SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
Baixar para ler offline
คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์
                            เรื่อง
                      ลาดับและอนุกรม
                      (เนื้อหาตอนที่ 5)
                          อนุกรม
                            โดย
อาจารย์ ดร. ศันสนีย์ เณรเทียน และอาจารย์ ดร. ไพโรจน์ น่วมนุ่ม

          สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง

        คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ

     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

                    กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                           สื่อการสอน เรื่อง ลาดับและอนุกรม
     สื่อการสอน เรื่อง ลาดับและอนุกรม มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 10 ตอน ซึ่งประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม

2. เนื้อหาตอนที่ 1     ลาดับ
                       - แนวคิดเรื่องลาดับ
                       - ลาดับเลขคณิต
                       - ลาดับเรขาคณิต
3. เนื้อหาตอนที่ 2     การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                       - การประยุกต์ของลาดับเลขคณิต
                       - การประยุกต์ของลาดับเรขาคณิต
4. เนื้อหาตอนที่ 3     ลิมิตของลาดับ
                       - การลู่เข้าและลู่ออกของลาดับ และลิมิตของลาดับ
                       - ทฤษฎีบทของลิมิตของลาดับ
5. เนื้อหาตอนที่ 4     ผลบวกย่อย
                       - ผลบวกย่อย
                       - ผลบวกย่อยของลาดับเลขคณิต
                       - ผลบวกย่อยของลาดับเรขาคณิต
6. เนื้อหาตอนที่ 5     อนุกรม
                       - ความหมายของอนุกรม
                       - ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม
                       - การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต
                       - ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต
7. เนื้อหาตอนที่ 6     ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม
                       - ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม
                       - ความสัมพันธ์ระหว่างการลู่เข้าของลาดับและอนุกรม
                                                   1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)

 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)

10. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)



          คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้ สื่อชุดนี้ร่วมกั บการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ล าดับและ
 อนุกรม นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการ
 ไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้าย
 ของคู่มือฉบับนี้




                                                   2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


เรื่อง              ลาดับและอนุกรม (การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต)

หมวด                เนื้อหา

ตอนที่              5 (5/6)

หัวข้อย่อย          1. ความหมายของอนุกรม
                    2. ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม
                    3. การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต
                    4. ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต

จุดประสงค์การเรียนรู้
     เพื่อให้ผู้เรียน
     1. เข้าใจความหมายของการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรม
     2. สามารถหาผลบวกของอนุกรมได้
     3. แก้ปัญหาโจทย์ประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิตได้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
     ผู้เรียนสามารถ
     1.   อธิบายความหมายของอนุกรมได้
     2.   อธิบายความหมายของการลู่เข้า การลู่ออกได้
     3.   อธิบายความหมายของผลบวกของอนุกรมได้
     4.   ตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรมได้
     5.   หาผลบวกของอนุกรม เมื่ออนุกรมที่กาหนดให้เป็นอนุกรมลู่เข้า ได้
     6.   ตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิตและหาผลบวกของอนุกรมเรขาคณิตได้
     7.   แก้ปัญหาโจทย์ประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิตได้




                                                     3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                        เนื้อหาในสื่อการสอน




                            เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




               1. ความหมายของอนุกรม




                                      5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                      1. ความหมายของอนุกรม
       ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของอนุกรม และความหมายของอนุกรมจากัด และ
อนุกรมอนันต์




                                                        6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ครูสามารถนาตัวอย่างทั้งสองตัวอย่างที่ผ่านมา มาอธิบายประกอบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเกี่ยวกับการนิยามพจน์ที่ n ของ
อนุกรม




                                                          7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




       2. ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก
             และผลบวกของอนุกรม




                                      8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                 2. ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออกและผลบวกของอนุกรม
        ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม โดย
การให้ความหมายดังกล่าวจะใช้ความรู้เรื่องผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับที่ผู้เรียนได้ศึกษาแล้วในตอนก่อน
หน้า ดังนั้นครูอาจเริ่มต้นด้วยการทบทวนความรู้เกี่ยวกับผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับ รวมถึงสูตรการหา
ผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับเลขคณิตและลาดับเรขาคณิตให้ผู้เรียนก่อน คือ

ผลบวกย่อยn พจน์แรกของลาดับเลขคณิต
                                      n
                               Sn       2a1  (n  1)d        หรือ Sn  n a1  a n 
                                      2                                       2

เมื่อ a1 คือ พจน์แรก an คือ พจน์ที่ n และ d คือผลต่างร่วม

ผลบวกย่อยn พจน์แรกของลาดับเรขาคณิต
                                                 a1 (1  r n )
                                          Sn                       เมื่อ   r 1
                                                    1 r

โดยที่ a1 คือ พจน์แรก และ r คืออัตราส่วนร่วม




ครูเน้นกับผู้เรียนว่าเราสามารถคานวณค่าของผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับได้เสมอ และเราจะนาจานวนจริงที่ได้มา
เขียนเรียงเป็นพจน์ต่างๆ เป็นลาดับใหม่ ซึ่งจะเรียกว่า ลาดับของผลบวกย่อยนั่นเอง


                                                            9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ครูอาจอธิบายผู้เรียนเพิ่มเติมว่า การลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรมนั้น จะพิจารณาในกรณีที่เป็นอนุกรมอนันต์เท่านั้น
เนื่องจากอนุกรมจากัดนั้นจะเป็นอนุกรมที่ลู่เข้า และสามารถหาผลบวกของอนุกรมได้เสมอ และการลู่เข้าและการลู่ออก

                                                         10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ของอนุกรมอนันต์จะนิยามโดยพิจารณาการลู่เข้าและการลู่ออกของลาดับของผลบวกย่อย นอกจากนี้ผลบวกของ
อนุกรม (เมื่ออนุกรมเป็นอนุกรมลู่เข้า) จะมีค่าเท่ากับลิมิตของลาดับของผลบวกย่อยนั่นเอง จากนั้นครูอาจลองถาม
คาถามผู้เรียนก่อนที่จะเปิดสื่อต่อไปว่า จากนิยามข้างต้นถ้าผู้เรียนต้องการทราบว่าอนุกรมอนันต์
a1  a 2  a 3     an       เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออกนั้น จะมีขั้นตอนในการตรวจสอบอย่างไร




                                                         11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ครูอาจทบทวนหรือใช้คาถามกับผู้เรียนว่าเพราะเหตุใดลาดับ 1, 0, 1, 0, 1, 0,               หรือเมื่อเขียนในรูปพจน์
                                                  0     ; เมื่อ n เป็นจานวนคู่
ทั่วไป คือลาดับ Sn= 1 + 1 +     + 1)n =                                           จึงเป็นลาดับลู่ออก
                                                  1    ; เมื่อ n เป็นจานวนคี่




ตัวอย่างทั้งสามต่อไป จะเป็นตัวอย่างของการตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรม รวมถึงการหาผลบวกของ
อนุกรม เมื่ออนุกรมเป็นอนุกรมลู่เข้าเช่นเดียวกับตัวอย่างก่อนหน้า ซึ่งผู้เรียนทราบวิธีการในการหาคาตอบแล้ว เพียงแต่
ในการหาลาดับของผลบวกย่อยและหาลิมิตของลาดับของผลบวกย่อยของโจทย์ทั้งสามนี้จะซับซ้อนกว่า ดังนั้นครู
อาจจะต้องมีการอธิบายซ้าในแต่ละตัวอย่างให้กับผู้เรียนอีกครั้งหลังจากดูสื่อแต่ละข้อ หรืออาจลองให้ผู้เรียนได้หาลาดับ
ของผลบวกย่อย หรือหาลิมิตของลาดับของผลบวกย่อยด้วยตนเองในแต่ละข้อก่อนที่จะเปิดสื่อก็ได้


                                                         12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




หลังจากจบตัวอย่างที่ 3 ครูควรเน้นย้ากับผู้เรียนเกี่ยวกับการตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรม จะต้อง
พิจารณาจากลาดับของผลบวกย่อยเป็นหลัก มิเช่นนั้นอาจเกิดความคลาดเคลื่อนเช่นเดียวกับตัวอย่างการตรวจสอบ
การลู่เข้าของลาดับ 1, 0, 1, 0, 1, 0,




                                                          13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                         แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                      เรื่อง ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออกและผลบวกของอนุกรม
1. จงหาลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรมต่อไปนี้

       1.1    81  27  9  3        35 n 


       1.2    1  5  25  125        5n 1 


                                                               n 1
                     12 48 192                      4
       1.3    3                       3(1) n                   
                      5 25 125                      5

                                                             n 1
               7 7   7   7                   7 1
       1.4                                                  
               6 24 96 384                   6 4

                                                  n 1
              16 8                    16  3 
       1.5       46                               
               9 3                     9 2


       1.6    100  85  70  55          (115  15n) 


                     19    9              29  5n
       1.7    12       7                     
                      2    2                 2


       1.8     22  42  62  82        (2n)2 


       1.9    343  49  7  1         (1)n 1 74n 


       1.10    1  2  7  14        (n 2  2) 


       1.11    216  36  6  1         64 n 



                                                                14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


       1.12   1  4  21  56        (n 3  2n) 


2. อนุกรมในข้อ 1 อนุกรมใดบ้างที่เป็นอนุกรมลู่เข้าและมีผลบวกเป็นเท่าใด




                                                        15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




3. การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต




                                      16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                              3. การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต
         ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมี
วิธีการพิจารณาโดยการสังเกตจากอัตราส่วนร่วม รวมถึงทราบสูตรผลบวกของอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งในสื่อนี้จะ
นาเสนอโดยละการพิสูจน์




ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจมากขึ้นโดยการแสดงที่มาของทั้งสองกรณีข้างต้นได้ โดยแยกพิจารณา
เป็นกรณีดังนี้

           กาหนดให้อนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 เป็นพจน์แรก และมี r เป็นอัตราส่วนร่วม นั่นคือ อนุกรมเรขาคณิต
a 1  a 1r  a 1r 2     a 1r n     และเนื่องจากอนุกรมเป็นอนุกรมที่เกิดจากลาดับเรขาคณิต ดังนั้น a1  0

กรณีที่ 1 เมื่อ | r | = 1 จะได้ว่า r = 1 หรือ r = 1

           ถ้า r = 1 จะได้อนุกรมเรขาคณิต a1  a1  a1                   a1     เมื่อพิจารณาลาดับของผลบวกย่อย จะได้
ว่า ลาดับผลบวกย่อย คือ ลาดับ a1 , 2a1 , 3a1 ,          , na1 ,        และ n  na1 ไม่มีค่า ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิตนี้เป็น
                                                                          lim

อนุกรมลู่ออก

ถ้า r = 1 จะได้อนุกรมเรขาคณิต a1  (a1 )  a1  (a1 )                    เมื่อพิจารณาลาดับของผลบวกย่อย จะได้ว่า
ลาดับผลบวกย่อย คือ ลาดับ a1 , 0, a1 , 0, a1,           และลิมิตของลาดับผลบวกย่อยไม่มีค่า ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิต
นี้เป็นอนุกรมลู่ออก


                                                                 17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


กรณีที่ 2 เมื่อ | r |      1 จะได้ว่าผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับเรขาคณิตหาได้จาก

                                                     a1 (1  r n )         a1  a1  n
                                      Sn                                          r
                                                        1 r              1 r  1 r 

พิจารณาลิมิตของลาดับของผลบวกย่อย

           ถ้า | r | < 1 จะได้ว่า n r n  0 ทาให้ได้ว่า
                                  lim

                                                                a1    a              a1
                                    lim Sn            lim           1  rn     
                                    n                n     1 r  1 r           1 r

                                                                                            a1
ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิตเป็นอนุกรมลู่เข้า และผลบวกของอนุกรมเรขาคณิตเท่ากับ
                                                                                           1 r

                                                                a1    a 
           ถ้า | r | > 1 จะได้ว่า   lim Sn            lim           1  rn      ไม่มีค่า ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิตเป็น
                                    n                n     1 r  1 r 
อนุกรมลู่ออก




                                                                     18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




        ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจทฤษฎีบทในการตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรม
เรขาคณิตมากขั้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้


ตัวอย่างที่ 1 อนุกรมเรขาคณิตแบบอนันต์ชุดหนึ่งมีพจน์แรกคือ 2 และมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ 4 จงหา
อัตราส่วนร่วมของอนุกรมนี้

วิธีทา ให้ S แทนผลบวกของอนุกรมเรขาคณิต

        จากโจทย์         S    = 4 และ      a1  2

                                            a1
        จาก          S           =
                                           1 r

                                            2
                 4               =
                                           1 r

           4 (1 – r )            =         2
                                            1
                 r               =                                                         #
                                            2




                                                                  19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ตัวอย่างที่ 2 อนุกรมเรขาคณิตแบบอนันต์ชุดหนึ่ง มีพจน์ที่สองเท่ากับ 9 และมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ 100

จงหาอนุกรมเรขาคณิตนี้

วิธีทา ให้อนุกรม   a1  a1r  a1r 2  a1r 3           a1r n 1       เป็นอนุกรมเรขาคณิต และมีผลบวกของอนุกรม
เท่ากับ 100
                                                      9                       a1
        จากโจทย์ จะได้    a 1r  9    หรือ     a1            และ    100 
                                                      r                      1 r

                      9
        จะได้   100  r              หรือ      100r 2  100r  9  0
                     1 r

                                                (10r  9)(10r  1)  0

                                                           9                          1
                                                  r=                  หรือ      r=
                                                          10                         10

                    9
        กรณี r =         จะได้       a1  10
                   10

                    1
        กรณี r =          จะได้      a1  90
                   10

                                                                                                   n 1
                                                                                           9 
ดังนั้น อนุกรมเรขาคณิตที่โจทย์ต้องการ คือ             อนุกรม 10  9  81             10                  หรือ
                                                                      10                   10 

                                                   n 1
                           9               1
        อนุกรม 90  9               90                                                         #
                          10               10 




                                                                20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                   แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                เรื่อง การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตที่กาหนดให้ต่อไปนี้ อนุกรมใดเป็นอนุกรมลู่เข้า หรือ อนุกรมลู่ออก พร้อมหาผลบวกของ
อนุกรม (ถ้ามี)

        1.    125  25  5  1        54  n 


                                1
        2.    100  10  1            (10)3 n 
                               10


              1 4 16 64                    4n 1
        3.                                  
              3 3 3 3                       3

                                                        n 1
                                            5
        4.    8  20  50  125         8                 
                                            2


              3 3 3    3                       (1) n 1 3
        5.                                            
              4 16 64 256                        4n

                                                     n 1
                      3 3                   1
        6.    15  3                15                 
                      5 25                  5

                                                       n 1
                       27 81                 3
        7.    15  9                  15                
                       5 25                  5


              1 7 49 343                  7 n 1
        8.                                  
              6 6 6   6                    6


        9.    6  36  216  1296          (1)n 1 6n 

                                                                   n 1
               2   3 3 3 9 3                             2 3
        10.                                                        
                3 2   8   32                              34
                                                                   21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




4. ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต




                                     22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                              เรื่อง ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต
           ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะแก้ปัญหาโจทย์ประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้ความรู้จากหัวข้อการตรวจสอบ
การลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต การทำโจทย์แต่ละข้อ ครูอาจเริ่มด้วยการเปิดสื่อเฉพาะส่วนของโจทย์ก่อน แล้วให้
ผู้เรียนวิเคราะห์สิ่งที่โจทย์กาหนดให้และสิ่งที่โจทย์ถาม รวมถึงลองหาแนวทางการแก้ปัญหาด้วยตนเองก่อน จึง
จะเปิดสื่อต่อไป




        ครูอาจยกตัวอย่างโจทย์ประยุกต์เพิ่มเติมเกี่ยวกับทศนิยมซ้า ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนทศนิยมซ้า     4.7   ให้อยู่ในรูปเศษส่วน

วิธีทา จาก      4.7       =         4.777...

                          =         4  0.7  0.07  0.007 
                                                           23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


        พิจารณาอนุกรม 0.7  0.07  0.007 

        จะเห็นว่า เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี             a1  0.7   และ    r  0.1

        เนื่องจาก | r | < 1 อนุกรมนี้จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ
                                       a1                     0.7                      7
                  S         =                     =                            =
                                      1 r                  1  0.1                    9

                                            7
        ดังนั้น   4.7       =         4
                                            9

                                       43
                            =                                                                  #
                                       9



ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนทศนิยมซ้า       0.316      ให้อยู่ในรูปเศษส่วน

วิธีทา จาก        0.316     =         0.3161616...

                            =         0.3  0.016  0.00016  0.0000016 

        พิจารณาอนุกรม        0.016  0.00016  0.0000016 

        จะเห็นว่า เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี             a1  0.016      และ   r  0.01

        เนื่องจาก | r | < 1 อนุกรมนี้จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ
                                       a1                    0.016                     0.016                 16
                  S         =                     =                            =                         =
                                      1 r                  1  0.01                    0.99                 990

                                                16
        ดังนั้น   0.316     =         0.3 
                                                990

                                       3 16
                            =           
                                      10 990

                                       313
                            =                                                          #
                                       990
                                                                 24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                     25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                     26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                 เรื่อง ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต
1. จงหาค่าของ x ที่ทาให้อนุกรม      1  3x  9x 2  27x 3           เป็นอนุกรมลู่เข้าและมีผลบวกของอนุกรม
             4
   เท่ากับ
             9

                                                                                                        n
                                 1          1          1           1                              1
2. จงหาค่า x ที่ทาให้อนุกรม       x  3   x  3   x  3   x  3                         x  3 
                                                     2          3          4                                   n

                                 2          4          8          16                              2

เป็นอนุกรมลู่เข้า รวมทั้งหาผลบวกของอนุกรมนี้

3. จงเขียนทศนิยมซ้าต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษส่วน

        3.1      1.7                 3.2   0.81                   3.3   5.231

4. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งมีด้านยาวด้านละ a หน่วย รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สองเกิดจากการลากส่วนของ
เส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปแรก รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สามเกิดจากการลากส่วนของ
เส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สอง และสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเช่นนี้เรื่อยๆ ไป จงหา
ผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมด ถ้ากระบวนการเกิดอย่างต่อเนื่องไม่มีสิ้นสุด
                                                                                                        3
5. ลูกปิงปองตกจากโต๊ะสูง 5 ฟุต ถ้าทุกครั้งที่ลูกปิงปองตกกระทบพื้นจะกระดอนขึ้นเป็นระยะ                       ของความสูงที่
                                                                                                        5
ตกลงมา จงหาระยะทางทั้งหมดที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง




                                                            27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




              สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                     28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                     29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                          ภาคผนวกที่ 1
              แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                เนื้อหาเพิ่มเติม
        ครูอาจกล่าวถึงเนื้อหาเพิ่มเติมสาหรับผู้เรียนที่สนใจศึกษาในเรื่องอนุกรมในระดับอุดมศึกษาเพื่อให้เห็น
ความสัมพันธ์ของเนื้อหา เริ่มต้นที่การนิยามหรือการให้ความหมายอนุกรมจะมีความแตกต่างจากระดับ
มัธยมศึกษา กล่าวคือ ความหมายของอนุกรมในระดับมัธยมศึกษานั้น อนุกรมจะนิยามเป็นการเขียนแสดงผลบวก
ของพจน์ทุกพจน์ของลาดับ ขณะที่ในระดับอุดมศึกษาความหมายของอนุกรมนั้น อนุกรมเป็นลาดับชนิดหนึ่ง คือ
เป็นลาดับของผลบวกย่อย โดยนิยามดังนี้

นิยาม ให้ an เป็นลาดับของจานวนจริง และ
                   S 1 = a1

                   S 2 = a1 + a 2

                   S 3 = a1 + a 2 + a3


                                                    n
                   Sn= a1 + a2 + a3 +     + an =  a k
                                                   k 1



เราเรียก Sn ว่า ผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับ an และเรียกลาดับ Sn ว่าอนุกรมอนันต์ของจานวนจริง (หรือเรียก
                                                    
สั้นๆ ว่า อนุกรม) ซึ่งจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  a n หรือ a1  a 2  a 3               an 
                                                   n 1




                                                          31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                      แบบฝึกหัดระคน
1. อนุกรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ อนุกรมใดเป็นอนุกรมลู่เข้าพร้อมหาผลบวกของอนุกรม หรือ เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                               n 1
                       16 32                    2
       1. 1    12  8                   12                     
                        3 9                     3

                                                           n 1
               15 3 3 12                      15  4 
       1.2                                                 
               16 4 5 25                      16  5 

                                                                         n 1
                              27                     3
       1.3     100  30  9                  100                          
                              10                     10 

                                                                  n 1
                                  125                  5
       1.4     16  20  25                      16                 
                                   4                   4

               1   1 1 1
       1.5                            3n 5 
               81 27 9 3

                                                               n 1
                 6 12 24                          2
       1.6     3                           3                  
                 7 49 343                         7

                     35 34                        37  n
       1.7    12           11                       
                      3   3                         3

       1.8    2  1  6  13        (n 2  3) 

              1    5 7                  2n  1
       1.9      1                         
              3    3 3                    3

                      2    2                          2                                  2
       1.10 2                                                                                     
                                        1  2                                   1  2 
                                                                                               n 1
                    1 2 1 2
                                          2                       3




                                                    n 1
                       2 3             
       1.11    1                                    
                     3 9 27               3

               1  cos 37   cos 37         cos 37                               cos 37   
                                                                                                      n 1
       1.12
                                              2                       3
                                                                                                            


                                                                           32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                                      2                   3                            n 1
                        a   a   a                                        a 
        1.13    1                                                                         เมื่อ a เป็นจานวนจริงที่มากกว่าศูนย์
                      a 1  a 1   a 1                                  a 1 


                                                                           x
2. จงหาค่าของ x ที่ทาให้อนุกรม        2x  2x  x                                     เป็นอนุกรมลู่เข้าและมีผลบวกของอนุกรม
                                                                            2

   เท่ากับ 16

                        2x     22x                      23x
3. ถ้าอนุกรม 1                                                            มีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ 9 แล้ว
                               
                      1  2x 1  2x                          
                                              2                    3
                                                      1  2x


    log 9 x   log 9 x    log 9 x    log 9 x                        มีค่าเท่าใด
                         2                3                    4




4. จงหาค่า a และ r เมื่อ
                                                                                                  1
         a  ar  ar 2  ar 3       ar n 1                                    =
                                                                                                  3

                                                                                                  1
         a  ar  ar 2  ar 3       (1)n 1ar n 1                            =
                                                                                                  9


5. จงเขียนทศนิยมซ้าต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษส่วน

        5.1     3.8                   5.2         0.2 7                           5.3    1.5 3 6



6. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีด้านยาวด้านละ p หน่วย รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สองเกิดจากการลากส่วน
ของเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปแรก รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สามเกิด
จากเกิดจากการลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สอง และสร้าง
รูปสามเหลี่ยมเช่นนี้เรื่อยๆ ไป จงหาผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งหมด ถ้า
กระบวนการเกิดอย่างต่อเนื่องไม่มีสิ้นสุด


                                                                             33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                                                                     2
7. ปล่อยลูกแทนนิสจากความสูง 10 ฟุต ลูกเทนนิสกระดอนขึ้นมา                 ของความสูงเดิมในแต่ละครั้ง
                                                                     3

  จงหาระยะเคลื่อนที่ทั้งหมดในแนวตั้งของลูกเทนนิส




                                                       34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                          ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝึกหัด




                                     35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                       เฉลยแบบฝึกหัด
            เรื่อง ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม
                     243   1            
                                       n
                                                                                  1 n
1.      1. 1 ลาดับ       1                                      1.2 ลาดับ     5  1
                      2  3
                                          
                                                                                 4     

                     5  4                                                     14   1  
                              n                                                                n

        1.3 ลาดับ          1                                   1.4 ลาดับ       1     
                     3  5 
                                
                                                                                 15   4  
                                                                                                

                     32   3         
                                   n

        1.5 ลาดับ       1                                       1.6 ลาดับ n  215  15n 
                      9  2
                                      
                                                                                 2


        1.7 ลาดับ n 53  5n                                        1.8 ลาดับ    2
                                                                                    n(n  1)(2n  1)
                     4                                                            3

                     2401   1                                                 n(n  1)(2n  1)
                                               n

        1.9 ลาดับ         1                                    1.10 ลาดับ                     2n
                      8   7
                                                  
                                                                                        6


                                         n

        1.11 ลาดับ 1296 1   1 
                                                                  1.12 ลาดับ 1  n 4  2n 3  7n 2  4n 
                         5 
                                 6 
                                                                               4


2. อนุกรมในข้อ 1 ที่เป็นอนุกรมลู่เข้า ได้แก่
                                                                243
        อนุกรมในข้อ 1.1 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                                 2

        อนุกรมในข้อ 1.3 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น  5
                                                                  3

        อนุกรมในข้อ 1.4 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 14
                                                                15

                                                                2401
        อนุกรมในข้อ 1.9 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                                 8

        อนุกรมในข้อ 1.11 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 1296
                                                                     5

                                                         36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                             เฉลยแบบฝึกหัด
                         เรื่อง การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต
                                                  625
1. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                   4

2. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 1, 000
                                                      11

3. อนุกรมลู่ออก

4. อนุกรมลู่ออก
                                                  3
5. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                  5

                                                  75
6. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                  6

                                                  75
7. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                   2

8. อนุกรมลู่ออก

9. อนุกรมลู่ออก

                                                   8 3
10. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                    3


                                             เฉลยแบบฝึกหัด
                         เรื่อง ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต
                     5
1. x มีค่าเท่ากับ
                    12




                                                  37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


2. ค่า x ที่ทาให้อนุกรมที่กาหนดลู่เข้า คือ   x  (1,5)

                                                          3 x
     และอนุกรมที่กาหนดมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ
                                                          x 1

                                                    5,179
3.       3.1 16            3.2   9
                                              3.3
             9                   11                  990

4.   8  4 2  a หน่วย
5. 20 ฟุต

                                         เฉลยแบบฝึกหัดระคน
                                                            36
1.       1.1 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                             5
                                                            75
         1.2 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                            16
                                                            1, 000
         1.3 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                              13
         1.4 อนุกรมลู่ออก
         1.5 อนุกรมลู่ออก
                                                             7
         1.6 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น
                                                             3
         1.7 อนุกรมลู่ออก
         1.8 อนุกรมลู่ออก
         1.9 อนุกรมลู่ออก
         1.10 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 6  4             2
         1.11 อนุกรมลู่ออก
         1.12 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 5
         1.13 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น a  1
2.   84 2

     1
3.
     3

                                                    38
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

         1              1
4. a =        และ r =
         6              2

         35                        3                           169
5. 5.1                      5.2                          5.3
         9                        11                           110

6. 6p หน่วย

7. 50 ฟุต




                                                   39
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




            รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
                             จานวน 92 ตอน




                                     40
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                 รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน

                 เรื่อง                                                                ตอน
เซต                                        บทนา เรื่อง เซต
                                           ความหมายของเซต
                                           เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต
                                           เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์                  บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
                                           การให้เหตุผล
                                           ประพจน์และการสมมูล
                                           สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
                                           ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ
                                                                 ่
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
จานวนจริง                                  บทนา เรื่อง จานวนจริง
                                           สมบัติของจานวนจริง
                                           การแยกตัวประกอบ
                                           ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                           สมการพหุนาม
                                           อสมการ
                                           เทคนิคการแก้อสมการ
                                           ค่าสัมบูรณ์
                                           การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
                                           กราฟค่าสัมบูรณ์
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น                        บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น
                                           การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ
                                           ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
                                           (การหารลงตัวและตัวหารร่วมมาก)
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                    บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
                                           ความสัมพันธ์


                                                                  41
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                       โดเมนและเรนจ์
                                              อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
                                              ฟังก์ชันเบื้องต้น
                                              พีชคณิตของฟังก์ชัน
                                              อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
                                              ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
          ้                                   บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                              เลขยกกาลัง
                                              ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                                        ้
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กาลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราส่วนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซน์และโคไซน์
                                              กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย
                                                                                  ่
                                              สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์
กาหนดการเชิงเส้น                              บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น
                                              การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
                                              การหาค่าสุดขีด
ลาดับและอนุกรม                                บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม
                                              ลาดับ
                                              การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลาดับ
                                              ผลบวกย่อย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม

                                                                 42
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                         สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                 เรื่อง                                                              ตอน
การนับและความน่าจะเป็น                      บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น
                                            การนับเบื้องต้น
                     .
                                            การเรียงสับเปลี่ยน
                                            การจัดหมู่
                                            ทฤษฎีบททวินาม
                                            การทดลองสุ่ม
                                            ความน่าจะเป็น 1
                                            ความน่าจะเป็น 2
สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล                  บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
                                            บทนา เนื้อหา
                                            แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1
                                            แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2
                                            แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3
                                            การกระจายของข้อมูล
                                            การกระจายสัมบูรณ์ 1
                                            การกระจายสัมบูรณ์ 2
                                            การกระจายสัมบูรณ์ 3
                                            การกระจายสัมพัทธ์
                                            คะแนนมาตรฐาน
                                            ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1
                                            ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2
                                            โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
                                            โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร์                           การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                            ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                            การถอดรากที่สาม
                                            เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
                                            กระเบื้องที่ยืดหดได้




                                                               43

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงพัน พัน
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 

Mais procurados (20)

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
work1
work1work1
work1
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Destaque

6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์Toongneung SP
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตaossy
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมPumPui Oranuch
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนBeer Aksornsart
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Destaque (20)

6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิต
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
M1
M1M1
M1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
Math8
Math8Math8
Math8
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
 
ทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรีทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรี
 

Semelhante a 63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม

Semelhante a 63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม (20)

41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม

  • 1. คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ลาดับและอนุกรม (เนื้อหาตอนที่ 5) อนุกรม โดย อาจารย์ ดร. ศันสนีย์ เณรเทียน และอาจารย์ ดร. ไพโรจน์ น่วมนุ่ม สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง ลาดับและอนุกรม สื่อการสอน เรื่อง ลาดับและอนุกรม มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 10 ตอน ซึ่งประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม 2. เนื้อหาตอนที่ 1 ลาดับ - แนวคิดเรื่องลาดับ - ลาดับเลขคณิต - ลาดับเรขาคณิต 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต - การประยุกต์ของลาดับเลขคณิต - การประยุกต์ของลาดับเรขาคณิต 4. เนื้อหาตอนที่ 3 ลิมิตของลาดับ - การลู่เข้าและลู่ออกของลาดับ และลิมิตของลาดับ - ทฤษฎีบทของลิมิตของลาดับ 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ผลบวกย่อย - ผลบวกย่อย - ผลบวกย่อยของลาดับเลขคณิต - ผลบวกย่อยของลาดับเรขาคณิต 6. เนื้อหาตอนที่ 5 อนุกรม - ความหมายของอนุกรม - ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม - การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต - ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม - ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม - ความสัมพันธ์ระหว่างการลู่เข้าของลาดับและอนุกรม 1
  • 3. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1) 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2) 10. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้ สื่อชุดนี้ร่วมกั บการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ล าดับและ อนุกรม นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการ ไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้าย ของคู่มือฉบับนี้ 2
  • 4. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ลาดับและอนุกรม (การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 5 (5/6) หัวข้อย่อย 1. ความหมายของอนุกรม 2. ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม 3. การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต 4. ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. เข้าใจความหมายของการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรม 2. สามารถหาผลบวกของอนุกรมได้ 3. แก้ปัญหาโจทย์ประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิตได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของอนุกรมได้ 2. อธิบายความหมายของการลู่เข้า การลู่ออกได้ 3. อธิบายความหมายของผลบวกของอนุกรมได้ 4. ตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรมได้ 5. หาผลบวกของอนุกรม เมื่ออนุกรมที่กาหนดให้เป็นอนุกรมลู่เข้า ได้ 6. ตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิตและหาผลบวกของอนุกรมเรขาคณิตได้ 7. แก้ปัญหาโจทย์ประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิตได้ 3
  • 5. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 7. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. ความหมายของอนุกรม ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของอนุกรม และความหมายของอนุกรมจากัด และ อนุกรมอนันต์ 6
  • 8. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครูสามารถนาตัวอย่างทั้งสองตัวอย่างที่ผ่านมา มาอธิบายประกอบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเกี่ยวกับการนิยามพจน์ที่ n ของ อนุกรม 7
  • 9. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม 8
  • 10. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออกและผลบวกของอนุกรม ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม โดย การให้ความหมายดังกล่าวจะใช้ความรู้เรื่องผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับที่ผู้เรียนได้ศึกษาแล้วในตอนก่อน หน้า ดังนั้นครูอาจเริ่มต้นด้วยการทบทวนความรู้เกี่ยวกับผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับ รวมถึงสูตรการหา ผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับเลขคณิตและลาดับเรขาคณิตให้ผู้เรียนก่อน คือ ผลบวกย่อยn พจน์แรกของลาดับเลขคณิต n Sn   2a1  (n  1)d  หรือ Sn  n a1  a n  2 2 เมื่อ a1 คือ พจน์แรก an คือ พจน์ที่ n และ d คือผลต่างร่วม ผลบวกย่อยn พจน์แรกของลาดับเรขาคณิต a1 (1  r n ) Sn  เมื่อ r 1 1 r โดยที่ a1 คือ พจน์แรก และ r คืออัตราส่วนร่วม ครูเน้นกับผู้เรียนว่าเราสามารถคานวณค่าของผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับได้เสมอ และเราจะนาจานวนจริงที่ได้มา เขียนเรียงเป็นพจน์ต่างๆ เป็นลาดับใหม่ ซึ่งจะเรียกว่า ลาดับของผลบวกย่อยนั่นเอง 9
  • 11. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครูอาจอธิบายผู้เรียนเพิ่มเติมว่า การลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรมนั้น จะพิจารณาในกรณีที่เป็นอนุกรมอนันต์เท่านั้น เนื่องจากอนุกรมจากัดนั้นจะเป็นอนุกรมที่ลู่เข้า และสามารถหาผลบวกของอนุกรมได้เสมอ และการลู่เข้าและการลู่ออก 10
  • 12. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ของอนุกรมอนันต์จะนิยามโดยพิจารณาการลู่เข้าและการลู่ออกของลาดับของผลบวกย่อย นอกจากนี้ผลบวกของ อนุกรม (เมื่ออนุกรมเป็นอนุกรมลู่เข้า) จะมีค่าเท่ากับลิมิตของลาดับของผลบวกย่อยนั่นเอง จากนั้นครูอาจลองถาม คาถามผู้เรียนก่อนที่จะเปิดสื่อต่อไปว่า จากนิยามข้างต้นถ้าผู้เรียนต้องการทราบว่าอนุกรมอนันต์ a1  a 2  a 3   an  เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออกนั้น จะมีขั้นตอนในการตรวจสอบอย่างไร 11
  • 13. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครูอาจทบทวนหรือใช้คาถามกับผู้เรียนว่าเพราะเหตุใดลาดับ 1, 0, 1, 0, 1, 0, หรือเมื่อเขียนในรูปพจน์  0 ; เมื่อ n เป็นจานวนคู่ ทั่วไป คือลาดับ Sn= 1 + 1 + + 1)n =  จึงเป็นลาดับลู่ออก  1 ; เมื่อ n เป็นจานวนคี่ ตัวอย่างทั้งสามต่อไป จะเป็นตัวอย่างของการตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรม รวมถึงการหาผลบวกของ อนุกรม เมื่ออนุกรมเป็นอนุกรมลู่เข้าเช่นเดียวกับตัวอย่างก่อนหน้า ซึ่งผู้เรียนทราบวิธีการในการหาคาตอบแล้ว เพียงแต่ ในการหาลาดับของผลบวกย่อยและหาลิมิตของลาดับของผลบวกย่อยของโจทย์ทั้งสามนี้จะซับซ้อนกว่า ดังนั้นครู อาจจะต้องมีการอธิบายซ้าในแต่ละตัวอย่างให้กับผู้เรียนอีกครั้งหลังจากดูสื่อแต่ละข้อ หรืออาจลองให้ผู้เรียนได้หาลาดับ ของผลบวกย่อย หรือหาลิมิตของลาดับของผลบวกย่อยด้วยตนเองในแต่ละข้อก่อนที่จะเปิดสื่อก็ได้ 12
  • 14. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากจบตัวอย่างที่ 3 ครูควรเน้นย้ากับผู้เรียนเกี่ยวกับการตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรม จะต้อง พิจารณาจากลาดับของผลบวกย่อยเป็นหลัก มิเช่นนั้นอาจเกิดความคลาดเคลื่อนเช่นเดียวกับตัวอย่างการตรวจสอบ การลู่เข้าของลาดับ 1, 0, 1, 0, 1, 0, 13
  • 15. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออกและผลบวกของอนุกรม 1. จงหาลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรมต่อไปนี้ 1.1 81  27  9  3   35 n  1.2 1  5  25  125   5n 1  n 1 12 48 192 4 1.3 3      3(1) n    5 25 125 5 n 1 7 7 7 7 7 1 1.4         6 24 96 384 6 4 n 1 16 8 16  3  1.5  46     9 3 9 2 1.6 100  85  70  55   (115  15n)  19 9 29  5n 1.7 12  7    2 2 2 1.8 22  42  62  82   (2n)2  1.9 343  49  7  1   (1)n 1 74n  1.10 1  2  7  14   (n 2  2)  1.11 216  36  6  1   64 n  14
  • 16. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.12 1  4  21  56   (n 3  2n)  2. อนุกรมในข้อ 1 อนุกรมใดบ้างที่เป็นอนุกรมลู่เข้าและมีผลบวกเป็นเท่าใด 15
  • 17. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต 16
  • 18. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบการลู่เข้าและการลู่ออกของอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมี วิธีการพิจารณาโดยการสังเกตจากอัตราส่วนร่วม รวมถึงทราบสูตรผลบวกของอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งในสื่อนี้จะ นาเสนอโดยละการพิสูจน์ ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจมากขึ้นโดยการแสดงที่มาของทั้งสองกรณีข้างต้นได้ โดยแยกพิจารณา เป็นกรณีดังนี้ กาหนดให้อนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 เป็นพจน์แรก และมี r เป็นอัตราส่วนร่วม นั่นคือ อนุกรมเรขาคณิต a 1  a 1r  a 1r 2   a 1r n  และเนื่องจากอนุกรมเป็นอนุกรมที่เกิดจากลาดับเรขาคณิต ดังนั้น a1  0 กรณีที่ 1 เมื่อ | r | = 1 จะได้ว่า r = 1 หรือ r = 1 ถ้า r = 1 จะได้อนุกรมเรขาคณิต a1  a1  a1   a1  เมื่อพิจารณาลาดับของผลบวกย่อย จะได้ ว่า ลาดับผลบวกย่อย คือ ลาดับ a1 , 2a1 , 3a1 , , na1 , และ n  na1 ไม่มีค่า ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิตนี้เป็น lim อนุกรมลู่ออก ถ้า r = 1 จะได้อนุกรมเรขาคณิต a1  (a1 )  a1  (a1 )  เมื่อพิจารณาลาดับของผลบวกย่อย จะได้ว่า ลาดับผลบวกย่อย คือ ลาดับ a1 , 0, a1 , 0, a1, และลิมิตของลาดับผลบวกย่อยไม่มีค่า ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิต นี้เป็นอนุกรมลู่ออก 17
  • 19. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรณีที่ 2 เมื่อ | r |  1 จะได้ว่าผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับเรขาคณิตหาได้จาก a1 (1  r n ) a1  a1  n Sn    r 1 r 1 r  1 r  พิจารณาลิมิตของลาดับของผลบวกย่อย ถ้า | r | < 1 จะได้ว่า n r n  0 ทาให้ได้ว่า lim a1  a  a1 lim Sn  lim   1  rn  n  n  1 r  1 r  1 r a1 ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิตเป็นอนุกรมลู่เข้า และผลบวกของอนุกรมเรขาคณิตเท่ากับ 1 r a1  a  ถ้า | r | > 1 จะได้ว่า lim Sn  lim   1  rn ไม่มีค่า ดังนั้นอนุกรมเรขาคณิตเป็น n  n  1 r  1 r  อนุกรมลู่ออก 18
  • 20. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจทฤษฎีบทในการตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรม เรขาคณิตมากขั้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 อนุกรมเรขาคณิตแบบอนันต์ชุดหนึ่งมีพจน์แรกคือ 2 และมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ 4 จงหา อัตราส่วนร่วมของอนุกรมนี้ วิธีทา ให้ S แทนผลบวกของอนุกรมเรขาคณิต จากโจทย์ S = 4 และ a1  2 a1 จาก S = 1 r 2 4 = 1 r 4 (1 – r ) = 2 1 r = # 2 19
  • 21. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่างที่ 2 อนุกรมเรขาคณิตแบบอนันต์ชุดหนึ่ง มีพจน์ที่สองเท่ากับ 9 และมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ 100 จงหาอนุกรมเรขาคณิตนี้ วิธีทา ให้อนุกรม a1  a1r  a1r 2  a1r 3   a1r n 1  เป็นอนุกรมเรขาคณิต และมีผลบวกของอนุกรม เท่ากับ 100 9 a1 จากโจทย์ จะได้ a 1r  9 หรือ a1  และ 100  r 1 r 9 จะได้ 100  r หรือ 100r 2  100r  9  0 1 r (10r  9)(10r  1)  0 9 1 r= หรือ r= 10 10 9 กรณี r = จะได้ a1  10 10 1 กรณี r = จะได้ a1  90 10 n 1  9  ดังนั้น อนุกรมเรขาคณิตที่โจทย์ต้องการ คือ อนุกรม 10  9  81   10    หรือ 10  10  n 1 9  1 อนุกรม 90  9    90    # 10  10  20
  • 22. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต อนุกรมเรขาคณิตที่กาหนดให้ต่อไปนี้ อนุกรมใดเป็นอนุกรมลู่เข้า หรือ อนุกรมลู่ออก พร้อมหาผลบวกของ อนุกรม (ถ้ามี) 1. 125  25  5  1   54  n  1 2. 100  10  1    (10)3 n  10 1 4 16 64 4n 1 3.       3 3 3 3 3 n 1  5 4. 8  20  50  125   8     2 3 3 3 3 (1) n 1 3 5.       4 16 64 256 4n n 1 3 3  1 6. 15  3     15     5 25  5 n 1 27 81 3 7. 15  9     15    5 25 5 1 7 49 343 7 n 1 8.       6 6 6 6 6 9. 6  36  216  1296   (1)n 1 6n  n 1 2 3 3 3 9 3 2 3 10.         3 2 8 32 34 21
  • 23. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต 22
  • 24. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะแก้ปัญหาโจทย์ประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้ความรู้จากหัวข้อการตรวจสอบ การลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต การทำโจทย์แต่ละข้อ ครูอาจเริ่มด้วยการเปิดสื่อเฉพาะส่วนของโจทย์ก่อน แล้วให้ ผู้เรียนวิเคราะห์สิ่งที่โจทย์กาหนดให้และสิ่งที่โจทย์ถาม รวมถึงลองหาแนวทางการแก้ปัญหาด้วยตนเองก่อน จึง จะเปิดสื่อต่อไป ครูอาจยกตัวอย่างโจทย์ประยุกต์เพิ่มเติมเกี่ยวกับทศนิยมซ้า ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนทศนิยมซ้า 4.7 ให้อยู่ในรูปเศษส่วน วิธีทา จาก 4.7 = 4.777... = 4  0.7  0.07  0.007  23
  • 25. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิจารณาอนุกรม 0.7  0.07  0.007  จะเห็นว่า เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1  0.7 และ r  0.1 เนื่องจาก | r | < 1 อนุกรมนี้จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ a1 0.7 7 S = = = 1 r 1  0.1 9 7 ดังนั้น 4.7 = 4 9 43 = # 9 ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนทศนิยมซ้า 0.316 ให้อยู่ในรูปเศษส่วน วิธีทา จาก 0.316 = 0.3161616... = 0.3  0.016  0.00016  0.0000016  พิจารณาอนุกรม 0.016  0.00016  0.0000016  จะเห็นว่า เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1  0.016 และ r  0.01 เนื่องจาก | r | < 1 อนุกรมนี้จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ a1 0.016 0.016 16 S = = = = 1 r 1  0.01 0.99 990 16 ดังนั้น 0.316 = 0.3  990 3 16 =  10 990 313 = # 990 24
  • 28. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต 1. จงหาค่าของ x ที่ทาให้อนุกรม 1  3x  9x 2  27x 3  เป็นอนุกรมลู่เข้าและมีผลบวกของอนุกรม 4 เท่ากับ 9 n 1 1 1 1  1 2. จงหาค่า x ที่ทาให้อนุกรม   x  3   x  3   x  3   x  3      x  3  2 3 4 n 2 4 8 16  2 เป็นอนุกรมลู่เข้า รวมทั้งหาผลบวกของอนุกรมนี้ 3. จงเขียนทศนิยมซ้าต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษส่วน 3.1 1.7 3.2 0.81 3.3 5.231 4. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งมีด้านยาวด้านละ a หน่วย รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สองเกิดจากการลากส่วนของ เส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปแรก รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สามเกิดจากการลากส่วนของ เส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สอง และสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเช่นนี้เรื่อยๆ ไป จงหา ผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมด ถ้ากระบวนการเกิดอย่างต่อเนื่องไม่มีสิ้นสุด 3 5. ลูกปิงปองตกจากโต๊ะสูง 5 ฟุต ถ้าทุกครั้งที่ลูกปิงปองตกกระทบพื้นจะกระดอนขึ้นเป็นระยะ ของความสูงที่ 5 ตกลงมา จงหาระยะทางทั้งหมดที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง 27
  • 31. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 30
  • 32. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื้อหาเพิ่มเติม ครูอาจกล่าวถึงเนื้อหาเพิ่มเติมสาหรับผู้เรียนที่สนใจศึกษาในเรื่องอนุกรมในระดับอุดมศึกษาเพื่อให้เห็น ความสัมพันธ์ของเนื้อหา เริ่มต้นที่การนิยามหรือการให้ความหมายอนุกรมจะมีความแตกต่างจากระดับ มัธยมศึกษา กล่าวคือ ความหมายของอนุกรมในระดับมัธยมศึกษานั้น อนุกรมจะนิยามเป็นการเขียนแสดงผลบวก ของพจน์ทุกพจน์ของลาดับ ขณะที่ในระดับอุดมศึกษาความหมายของอนุกรมนั้น อนุกรมเป็นลาดับชนิดหนึ่ง คือ เป็นลาดับของผลบวกย่อย โดยนิยามดังนี้ นิยาม ให้ an เป็นลาดับของจานวนจริง และ S 1 = a1 S 2 = a1 + a 2 S 3 = a1 + a 2 + a3 n Sn= a1 + a2 + a3 + + an =  a k k 1 เราเรียก Sn ว่า ผลบวกย่อย n พจน์แรกของลาดับ an และเรียกลาดับ Sn ว่าอนุกรมอนันต์ของจานวนจริง (หรือเรียก  สั้นๆ ว่า อนุกรม) ซึ่งจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  a n หรือ a1  a 2  a 3   an  n 1 31
  • 33. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดระคน 1. อนุกรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ อนุกรมใดเป็นอนุกรมลู่เข้าพร้อมหาผลบวกของอนุกรม หรือ เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 16 32  2 1. 1 12  8     12     3 9  3 n 1 15 3 3 12 15  4  1.2         16 4 5 25 16  5  n 1 27  3 1.3 100  30  9    100     10  10  n 1 125 5 1.4 16  20  25    16    4 4 1 1 1 1 1.5      3n 5  81 27 9 3 n 1 6 12 24  2 1.6 3     3    7 49 343  7 35 34 37  n 1.7 12    11    3 3 3 1.8 2  1  6  13   (n 2  3)  1 5 7 2n  1 1.9 1     3 3 3 3 2 2 2 2 1.10 2         1  2  1  2  n 1 1 2 1 2 2 3 n 1   2 3  1.11 1       3 9 27 3 1  cos 37   cos 37    cos 37    cos 37  n 1 1.12 2 3   32
  • 34. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 3 n 1 a  a   a   a  1.13 1         เมื่อ a เป็นจานวนจริงที่มากกว่าศูนย์ a 1  a 1   a 1   a 1  x 2. จงหาค่าของ x ที่ทาให้อนุกรม 2x  2x  x   เป็นอนุกรมลู่เข้าและมีผลบวกของอนุกรม 2 เท่ากับ 16 2x 22x 23x 3. ถ้าอนุกรม 1     มีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ 9 แล้ว  1  2x 1  2x    2 3 1  2x log 9 x   log 9 x    log 9 x    log 9 x   มีค่าเท่าใด 2 3 4 4. จงหาค่า a และ r เมื่อ 1 a  ar  ar 2  ar 3   ar n 1  = 3 1 a  ar  ar 2  ar 3   (1)n 1ar n 1  = 9 5. จงเขียนทศนิยมซ้าต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษส่วน 5.1 3.8 5.2 0.2 7 5.3 1.5 3 6 6. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีด้านยาวด้านละ p หน่วย รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สองเกิดจากการลากส่วน ของเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปแรก รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สามเกิด จากเกิดจากการลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สอง และสร้าง รูปสามเหลี่ยมเช่นนี้เรื่อยๆ ไป จงหาผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งหมด ถ้า กระบวนการเกิดอย่างต่อเนื่องไม่มีสิ้นสุด 33
  • 35. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 7. ปล่อยลูกแทนนิสจากความสูง 10 ฟุต ลูกเทนนิสกระดอนขึ้นมา ของความสูงเดิมในแต่ละครั้ง 3 จงหาระยะเคลื่อนที่ทั้งหมดในแนวตั้งของลูกเทนนิส 34
  • 36. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝึกหัด 35
  • 37. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ความหมายของการลู่เข้า การลู่ออก และผลบวกของอนุกรม 243   1   n 1 n 1. 1. 1 ลาดับ 1     1.2 ลาดับ 5  1 2  3    4  5  4   14   1   n n 1.3 ลาดับ     1 1.4 ลาดับ 1      3  5     15   4     32   3   n 1.5 ลาดับ 1     1.6 ลาดับ n  215  15n  9  2    2 1.7 ลาดับ n 53  5n  1.8 ลาดับ 2 n(n  1)(2n  1) 4 3 2401   1   n(n  1)(2n  1) n 1.9 ลาดับ 1      1.10 ลาดับ  2n 8   7    6   n 1.11 ลาดับ 1296 1   1     1.12 ลาดับ 1  n 4  2n 3  7n 2  4n  5   6   4 2. อนุกรมในข้อ 1 ที่เป็นอนุกรมลู่เข้า ได้แก่ 243 อนุกรมในข้อ 1.1 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 2 อนุกรมในข้อ 1.3 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น  5 3 อนุกรมในข้อ 1.4 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 14 15 2401 อนุกรมในข้อ 1.9 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 8 อนุกรมในข้อ 1.11 และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 1296 5 36
  • 38. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การตรวจสอบการลู่เข้าของอนุกรมเรขาคณิต 625 1. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 4 2. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 1, 000 11 3. อนุกรมลู่ออก 4. อนุกรมลู่ออก 3 5. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 5 75 6. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 6 75 7. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 2 8. อนุกรมลู่ออก 9. อนุกรมลู่ออก 8 3 10. อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 3 เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ตัวอย่างการประยุกต์ของอนุกรมเรขาคณิต 5 1. x มีค่าเท่ากับ 12 37
  • 39. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ค่า x ที่ทาให้อนุกรมที่กาหนดลู่เข้า คือ x  (1,5) 3 x และอนุกรมที่กาหนดมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ x 1 5,179 3. 3.1 16 3.2 9 3.3 9 11 990 4. 8  4 2  a หน่วย 5. 20 ฟุต เฉลยแบบฝึกหัดระคน 36 1. 1.1 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 5 75 1.2 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 16 1, 000 1.3 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 13 1.4 อนุกรมลู่ออก 1.5 อนุกรมลู่ออก 7 1.6 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 3 1.7 อนุกรมลู่ออก 1.8 อนุกรมลู่ออก 1.9 อนุกรมลู่ออก 1.10 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 6  4 2 1.11 อนุกรมลู่ออก 1.12 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น 5 1.13 อนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกของอนุกรมเป็น a  1 2. 84 2 1 3. 3 38
  • 40. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 1 4. a = และ r = 6 2 35 3 169 5. 5.1 5.2 5.3 9 11 110 6. 6p หน่วย 7. 50 ฟุต 39
  • 41. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน 40
  • 42. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ การให้เหตุผล ประพจน์และการสมมูล สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง จานวนจริง บทนา เรื่อง จานวนจริง สมบัติของจานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแก้อสมการ ค่าสัมบูรณ์ การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ กราฟค่าสัมบูรณ์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์ ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย (การหารลงตัวและตัวหารร่วมมาก) ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ 41
  • 43. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดเมนและเรนจ์ อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเบื้องต้น พีชคณิตของฟังก์ชัน อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม เลขยกกาลัง ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ ลอการิทึม อสมการเลขชี้กาลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซน์และโคไซน์ กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์ กาหนดการเชิงเส้น บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ การหาค่าสุดขีด ลาดับและอนุกรม บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม ลาดับ การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลาดับ ผลบวกย่อย อนุกรม ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม 42
  • 44. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความน่าจะเป็น บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น การนับเบื้องต้น . การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่ ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น 1 ความน่าจะเป็น 2 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เนื้อหา แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3 การกระจายของข้อมูล การกระจายสัมบูรณ์ 1 การกระจายสัมบูรณ์ 2 การกระจายสัมบูรณ์ 3 การกระจายสัมพัทธ์ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง กระเบื้องที่ยืดหดได้ 43