า ผู้บริ โภครายหนึ่งบอกว่าตนเองกาลังหิว และระบุว่าต้ องการรับประทานพิซซ่าให้ หายหิวนัน ้ ความต้ องการในการรับประทานพิซซ่าคือเปาหมายที่เจาะจงผลิตภัณฑ์นนเอง ้ ั่ 8
  • 9. ตัวอย่ างลาดับชันของเปาหมาย ้ ้ ดีดู มีเสน่ห์ต่อเพศ เปาหมายสูงสุด ้ เพิ่มความมันใจใน ่ สุขภาพดี ตรงข้ าม หรื อเพศ (Super Ordinate Goals) ตัวเอง เดียวกัน เปาหมายหลัก ้ (Focal Goal) ลดน ้าหนัก เปาหมายรอง ้ ออกกาลังกาย ควบคุมอาหาร (Subordinate Goals) 9
  • 11. ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory) 1. ทฤษฎีลลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์(Maslow) 1. ทฤษฎี าดับขัน้ ความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow) ้ 2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer) 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) 11
  • 12. 1. ทฤษฎีลาดับขั้นความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow) Abraham Maslow (อับบราฮัม มาสโลว์) ได้ นาเสนอเรื่ องความต้ องการของมนุษย์ในองค์การเป็ นเรื่ องที่ ผู้บริ หารต้ องเอาใจใส่ เพราะความต้ องการมีผลต่อทัศนคติ และพฤติกรรมในการทางานของพนักงาน สมมุติ ฐ านที่ ใ ช้ อ ธิ บ ายทฤษฏี แ รงจูง ใจของมาสโลว์ Abraham Maslow ประกอบด้ วย 1. มนุษย์มีความต้ องการที่ไม่สิ ้นสุด 2. ความต้ องการในระดับล่างต้ องได้ รับการตอบสนองก่อนจึงจะเริ่ มมีความต้ องการในขันต่อไป ้ 3. ความต้ องการของมนุษย์มีความสลับซับซ้ อน 12
  • 13. ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow 13
  • 14. ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Physiological needs คือ ความต้ องการทางกายภาพที่สามารถดารงชีพ อยู่ได้ ได้ แก่ อาหาร นา ที่อยู่อาศัย ้ 14
  • 15. ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Safety คือ ความต้ องการถึงความปลอดภัย ทังจากโรคภัยไข้ เจ็บและความ ้ ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์ สน ิ ิ 15
  • 16. ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Love/Social คือ ความต้ องการการเข้ าสังคมและการยอมรั บจากสังคม ภายนอกร่ วมถึงต้ องการความรั ก 16
  • 17. ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Esteem คือ ความต้ องการที่จะได้ รับการยกย่ องเชิดชู อาจจะต้ องการการ เลื่อนตาแหน่ งในองค์ การ หรื อรั บรางวัลจากการทางาน 17
  • 18. ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Self-Actualization คือ ความต้ องการขันสูงสุดของมนุษย์ ซ่ งหมายถึงการ ้ ึ เข้ าใจตัวเอง เข้ าใจโลก เข้ าใจธรรมชาติ หรื อความสาเร็จในสิ่งที่ตนเองต้ องการ จะเป็ น หรื อต้ องการจะทา 18
  • 19. ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory) 1. ทฤษฎีลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow) ้ 2. ทฤษฎี ERG ของอัลลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer) 2. ทฤษฎี ERG ของอั เดอร์ เฟอร์ (Alderfer) 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) 19
  • 20. 2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer) ความคิดของมาสโลว์ถกทักท้ วงโดยเคลย์ตน ู ั อัลเดอร์ เฟอร์ (Clayton Alderfer, 1972) แห่ง มหาวิทยาลัยเยล ซึ่งไม่เห็นด้ วยกับการก้ าวอย่างเป็ น ล าดั บ ขั น บนปิ รามิ ด ของความต้ องการ จึ ง ได้ น า ้ ทฤษฎี ล าดั บ ขั น ความต้ องการของมาส โลว์ ม า ้ ปรั บ ปรุ ง และจั ด กลุ่ ม ความต้ องการของมนุ ษ ย์ ออกเป็ น 3 กลุมและเกิดเป็ นทฤษฎีที่เรี ยกว่า ERG ซึง ่ ่ Clayton Alderfer ย่อมาจาก Existence (ความต้ องการที่จะดารงอยู่) Relatedness (ความสัมพันธ์ กับบุคคลอื่ น ) และ Growth (ความเจริ ญก้ าวหน้ า การเติบโต) ทังนี ้ ้ ความต้ องการทัง้ 3 กลุมนี ้อาจเกิดขึ ้นพร้ อมกันได้ ่ 20
  • 21. 2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer) G : Growth R : Relatedness E : Existence 21
  • 22. 2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer) 22
  • 23. ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory) 1. ทฤษฎีลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow) ้ 2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer) 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) 23
  • 24. 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) David McClelland (1961) เป็ นอีกผู้หนึ่ง ซึงศึกษาเรื่ อง ่ ของแรงจูงใจและแนวคิดของแม็คเคลแลนด์คล้ ายกับอันเดอร์ เฟอร์ ตรงที่แบ่งกลุ่มความต้ องการออกเป็ น 3 กลุ่ม และเห็นว่าการ เกิดขึ ้นของความต้ องการในแต่ละกลุ่มไม่จาเป็ นต้ องเป็ นอิสระจาก กัน กล่าวคือ สามารถเกิดขึ ้นได้ พร้ อมกัน และหากเกิดขึ ้นหรื อมีขึ ้น พร้ อมกันได้ ก็จะทาให้ บคคลนันมีแรงจูงใจในระดับที่สงมาก ความ ุ ้ ู ต้ องการของมนุษย์ในทัศนะของแม็คเคลแลนด์ประกอบด้ วย David McClelland 1. ความต้ องการที่จะเข้ ากลุ่ม (Need for Affiliation : nAff) 2. ความต้ องการอานาจ (Need for Power: nPower) 3. ความต้ องการประสบความสาเร็ จ (Need for Achievement : nAch) 24
  • 25. 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) 1. ความต้ องการที่จะเข้ ากลุ่ม (Need for Affiliation : nAff) เป็ นส่วนหนึงของกลุม หรื อมีการดารงความสัมพันธ์ที่ดีกบบุคคลอื่น ซึงคล้ ายกับความ ่ ่ ั ่ ต้ องการทางสังคมของมาสโลว์ และความต้ องการที่มีความสัมพันธ์กบบุคคลอื่นของอัลเดอร์ เฟอร์ ั 2. ความต้ องการอานาจ (Need for Power: nPower) ปรารถนาจะเป็ นผู้นา พยายามที่จะสร้ างอิทธิพล และอานาจจากการควบคุมเหนือบุคคลอื่น ทาให้ ผ้ อื่นทาตามสิ่งที่ตนต้ องการทัง้ ๆ ที่ผ้ อื่นอาจไม่ตงใจจะทาเช่นนัน ู ู ั้ ้ 3. ความต้ องการประสบความสาเร็ จ (Need for Achievement : nAch) เป็ นความต้ องการอย่างแรงกล้ าที่จะได้ รับการยอมรับในความสาเร็จที่บางครังอาจเกิดควบคู่ ้ กันกับความกลัวที่จะล้ มเหลว 25
  • 26. ตารางเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องแรงจูงใจ ของ มาสโลว์ อัลเดอร์ เฟอร์ แม็คเคลแลนด์ มาสโลว์ อัลเดอร์ เฟอร์ แม็คเคลแลนด์ (Maslow) (Alderfer) (McClelland) Self-Actualization Growth Achievement Esteem Social Relatedness Affiliation Security Physiological Existence - 26
  • 27. ตัวอย่ างโฆษณาทีสร้ างแรงจูงใจ ่ VDO Example - โฆษณา Land & House : Your Signature (Achievement) - โฆษณา MK : Friends (Social, Relatedness) - โฆษณา ไทยประกันชีวิต : คุณค่าของการมีชีวิตอยู่ (Security, Existence) 27
  • 28. ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory) 1. ทฤษฎีลาดับขันความต้ องการของมาสโลว์ (Maslow) ้ 2. ทฤษฎี ERG ของอัลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer) 3. ทฤษฎีความต้ องการของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้น้ ทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) 4. ทฤษฎีแรงกระตุนทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) 28
  • 29. 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) ได้ เสนอทฤษฎีของแรงกระตุ้น ซึงแบ่งเป็ น 16 ประเภท โดยเริ่ มจากการแบ่งเป็ น McGuire ่ 2 กลุ่มหลักด้ วยข้ อพิจารณา 2 ข้ อ คือ (1) เป็ นแรงจูงใจที่ เกี่ ยวกับการขบคิดหรื ออารมณ์ (Cognitive or Affective Mode of Motivation) และ (2) เป็ นแรงจูงใจที่เพ่งไปที่การรักษาสภาพ เดิมหรื อการเติบโต (Status Quo or Growth Focused Motives) โดยแบ่งแรงจูงใจออกเป็ น 4 ชนิด ดังนี ้ แรงกระตุ้นที่เกี่ยวข้ องกับการขบคิด แรงกระตุ้นที่เกี่ยวข้ องกับอารมณ์ การเติบโต รั กษาสภาพเดิม กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความขบคิด กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความรู้ สึก (Cognitive Preservation Motives) (Affective Preservation Motives) กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความขบคิด กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความรู้ สึก (Cognitive Growth Motives) (Affective Growth Motives) 29
  • 30. 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) 1. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความขบคิด (Cognitive Preservation Motives) 1. ความจาเป็ นต้ องมีความเสมอต้ นเสมอปลาย (Need for Consistency, Active or Internal) 2. ความจาเป็ นต้ องมีการอ้ างต้ นเหตุ (Need for Attribution, Active or External) 3. ความจาเป็ นต้ องมีการจัดประเภท (Need for Categorize, Passive or Internal) 4. ความจาเป็ นต้ องมีการแสดงออกเป็ นรูปร่ าง (Need for Objectification, Passive or External) 2. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความขบคิด (Cognitive Growth Motives) 5. ความจาเป็ นต้ องปกครองตนเอง (Need for Autonomy, Active or Internal) 6. ความจาเป็ นต้ องมีการกระตุ้น (Need for Activation, Active or External) 7. ความจาเป็ นต้ องมีความมุ่งหมาย (Teleological Need, Active or Internal) 8. ความจาเป็ นต้ องมีประโยชน์ใช้ สอย (Utilitarian Need, Passive or External) 30
  • 31. 4. ทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของแม็คไควร์ (McGuire) 3. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อคงสภาพความรู้ สึก (Affective Preservation Motives) 9. ความจาเป็ นต้ องลดความตึงเครี ยด (Need for Tension Reduction, Active or Internal) 10. ความจาเป็ นต้ องแสดงออก (Need for Expression, Active or External) 11. ความจาเป็ นต้ องปกปองความภาคภูมิใจตนเอง (Need for Ego Defense, Passive or Internal) ้ 12. ความจาเป็ นต้ องตอกย ้า (Need for Reinforcement, Passive or External) 4. กลุ่มแรงกระตุ้นเพื่อการเติบโตด้ านความรู้ สึก (Affective Growth Motives) 13. ความจาเป็ นต้ องอ้ างสิทธิ์ (Need for Assertion, Active or Internal) 14. ความจาเป็ นต้ องมีความรัก (Need for Affiliation, Active or External) 15. ความจาเป็ นต้ องต้ องทาให้ เหมือน (Need for Identification, Passive or Internal) 16. ความจาเป็ นต้ องมีต้นแบบ (Need for Modeling, Passive or External) 31
  • 32. การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด (Motivation Theory and Marketing Theory) 32
  • 33. การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด กลยุ ทธ์ การตลาดที่มีรากฐานบนสิ่งจูงใจจานวนมาก (Marketing Strategy Based on Multiple Motives) ถ้ ามีนกการตลาดถามท่านว่าทาไมจึงใส่กางเกงยีนส์ ที่น่าแปลก ั ก็คือท่านอาจมีเหตุผลมากมาก เช่น กาลังฮิต เพื่อน ๆ ใช้ กน ชอบที่มนฟิ ตพอดี ดูแล้ วไม่เบื่อ เป็ น ั ั ต้ น อย่างไรก็ดียงมีเหตุผลอีกหลายอย่างที่ท่านลังเลที่จะยอมรับ หรื อไม่ตวเองก็ยงนึกไม่ออก เช่น ั ั ั แสดงถึง ความมี ฐานะ ต้ องตาเพศตรงข้ าม หรื อใส่แล้ วดูเด็กลง ซึ่งทังหมดเป็ นสิ่งจูง ใจและมี ้ อิทธิพลต่อการซื ้อกางเกงยีนส์ดงกล่าวนันเอง ั ้ 33
  • 34. การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด สิ่งจูงใจกลุ่มแรกนี ้ผู้บริ โภครับรู้อยู่แล้ วและยอมรับกับนักการตลาดด้ วย เรี ยกว่า สิ่งจูงใจ ที่แสดงออก (Manifest Motives) เป็ นสิ่งจูงใจที่สอดคล้ องกับระบบค่านิยมที่ครอบงาสังคม ซึงมีแนวโน้ มที่จะแสดงออกมากกว่าสิ่งจูงใจที่ขดแย้ งกับค่านิยม ่ ั สิ่งจูงใจกลุ่มที่สองนันผู้บริ โภคไม่ร้ ู หรื อผู้บริ โภครู้แต่ลงเลที่จะยอมรับมัน นันคือ สิ่งจูงใจ ้ ั ่ ที่ซ่อนเร้ น (Latent Motives) สิ่งจูงใจทังสองอย่าง หรื ออย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวจะมี ้ อิทธิพลต่อการซื ้อได้ 34
  • 35. การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด สิ่งจูงใจที่แสดงออก พฤติกรรมการซือ ้ สิ่งจูงใจซ่ อนเร้ น รถใหญ่สะดวกสบาย แสดงให้ เห็นว่ามีฐานะ และประสบความสาเร็จ รถคุณภาพสูง ซื ้อรถยี่ห้อเบนซ์ เพื่อน ๆ ก็ขบเบนซ์ ั เป็ นรถที่ดงดูดเพศตรงข้ าม ึ การเชื่อมระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งจูงใจที่เป็ นที่ร้ ูจกกันและเป็ นที่ยอมรับ ั การเชื่อมระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งจูงใจที่ผ้ บริ โภคลังเลที่จะยอมรับหรื อเปิ ดเผยมัน ู 35
  • 36. การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด ความจาเป็ นทางสรีระ ผลิตภัณฑ์ : อาหารสุขภาพ ยารักษาโรค เครื่ องดื่ม อาหารไขมันต่า เครื่ องออกกาลังกาย ความจาเป็ นทางด้ านความมั่นคง ปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ : ประกันภัย บริ การเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย สัญญาณกันขโมย ความจาเป็ นทางด้ านสังคม ผลิตภัณฑ์ : เครื่ องสาอาง ผลิตภัณฑ์บารุงผิว อาหาร ความบันเทิง เสื ้อผ้ า ความภาคภูมใจในตนเอง ิ ผลิตภัณฑ์ : เสื ้อผ้ า เครื่ องตกแต่งบ้ าน สุรา ไวน์ งานอดิเรก ร้ านค้ า รถยนต์ ความสาเร็จส่ วนตัว ผลิตภัณฑ์ : การศึกษา งานอดิเรก กีฬา การพักผ่อนวันหยุด พิพิธภัณฑ์ 36
  • 37. การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีการจูงใจกับกลยุทธ์ ทางการตลาด ความจาเป็ นทางสรีระ ผลิตภัณฑ์ : อาหารสุขภาพ ยารักษาโรค เครื่ องดื่ม อาหารไขมันต่า เครื่ องออกกาลังกาย ความจาเป็ นทางด้ านความมั่นคง ปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ : ประกันภัย บริ การเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย สัญญาณกันขโมย ความจาเป็ นทางด้ านสังคม ผลิตภัณฑ์ : เครื่ องสาอาง ผลิตภัณฑ์บารุงผิว อาหาร ความบันเทิง เสื ้อผ้ า ความภาคภูมใจในตนเอง ิ ผลิตภัณฑ์ : เสื ้อผ้ า เครื่ องตกแต่งบ้ าน สุรา ไวน์ งานอดิเรก ร้ านค้ า รถยนต์ ความสาเร็จส่ วนตัว ผลิตภัณฑ์ : การศึกษา งานอดิเรก กีฬา การพักผ่อนวันหยุด พิพิธภัณฑ์ 37
  • 38. SUMMARY & QUESTION 38