SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
ศาลรัฐธรรมนูญไทย : แนวคิด ที่มา หลักการ
โดย นายอนุรกษ นิยมเวช
ั
สมาชิกวุฒิสภา
ประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีสวนรวมของประชาชน วุฒิสภา
กฎหมายรัฐธรรมนูญมีสถานะทางกฎหมายที่มีลําดับศักดิ์สูงสุด เนื่องจากเปนกฎหมายที่กอตั้งองคกร
ทางการเมืองหรือกําหนดโครงสรางทางการเมืองของรัฐ และเปนกฎหมายที่มีระบบการจัดทําที่เปนพิเศษกวา
กฎหมายทั่วไป การเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญสงผลใหการที่กฎหมายใดก็ตามขัดหรือแยงก็ไมอาจ
บังคับใชได ประกอบกับรัฐธรรมนูญไดมีการวางกฎเกณฑการปกครองและอํานาจหนาที่ขององคกรตางๆเปนไป
ตามหลักการแบงแยกองคกรผูใชอํานาจอธิปไตย พรอมทั้งกําหนดใหมีการควบคุมและตรวจสอบการใชอํานาจ
ขององคกรเหลานั้นใหเปนไปตามวิถีทางของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉพาะการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ทั้งยังมีการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อพิทักษสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ไมใหถูกกระทําโดยรัฐ และตรวจสอบอํานาจรวมถึงถวงดุลอํานาจฝายบริหาร ศาลรัฐธรรมนูญจึงถือเปนที่พึ่งของ
ประชาชน เพื่อทําใหบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเปนจริงและไดรับการคุมครอง
การนําศาลรัฐธรรมนูญเขามาใชในระบบกฎหมายไทยนั้น นับตั้งแตมีการปฏิรูปการเมืองครั้งที่๑ โดย
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งเปนการนําแนวความคิดของศาลรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมันมาใชในระบบ
กฎหมายไทย โดยศาลรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมันนั้นถือไดวาเปนสัญลักษณของการปฏิรูประบบการเมือง
แบบรัฐสภาที่ถือเสียงขางมากเปนใหญ โดยระบบรวมศูนยอานาจแบบ Centralized system ของประเทศ
ํ
เยอรมันจัดใหมีองคกรเดี่ยว (single judicial organ) แบบศูนยรวมอํานาจและมีหนาที่ในการพิจารณา
ปญหาชี้ขาดขอพิพาทอันเกี่ยวเนื่องกับรัฐธรรมนูญ ซึ่งก็คือศาลรัฐธรรมนูญแหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
ศาลรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมันนั้น มิใชสวนหนึ่งของระบบศาลยุติธรรม (judicial court
system) ศาลรัฐธรรมนูญในเยอรมันทําหนาที่สองสวนดวยกัน (dual roles) คือ หนึ่งเปนศาลยุติธรรม
(court of justice) และสอง ผูพิทักษปกปองรัฐธรรมนูญ (warden of the constitution) ซึ่ง
บทบาทสวนที่สองนี้เองที่นักรัฐศาสตรในเยอรมันยอมรับวา ศาลสูงสุดของเยอรมันเองนับเปนหนวยงานหรือ
องคกรทางการเมือง (political body) หนวยหนึ่งเชนกัน ทั้งนี้ ประเทศเยอรมันเปนประเทศที่ถือหลัก
ความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ (supremacy of constitution) ซึ่งแตกตางจากประเทศที่ถือ
หลักความมีอํานาจสูงสุดของรัฐสภา (supremacy of parliament) ดังนั้น ประเทศเสรีประชาธิปไตยที่
ใชระบบรัฐสภาและถือหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญจะตองมีการตรวจสอบเสียงขางมากของ
รัฐสภาวาอยูภายในขอบเขตของรัฐธรรมนูญหรือไม โดยมีศาลรัฐธรรมนูญเปนองคกรในการสรางดุลยภาพ
ระหวางระบบเสียงขางมากโดยพรรคการเมืองกับการเคารพหลักการของรัฐธรรมนูญ
สําหรับประเทศเยอรมัน ความเปนมาขององคกรศาลรัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
เมื่อป ค.ศ. ๑๙๔๕ ซึ่งเยอรมันตองการสรางประเทศใหมหลังการพายแพสงครามโลก โดยความพยายามในการ
จัดทํารัฐธรรมนูญเพื่อใหมีกลไกในการปองกันตนเองจากการเผชิญหนากับปญหาที่มีตอหลักการประชาธิปไตย
(บทเรียนในยุคสมัยของฮิตเลอร) โดยการสรางองคกรขึ้นมาตรวจสอบสถาบันทางการเมืองโดยเฉพาะฝายนิติ
บัญญัติ และฝายบริหาร เพื่อมิใหมีการละเมิดหลักการของกฎหมายพื้นฐาน (Basic
law)
ของ
สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน ศาลรัฐธรรมนูญเยอรมันจึงทําหนาที่ในการตรวจสอบการวินิจฉัยขององคกรนิติ
บัญญัติกับความชอบตามรัฐธรรมนูญ
นอกจากนี้ แนวความคิ ด เรื่ อ งอํ า นาจสถาปนารั ฐ ธรรมนู ญ เปน ของปวงชนในประเทศเยอรมัน นั้ น
อํานาจกอตั้งการปกครอง หรืออํานาจสถาปนาของประชาชนเริ่มปรากฎขึ้นในตนศตวรรษที่ ๒๐ โดยผลงานทาง
ตําราของ Georg Jellinek ปราชญใหญทางทฤษฎีวาดวยรัฐของยุคนั้น ซึ่งถือกันวาเปนผูวางรากฐานใหแก
ระบอบรัฐธรรมนูญไวมารที่จะเกิดขึ้นในเวลาตอมา Jellinek มองวา รัฐกับประชาชนเปนสิ่งเดียวกันและ
อํานาจกอตั้งการปกครอง หรือสถาปนารัฐธรรมนูญ (pouvour constituent) นั้นเปนอํานาจของปวงชน
ไมใชประชาชน โดยไดชี้ใหเห็นวา ความคิดเรื่องอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญหรืออํานาจตั้งการปกครองแผนดิน
ที่วาเปนของประชาชนนั้นมีจุดออน และควรใชคําวา “ปวงชน” แทน โดยอธิบายวา ปวงชน ตางจากประชาชน
แตละคนมารวมกัน เพราะปวงชนตองมีสถานะเปนที่เขากันเปนอันหนึ่งอันเดียวที่เปนเอกภาพ แยกออกจาก
ประชาชน โดยประชาชนที่เขากันเปนอันหนึ่งอันเดียวกันจนเรียกไดวาปวงชนนี้ ก็คือ ประชาชนที่ยกระดับขึ้นจน
เกิดความเปนปกแผนอันเดียวกันและสามารถแสดงเจตนาของปวงชนออกมาไดอยางเปนเอกภาพ แยกออกจาก
ประชาชน ซึ่งจะเกิดขึ้นไดเมื่อไดวางเกณฑทางกฎหมายใหเปนที่รับรูได ดวยเหตุนี้บอเกิดของอํานาจการปกครอง
จึงไมไดมาจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่มีมากอนจะเปนรัฐ แตเปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาพรอมๆกันกับการที่ปวงชนผนึกกันเขา
เปนรัฐ และรัฐในที่นี้ก็อาจจะมีรูปแบบแตกตางกันไปได คืออาจเปนแบบราชาธิปไตย โดยมีประชาชนผนึกกัน
เปนปกแผนโดยอาศัยองคกษัตริยเปนศูนยรวม หรือจะเปนแบบสาธารณรัฐผานสภาผูแทนราษฎรก็ได นอกจากนี้
Carl Smith ไดอธิบายวา อํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญไมใชอํานาจที่อยูในมือขององคกรตามกฎหมาย
รั ฐ ธรรมนู ญ แต เ ป น อํ า นาจที่ อ ยู เ หนื อ และอยู น อกรั ฐ ธรรมนู ญ อี ก ที แ ละเป น อํ า นาจที่ ท รงและรั ก ษาไว ซึ่ ง
รัฐธรรมนูญ โดยรัฐธรรมนูญเปรียบเสมือนบานและอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญเปรียบเสมือนรากฐานและคนที่
สรางบานนั้นขึ้นมา การดําเนินการทางการเมืองและทางกฎหมายจึงตองคํานึงถึงการเชื่อมโยงอํานาจทั้งอํานาจ
ตามรัฐธรรมนูญและอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญทั้งสองอยางนี้ใหเขาดวยกันอยางลงตัวเสมอ
สําหรับประเทศไทยซึ่งไดนําแนวคิดและหลักการเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและศาลรัฐธรรมนูญของประเทศ
เยอรมันมาใช โดยศาลรัฐธรรมนูญไทยทําหนาที่สองสวนดวยกันคือเปนศาลยุติธรรมและเปนสถาบันพิทักษ
ปกปองรัฐธรรมนูญ โดยเปนประเทศที่ถือหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ และมีศาลรัฐธรรมนูญ
เปนองคกรในการตรวจสอบการใชอํานาจของรัฐสภาวาอยูภายในขอบเขตของรัฐธรรมนูญหรือไม โดยระบบการ
ควบคุมตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญของไทยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐
ตางเปนรัฐธรรมนูญที่กําหนดใหศาลรัฐธรรมนูญเปนองคกรในการตรวจสอบถวงดุลเสียงขางมากในสภา เพราะ
เสียงขางนอยในสภา ไมสามารถถวงดุลกับเสียงขางมากในสภาได กลาวคือ รัฐที่ถือ “หลักความเปนกฎหมาย
สูงสุดของรัฐธรรมนูญ” รัฐสภาโดยเสียงขางมากยอมมีขอบเขตตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว และกรณีที่มีปญหา
วารัฐสถาโดยเสียงขางมากกระทําการเกินขอบเขตของรัฐธรรมนูญหรือไมยอมเปนอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่
จะวินิจฉัยเพื่อปกปอง “หลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ” สวนในเรื่องของ องคกรที่รับอํานาจจาก
รั ฐ ธรรมนู ญ กั บ องค ก รที่ ใ ห อํ า นาจรั ฐ ธรรมนู ญ โดยหลั ก ทั่ ว ไปแล ว องค ก รทั้ ง หลายที่ ถู ก ก อ ตั้ ง ขึ้ น โดย
รัฐธรรมนูญยอมเปนองคกรที่รับอํานาจมาจากรัฐธรรมนูญและยอมตองถูกผูกพันตอรัฐธรรมนูญ ดังนั้น องคกร
นิติบัญญัติ องคกรบริหาร และองคกรตุลาการ รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญทั้งหลายยอมเปนองคกรที่รับอํานาจ
มาจากรัฐธรรมนูญและตองถูกผูกพันตามรัฐธรรมนูญ สวนองคกรที่ใหอํานาจรัฐธรรมนูญองคกรนั้นยอมมี
ความชอบธรรมในการที่จะกําหนดหลักการของรัฐธรรมนูญใหแตกตางไปจากรัฐธรรมนูญที่เคยมีมาได และใน
กรณีของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ องคกรที่ใหอํานาจรัฐธรรมนูญ ยอมหมายถึง สภารางรัฐธรรมนูญ ประชาชน
และพระมหากษัต ริย เมื่อ สภาร า งรัฐ ธรรมนู ญ รา งรั ฐ ธรรมนู ญ แล ว เสร็ จ จึ งนํ าร างรั ฐ ธรรมนู ญ ดั ง กล าว ให
ประชาชนลงมติ หลังจากนั้นจึงเสนอรางเพื่อใหพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศใชเปน
รัฐธรรมนูญฉบับใหม
ดังนี้ จะเห็นไดวา คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ในประเด็นเรื่องการแกไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งไดวินิจฉัย
ไวใจความวา “...อํานาจในการกอตั้งองคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญ เปนอํานาจของ
ประชาชนอันเปนที่มาโดยตรงในการใหกําเนิดรัฐธรรมนูญ โดยถือวามีอํานาจเหนือรัฐธรรมนูญที่กอตั้งระบบ
กฎหมายและองคกรทั้งหลายในการใชอํานาจทางการเมืองการปกครอง เมื่อองคกรที่ถูกจัดตั้งมีเพียงอํานาจตาม
รัฐธรรมนูญที่กําหนดไว และอยูภายรัฐธรรมนูญ จึงเปนไปไมไดที่จะใหองคกรนั้นใชอํานาจที่ไดรับมอบหมาย
จากรัฐธรรมนูญนั้นเองกลับไปแกรัฐธรรมนูญเหมือนการใชอํานาจแกไขกฎหมายธรรมดา นอกจากนี้ประเทศไทย
เปนประเทศที่ปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนประเทศที่ใชระบบ
ประมวลกฎหมายที่ยึดหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญที่รัฐธรรมนูญจะตองกําหนดวิธีการหรือ
กระบวนการแกไขเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญไวเปนพิเศษแตกตางจากกฎหมายโดยทั่วไป การตรารัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนกระบวนการที่ไดผานการลงประชามติโดยตรงของประชาชนผู
เปนเจาของอํานาจอธิปไตย ประชาชนจึงเปนผูสถาปนารัฐธรรมนูญ ดังนั้นการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตาม
รัฐธรรมนูญมาตรา ๒๙๑ แมจะเปนอํานาจของรัฐสภาก็ตาม แตการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญยังไมสอดคลองกับ
เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙๑ เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันนี้ไดมาโดยการลงประชามติของ
ประชาชน ก็ควรจะไดใหประชาชนผูมีอํานาจสถาปรัฐธรรมนูญไดลงประชามติเสียกอนเสียกอนวาสมควรจะมี
รัฐธรรมนูญฉบับใหมหรือไม หรือรัฐสภาจะใชอํานาจในการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเปนรายมาตราก็เปนความ
เหมาะสมและเปนอํานาจของรัฐสภาที่จะดําเนินการดังกลาวนี้ได ซึ่งจะเปนการสอดคลองกับเจตนารมณของ
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙๑” นั้น ยอมเปนการแสดงใหเห็นวาศาลรัฐธรรมนูญไทยยึดถือแนวความคิดเดียวกันกับ
ประเทศเยอรมัน โดยยึดถือความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ และใหอํานาจแกประชาชนผูสถาปนา
รัฐธรรมนูญ
นอกจากนี้ ปจจุบันยังมีการกลาวถึงหลักนิติธรรม (The Rule of Law) กันมากขึ้น ดังเชนใน
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๓ วรรคสอง ไดระบุถึงหลักนิติธรรม ใจความวา “การปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐ ตองเปนไปตามหลักนิติธรรม” ดังนี้ ประชาชนผูมี
สวนรวมในการลงประชามติ จึงควรทราบความหมายที่ชัดเจนเพื่อเปนประโยชนตอการปกปองสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชนตามที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญ โดยหลักนิติธรรมดังกลาวเปนการปกครองโดยกฎหมาย ซึ่งแสดงออกโดย
ลักษณะสองดาน คือ เนื้อหาสาระของกฎหมายนั้นเปนกฎหมายที่ดี และ มีกลไกในการบังคับใชกฎหมายที่ดีไดรับ
การปฏิบัติไดจริง รายละเอียดในการแยกแยะประเด็นของหลักนิติธรรมนั้น ซึ่งโดยภาพรวมหลักนิติธรรมมี
รายละเอียดดังนี้ ๑.หลักการกฎหมายตองไมใชบังคับยอนหลัง ๒. หลักการกฎหมายจะตองมีความมั่นคงตามควร
๓.บทกฎหมายจะตองเปนไปตามแนวทางของหลักการทั่วไปที่เปดเผย มั่นคง และชัดเจน ๔. หลักความเปนอิสระ
ของผูพิพากษา ๕. มีกระบวนการพิจารณาที่เปนธรรม ๖.ศาลจะตองมีอํานาจในการตรวจสอบความชอบดวย
กฎหมายที่รัฐสภาตราขึ้นและมีอํานาจในการตรวจสอบการกระทําของฝายปกครอง ๗.บุคคลตองสามารถนําคดี
เขาสูศาลโดยงาย โดยมี พิธีการไมยุงยาก ไมเสียคาใชจายมาก ระยะเวลาพิจารณาคดีไมนานเกินไป และ ๘. องคกร
ปองกันอาชญากรรมไมควรมีดุลพินิจในการบิดเบือนกฎหมาย
กลาวโดยสรุป สําหรับประเทศไทย ซึ่งเปนประเทศประชาธิปไตยที่ยึดถือหลักความเปนกฎหมายสูงสูด
ของรัฐธรรมนูญ ซึ่งวางกรอบความสัม พันธทางอํานาจทางการเมืองระหวางองคก รสํ าคัญ ต างๆของรัฐ และ
ความสั ม พันธร ะหวางอํานาจรัฐกั บประชาชนโดยรัฐจะตองคุม ครองสิท ธิ เ สรีภาพของประชาชน ทั้งยั งเปน
ประเทศที่ปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยโดยยึดหลักนิติธรรม โดยถือหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของ
รัฐธรรมนูญ มีฐานะเปนสวนยอดสุดของหลักนิติธรรมและการที่จะทําใหหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของ
รัฐธรรมนูญไดรับความคุมครอง จึงกําหนดใหมีศาลรัฐธรรมนูญทําหนาที่เปนกลไกควบคุมมิใหกฎหมายที่ออก
โดยรัฐสภาขัดตอรัฐธรรมนูญ ดังนี้ ในกรณีที่สมาชิกรัฐสภาไดมีการเสนอญัตติ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ราย
มาตรา ทั้งสามฉบับ ซึ่งไดแก ฉบับที่ ๑ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญวาดวย การกําหนดใหวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง
และแกไขการเวนวรรคของสมาชิกวุฒิสภา โดยแกไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๑๒ มาตรา ๑๑๕ มาตรา ๑๑๖
วรรค สอง มาตรา ๑๑๗ มาตรา ๑๑๘ มาตรา ๑๒๐ และมาตรา ๒๔๑ วรรค ๑ และยกเลิก มาตรา ๑๑๓ และมาตรา
๑๑๔ ฉบับที่ ๒ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ วาดวยการทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือองคการระหวาง
ประเทศ โดยแกไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๙๐ และฉบับที่ ๓ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญวาดวย การใชสิทธิเพื่อพิทักษ
รัฐ ธรรมนูญ การเสนอเรื่องตอ ศาลรัฐ ธรรมนูญ และการยกเลิกการเพิ กถอนสิ ท ธิเ ลือกตั้ง ของหัวหนา พรรค
การเมืองและกรรมการบริหารพรรคการเมืองในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่งยุบพรรคการเมือง และเสนอใหมี
การยกเลิกบทบัญญัติวาดวยการยุบพรรคการเมืองและเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหนาพรรคการเมืองและ
กรรมการบริหารพรรคการเมืองในกรณีที่ผูสมัครรับเลือกตั้งกระทําการฝาฝนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา โดยแกไขเพิ่มเติม มาตรา ๖๘ และ
ยกเลิก วรรค ๒ ของมาตรา ๒๓๗ โดยทั้ง ๓ ฉบับเปนการเสนอรางแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๙๑
เปนรายมาตรา นั้น ซึ่งจะเห็นไดวา ตามคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นการแกไขรัฐธรรมนูญรายมาตรา
ที่ศาลรัฐธรรมนูญไดเคยวินิฉัยไวนั้นเปนเพียงนิติวิธี โดยยังมิไดมีคําวินิจฉัยวา การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญราย
มาตราที่จะนําไปสูการกระทบตอการกอตั้งองคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญจะทําได
หรือไม และกรณีดังกลาวตองผานกระบวนการการออกเสียงประชามติของประชาชนในฐานะที่เปนองคกรผูให
อํานาจรัฐธรรมนูญตามหลักการและแนวคิดของศาลรัฐธรรมนูญหรือไม ทั้ง การเสนอแกไขรัฐธรรมนูญดังกลาว
นี้เนื้อหาของการแกไขชอบดวยหลักนิติธรรมหรือไม และหากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาการแกไขรัฐธรรมนูญ
รายมาตราดังกลาวสามารถกระทําไดแมจะกระทบตอการกอตั้งองคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนา
รัฐธรรมนูญตามที่สมาชิกรัฐสภาไดเสนอนั้น ในอนาคตคงจะไดเห็นการเสนอแกไขรัฐธรรมนูญรายมาตราที่
นําไปสูการเปลี่ยนแปลงอํานาจหนาที่ขององคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญตอไป
บทความ+ศา..

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายmarena06008
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 joansr9
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
ระบบการปกครอง
ระบบการปกครองระบบการปกครอง
ระบบการปกครองRainie Chokchaitrakul
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์Supisara Jaibaan
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointPim Chainamon Puri
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1Puy Chappuis
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่Palida Sookjai
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointPim Chainamon Puri
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550Parun Rutjanathamrong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...ประพันธ์ เวารัมย์
 

Mais procurados (17)

กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
ระบบการปกครอง
ระบบการปกครองระบบการปกครอง
ระบบการปกครอง
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
 

Destaque

Lektion Marknadskomm 10
Lektion Marknadskomm 10Lektion Marknadskomm 10
Lektion Marknadskomm 10Göran Widham
 
Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)
Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)
Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)Peter Mello
 

Destaque (7)

My daily routines
My daily routinesMy daily routines
My daily routines
 
Afegir un client Windows XP a Cacti
Afegir un client Windows XP a CactiAfegir un client Windows XP a Cacti
Afegir un client Windows XP a Cacti
 
Lektion Marknadskomm 10
Lektion Marknadskomm 10Lektion Marknadskomm 10
Lektion Marknadskomm 10
 
Binsar arus kas
Binsar arus kas Binsar arus kas
Binsar arus kas
 
V2011 1
V2011 1V2011 1
V2011 1
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)
Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)
Variação de Prazo (com base ao Earned Schedule / Aplicativo)
 

Semelhante a บทความ+ศา..

ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องChacrit Sitdhiwej
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550Poramate Minsiri
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1PolCriminalJustice
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540Sarod Paichayonrittha
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์thnaporn999
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186CUPress
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 

Semelhante a บทความ+ศา.. (20)

ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
 
M1 unit 2
M1 unit 2M1 unit 2
M1 unit 2
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186
 
Political reform
Political reformPolitical reform
Political reform
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 

Mais de Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1 Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...Nanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองNanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545Nanthapong Sornkaew
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯNanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกNanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงNanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมNanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่Nanthapong Sornkaew
 

Mais de Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 
V2011 3
V2011 3V2011 3
V2011 3
 
V2011 2
V2011 2V2011 2
V2011 2
 

บทความ+ศา..

  • 1. ศาลรัฐธรรมนูญไทย : แนวคิด ที่มา หลักการ โดย นายอนุรกษ นิยมเวช ั สมาชิกวุฒิสภา ประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีสวนรวมของประชาชน วุฒิสภา กฎหมายรัฐธรรมนูญมีสถานะทางกฎหมายที่มีลําดับศักดิ์สูงสุด เนื่องจากเปนกฎหมายที่กอตั้งองคกร ทางการเมืองหรือกําหนดโครงสรางทางการเมืองของรัฐ และเปนกฎหมายที่มีระบบการจัดทําที่เปนพิเศษกวา กฎหมายทั่วไป การเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญสงผลใหการที่กฎหมายใดก็ตามขัดหรือแยงก็ไมอาจ บังคับใชได ประกอบกับรัฐธรรมนูญไดมีการวางกฎเกณฑการปกครองและอํานาจหนาที่ขององคกรตางๆเปนไป ตามหลักการแบงแยกองคกรผูใชอํานาจอธิปไตย พรอมทั้งกําหนดใหมีการควบคุมและตรวจสอบการใชอํานาจ ขององคกรเหลานั้นใหเปนไปตามวิถีทางของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉพาะการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ทั้งยังมีการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อพิทักษสิทธิเสรีภาพของประชาชน ไมใหถูกกระทําโดยรัฐ และตรวจสอบอํานาจรวมถึงถวงดุลอํานาจฝายบริหาร ศาลรัฐธรรมนูญจึงถือเปนที่พึ่งของ ประชาชน เพื่อทําใหบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเปนจริงและไดรับการคุมครอง การนําศาลรัฐธรรมนูญเขามาใชในระบบกฎหมายไทยนั้น นับตั้งแตมีการปฏิรูปการเมืองครั้งที่๑ โดย รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งเปนการนําแนวความคิดของศาลรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมันมาใชในระบบ กฎหมายไทย โดยศาลรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมันนั้นถือไดวาเปนสัญลักษณของการปฏิรูประบบการเมือง แบบรัฐสภาที่ถือเสียงขางมากเปนใหญ โดยระบบรวมศูนยอานาจแบบ Centralized system ของประเทศ ํ เยอรมันจัดใหมีองคกรเดี่ยว (single judicial organ) แบบศูนยรวมอํานาจและมีหนาที่ในการพิจารณา ปญหาชี้ขาดขอพิพาทอันเกี่ยวเนื่องกับรัฐธรรมนูญ ซึ่งก็คือศาลรัฐธรรมนูญแหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ศาลรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมันนั้น มิใชสวนหนึ่งของระบบศาลยุติธรรม (judicial court system) ศาลรัฐธรรมนูญในเยอรมันทําหนาที่สองสวนดวยกัน (dual roles) คือ หนึ่งเปนศาลยุติธรรม (court of justice) และสอง ผูพิทักษปกปองรัฐธรรมนูญ (warden of the constitution) ซึ่ง บทบาทสวนที่สองนี้เองที่นักรัฐศาสตรในเยอรมันยอมรับวา ศาลสูงสุดของเยอรมันเองนับเปนหนวยงานหรือ องคกรทางการเมือง (political body) หนวยหนึ่งเชนกัน ทั้งนี้ ประเทศเยอรมันเปนประเทศที่ถือหลัก ความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ (supremacy of constitution) ซึ่งแตกตางจากประเทศที่ถือ หลักความมีอํานาจสูงสุดของรัฐสภา (supremacy of parliament) ดังนั้น ประเทศเสรีประชาธิปไตยที่ ใชระบบรัฐสภาและถือหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญจะตองมีการตรวจสอบเสียงขางมากของ รัฐสภาวาอยูภายในขอบเขตของรัฐธรรมนูญหรือไม โดยมีศาลรัฐธรรมนูญเปนองคกรในการสรางดุลยภาพ ระหวางระบบเสียงขางมากโดยพรรคการเมืองกับการเคารพหลักการของรัฐธรรมนูญ สําหรับประเทศเยอรมัน ความเปนมาขององคกรศาลรัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อป ค.ศ. ๑๙๔๕ ซึ่งเยอรมันตองการสรางประเทศใหมหลังการพายแพสงครามโลก โดยความพยายามในการ จัดทํารัฐธรรมนูญเพื่อใหมีกลไกในการปองกันตนเองจากการเผชิญหนากับปญหาที่มีตอหลักการประชาธิปไตย (บทเรียนในยุคสมัยของฮิตเลอร) โดยการสรางองคกรขึ้นมาตรวจสอบสถาบันทางการเมืองโดยเฉพาะฝายนิติ บัญญัติ และฝายบริหาร เพื่อมิใหมีการละเมิดหลักการของกฎหมายพื้นฐาน (Basic law) ของ
  • 2. สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน ศาลรัฐธรรมนูญเยอรมันจึงทําหนาที่ในการตรวจสอบการวินิจฉัยขององคกรนิติ บัญญัติกับความชอบตามรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ แนวความคิ ด เรื่ อ งอํ า นาจสถาปนารั ฐ ธรรมนู ญ เปน ของปวงชนในประเทศเยอรมัน นั้ น อํานาจกอตั้งการปกครอง หรืออํานาจสถาปนาของประชาชนเริ่มปรากฎขึ้นในตนศตวรรษที่ ๒๐ โดยผลงานทาง ตําราของ Georg Jellinek ปราชญใหญทางทฤษฎีวาดวยรัฐของยุคนั้น ซึ่งถือกันวาเปนผูวางรากฐานใหแก ระบอบรัฐธรรมนูญไวมารที่จะเกิดขึ้นในเวลาตอมา Jellinek มองวา รัฐกับประชาชนเปนสิ่งเดียวกันและ อํานาจกอตั้งการปกครอง หรือสถาปนารัฐธรรมนูญ (pouvour constituent) นั้นเปนอํานาจของปวงชน ไมใชประชาชน โดยไดชี้ใหเห็นวา ความคิดเรื่องอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญหรืออํานาจตั้งการปกครองแผนดิน ที่วาเปนของประชาชนนั้นมีจุดออน และควรใชคําวา “ปวงชน” แทน โดยอธิบายวา ปวงชน ตางจากประชาชน แตละคนมารวมกัน เพราะปวงชนตองมีสถานะเปนที่เขากันเปนอันหนึ่งอันเดียวที่เปนเอกภาพ แยกออกจาก ประชาชน โดยประชาชนที่เขากันเปนอันหนึ่งอันเดียวกันจนเรียกไดวาปวงชนนี้ ก็คือ ประชาชนที่ยกระดับขึ้นจน เกิดความเปนปกแผนอันเดียวกันและสามารถแสดงเจตนาของปวงชนออกมาไดอยางเปนเอกภาพ แยกออกจาก ประชาชน ซึ่งจะเกิดขึ้นไดเมื่อไดวางเกณฑทางกฎหมายใหเปนที่รับรูได ดวยเหตุนี้บอเกิดของอํานาจการปกครอง จึงไมไดมาจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่มีมากอนจะเปนรัฐ แตเปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาพรอมๆกันกับการที่ปวงชนผนึกกันเขา เปนรัฐ และรัฐในที่นี้ก็อาจจะมีรูปแบบแตกตางกันไปได คืออาจเปนแบบราชาธิปไตย โดยมีประชาชนผนึกกัน เปนปกแผนโดยอาศัยองคกษัตริยเปนศูนยรวม หรือจะเปนแบบสาธารณรัฐผานสภาผูแทนราษฎรก็ได นอกจากนี้ Carl Smith ไดอธิบายวา อํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญไมใชอํานาจที่อยูในมือขององคกรตามกฎหมาย รั ฐ ธรรมนู ญ แต เ ป น อํ า นาจที่ อ ยู เ หนื อ และอยู น อกรั ฐ ธรรมนู ญ อี ก ที แ ละเป น อํ า นาจที่ ท รงและรั ก ษาไว ซึ่ ง รัฐธรรมนูญ โดยรัฐธรรมนูญเปรียบเสมือนบานและอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญเปรียบเสมือนรากฐานและคนที่ สรางบานนั้นขึ้นมา การดําเนินการทางการเมืองและทางกฎหมายจึงตองคํานึงถึงการเชื่อมโยงอํานาจทั้งอํานาจ ตามรัฐธรรมนูญและอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญทั้งสองอยางนี้ใหเขาดวยกันอยางลงตัวเสมอ สําหรับประเทศไทยซึ่งไดนําแนวคิดและหลักการเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและศาลรัฐธรรมนูญของประเทศ เยอรมันมาใช โดยศาลรัฐธรรมนูญไทยทําหนาที่สองสวนดวยกันคือเปนศาลยุติธรรมและเปนสถาบันพิทักษ ปกปองรัฐธรรมนูญ โดยเปนประเทศที่ถือหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ และมีศาลรัฐธรรมนูญ เปนองคกรในการตรวจสอบการใชอํานาจของรัฐสภาวาอยูภายในขอบเขตของรัฐธรรมนูญหรือไม โดยระบบการ ควบคุมตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญของไทยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ ตางเปนรัฐธรรมนูญที่กําหนดใหศาลรัฐธรรมนูญเปนองคกรในการตรวจสอบถวงดุลเสียงขางมากในสภา เพราะ เสียงขางนอยในสภา ไมสามารถถวงดุลกับเสียงขางมากในสภาได กลาวคือ รัฐที่ถือ “หลักความเปนกฎหมาย สูงสุดของรัฐธรรมนูญ” รัฐสภาโดยเสียงขางมากยอมมีขอบเขตตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว และกรณีที่มีปญหา วารัฐสถาโดยเสียงขางมากกระทําการเกินขอบเขตของรัฐธรรมนูญหรือไมยอมเปนอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่ จะวินิจฉัยเพื่อปกปอง “หลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ” สวนในเรื่องของ องคกรที่รับอํานาจจาก รั ฐ ธรรมนู ญ กั บ องค ก รที่ ใ ห อํ า นาจรั ฐ ธรรมนู ญ โดยหลั ก ทั่ ว ไปแล ว องค ก รทั้ ง หลายที่ ถู ก ก อ ตั้ ง ขึ้ น โดย รัฐธรรมนูญยอมเปนองคกรที่รับอํานาจมาจากรัฐธรรมนูญและยอมตองถูกผูกพันตอรัฐธรรมนูญ ดังนั้น องคกร นิติบัญญัติ องคกรบริหาร และองคกรตุลาการ รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญทั้งหลายยอมเปนองคกรที่รับอํานาจ มาจากรัฐธรรมนูญและตองถูกผูกพันตามรัฐธรรมนูญ สวนองคกรที่ใหอํานาจรัฐธรรมนูญองคกรนั้นยอมมี ความชอบธรรมในการที่จะกําหนดหลักการของรัฐธรรมนูญใหแตกตางไปจากรัฐธรรมนูญที่เคยมีมาได และใน กรณีของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ องคกรที่ใหอํานาจรัฐธรรมนูญ ยอมหมายถึง สภารางรัฐธรรมนูญ ประชาชน
  • 3. และพระมหากษัต ริย เมื่อ สภาร า งรัฐ ธรรมนู ญ รา งรั ฐ ธรรมนู ญ แล ว เสร็ จ จึ งนํ าร างรั ฐ ธรรมนู ญ ดั ง กล าว ให ประชาชนลงมติ หลังจากนั้นจึงเสนอรางเพื่อใหพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศใชเปน รัฐธรรมนูญฉบับใหม ดังนี้ จะเห็นไดวา คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ในประเด็นเรื่องการแกไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งไดวินิจฉัย ไวใจความวา “...อํานาจในการกอตั้งองคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญ เปนอํานาจของ ประชาชนอันเปนที่มาโดยตรงในการใหกําเนิดรัฐธรรมนูญ โดยถือวามีอํานาจเหนือรัฐธรรมนูญที่กอตั้งระบบ กฎหมายและองคกรทั้งหลายในการใชอํานาจทางการเมืองการปกครอง เมื่อองคกรที่ถูกจัดตั้งมีเพียงอํานาจตาม รัฐธรรมนูญที่กําหนดไว และอยูภายรัฐธรรมนูญ จึงเปนไปไมไดที่จะใหองคกรนั้นใชอํานาจที่ไดรับมอบหมาย จากรัฐธรรมนูญนั้นเองกลับไปแกรัฐธรรมนูญเหมือนการใชอํานาจแกไขกฎหมายธรรมดา นอกจากนี้ประเทศไทย เปนประเทศที่ปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนประเทศที่ใชระบบ ประมวลกฎหมายที่ยึดหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญที่รัฐธรรมนูญจะตองกําหนดวิธีการหรือ กระบวนการแกไขเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญไวเปนพิเศษแตกตางจากกฎหมายโดยทั่วไป การตรารัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนกระบวนการที่ไดผานการลงประชามติโดยตรงของประชาชนผู เปนเจาของอํานาจอธิปไตย ประชาชนจึงเปนผูสถาปนารัฐธรรมนูญ ดังนั้นการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตาม รัฐธรรมนูญมาตรา ๒๙๑ แมจะเปนอํานาจของรัฐสภาก็ตาม แตการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญยังไมสอดคลองกับ เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙๑ เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันนี้ไดมาโดยการลงประชามติของ ประชาชน ก็ควรจะไดใหประชาชนผูมีอํานาจสถาปรัฐธรรมนูญไดลงประชามติเสียกอนเสียกอนวาสมควรจะมี รัฐธรรมนูญฉบับใหมหรือไม หรือรัฐสภาจะใชอํานาจในการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเปนรายมาตราก็เปนความ เหมาะสมและเปนอํานาจของรัฐสภาที่จะดําเนินการดังกลาวนี้ได ซึ่งจะเปนการสอดคลองกับเจตนารมณของ รัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙๑” นั้น ยอมเปนการแสดงใหเห็นวาศาลรัฐธรรมนูญไทยยึดถือแนวความคิดเดียวกันกับ ประเทศเยอรมัน โดยยึดถือความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ และใหอํานาจแกประชาชนผูสถาปนา รัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ ปจจุบันยังมีการกลาวถึงหลักนิติธรรม (The Rule of Law) กันมากขึ้น ดังเชนใน รัฐธรรมนูญ มาตรา ๓ วรรคสอง ไดระบุถึงหลักนิติธรรม ใจความวา “การปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐ ตองเปนไปตามหลักนิติธรรม” ดังนี้ ประชาชนผูมี สวนรวมในการลงประชามติ จึงควรทราบความหมายที่ชัดเจนเพื่อเปนประโยชนตอการปกปองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนตามที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญ โดยหลักนิติธรรมดังกลาวเปนการปกครองโดยกฎหมาย ซึ่งแสดงออกโดย ลักษณะสองดาน คือ เนื้อหาสาระของกฎหมายนั้นเปนกฎหมายที่ดี และ มีกลไกในการบังคับใชกฎหมายที่ดีไดรับ การปฏิบัติไดจริง รายละเอียดในการแยกแยะประเด็นของหลักนิติธรรมนั้น ซึ่งโดยภาพรวมหลักนิติธรรมมี รายละเอียดดังนี้ ๑.หลักการกฎหมายตองไมใชบังคับยอนหลัง ๒. หลักการกฎหมายจะตองมีความมั่นคงตามควร ๓.บทกฎหมายจะตองเปนไปตามแนวทางของหลักการทั่วไปที่เปดเผย มั่นคง และชัดเจน ๔. หลักความเปนอิสระ ของผูพิพากษา ๕. มีกระบวนการพิจารณาที่เปนธรรม ๖.ศาลจะตองมีอํานาจในการตรวจสอบความชอบดวย กฎหมายที่รัฐสภาตราขึ้นและมีอํานาจในการตรวจสอบการกระทําของฝายปกครอง ๗.บุคคลตองสามารถนําคดี เขาสูศาลโดยงาย โดยมี พิธีการไมยุงยาก ไมเสียคาใชจายมาก ระยะเวลาพิจารณาคดีไมนานเกินไป และ ๘. องคกร ปองกันอาชญากรรมไมควรมีดุลพินิจในการบิดเบือนกฎหมาย
  • 4. กลาวโดยสรุป สําหรับประเทศไทย ซึ่งเปนประเทศประชาธิปไตยที่ยึดถือหลักความเปนกฎหมายสูงสูด ของรัฐธรรมนูญ ซึ่งวางกรอบความสัม พันธทางอํานาจทางการเมืองระหวางองคก รสํ าคัญ ต างๆของรัฐ และ ความสั ม พันธร ะหวางอํานาจรัฐกั บประชาชนโดยรัฐจะตองคุม ครองสิท ธิ เ สรีภาพของประชาชน ทั้งยั งเปน ประเทศที่ปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยโดยยึดหลักนิติธรรม โดยถือหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของ รัฐธรรมนูญ มีฐานะเปนสวนยอดสุดของหลักนิติธรรมและการที่จะทําใหหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของ รัฐธรรมนูญไดรับความคุมครอง จึงกําหนดใหมีศาลรัฐธรรมนูญทําหนาที่เปนกลไกควบคุมมิใหกฎหมายที่ออก โดยรัฐสภาขัดตอรัฐธรรมนูญ ดังนี้ ในกรณีที่สมาชิกรัฐสภาไดมีการเสนอญัตติ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ราย มาตรา ทั้งสามฉบับ ซึ่งไดแก ฉบับที่ ๑ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญวาดวย การกําหนดใหวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง และแกไขการเวนวรรคของสมาชิกวุฒิสภา โดยแกไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๑๒ มาตรา ๑๑๕ มาตรา ๑๑๖ วรรค สอง มาตรา ๑๑๗ มาตรา ๑๑๘ มาตรา ๑๒๐ และมาตรา ๒๔๑ วรรค ๑ และยกเลิก มาตรา ๑๑๓ และมาตรา ๑๑๔ ฉบับที่ ๒ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ วาดวยการทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือองคการระหวาง ประเทศ โดยแกไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๙๐ และฉบับที่ ๓ แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญวาดวย การใชสิทธิเพื่อพิทักษ รัฐ ธรรมนูญ การเสนอเรื่องตอ ศาลรัฐ ธรรมนูญ และการยกเลิกการเพิ กถอนสิ ท ธิเ ลือกตั้ง ของหัวหนา พรรค การเมืองและกรรมการบริหารพรรคการเมืองในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่งยุบพรรคการเมือง และเสนอใหมี การยกเลิกบทบัญญัติวาดวยการยุบพรรคการเมืองและเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหนาพรรคการเมืองและ กรรมการบริหารพรรคการเมืองในกรณีที่ผูสมัครรับเลือกตั้งกระทําการฝาฝนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา โดยแกไขเพิ่มเติม มาตรา ๖๘ และ ยกเลิก วรรค ๒ ของมาตรา ๒๓๗ โดยทั้ง ๓ ฉบับเปนการเสนอรางแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๙๑ เปนรายมาตรา นั้น ซึ่งจะเห็นไดวา ตามคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นการแกไขรัฐธรรมนูญรายมาตรา ที่ศาลรัฐธรรมนูญไดเคยวินิฉัยไวนั้นเปนเพียงนิติวิธี โดยยังมิไดมีคําวินิจฉัยวา การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญราย มาตราที่จะนําไปสูการกระทบตอการกอตั้งองคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญจะทําได หรือไม และกรณีดังกลาวตองผานกระบวนการการออกเสียงประชามติของประชาชนในฐานะที่เปนองคกรผูให อํานาจรัฐธรรมนูญตามหลักการและแนวคิดของศาลรัฐธรรมนูญหรือไม ทั้ง การเสนอแกไขรัฐธรรมนูญดังกลาว นี้เนื้อหาของการแกไขชอบดวยหลักนิติธรรมหรือไม และหากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาการแกไขรัฐธรรมนูญ รายมาตราดังกลาวสามารถกระทําไดแมจะกระทบตอการกอตั้งองคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนา รัฐธรรมนูญตามที่สมาชิกรัฐสภาไดเสนอนั้น ในอนาคตคงจะไดเห็นการเสนอแกไขรัฐธรรมนูญรายมาตราที่ นําไปสูการเปลี่ยนแปลงอํานาจหนาที่ขององคกรสูงสุดทางการเมืองหรืออํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญตอไป