SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 72
การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
• คณะผู้จัดทาโครงงาน
• ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
• วัตถุประสงค์
• ขอบเขตโครงงาน
• หลักการและทฤษฎี
• วิธีดาเนินงาน
• ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
• แหล่งอ้างอิง
• ผลที่คาดว่าจะได้รับ
• สถานที่ดาเนินการ
• กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
• การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
• สาเหตุของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
• ผลงานสาคัญ
• ผลของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
คณะผู้จัดทาโครงงาน
• จัดทาโดย
– นางสาวกฤตพร สุดสงวน เลขที่ 17 ชั้น ม.6 ห้อง 13
– นางสาวธมนวรรณ เข็มทอง เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 13
• อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
– ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
– ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครูธีรเทพ ซูข่า
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
• การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการเป็นเรื่องราวประวัติศาสตร์ของชาติตะวันตกเกิดขึ้นในศตวรรษที่
14-15 เริ่มขึ้นที่ประเทศอังกฤษ ซึ่งส่งผลกระทบกับโลกของเราเป็นอย่างมากเพราะว่าใน
อดีตมีนักคิดมากมายในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการที่เป็นพื้นฐานความคิดของงานศิลปะใน
ปัจจุบัน การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการก่อให้ผลงานมรดกโลกของเรามากและงานศิลปะ
บางอย่างยังเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมบางวัฒนธรรมด้วย แนวคิดหลักในยุคนี้คือ
มนุษยธรรมและธรรมชาติ ซึ่งทาให้คนเราเชื่อศาสนาน้อยลงและเริ่มที่จะรู้จักชีวิตและธรรม
มาชาติมากขึ้น และปรับตัวเรียนรู้กับตัวเองและธรรมชาติจนเกิดเป็นศิลปวัฒนธรรมขึ้นมา
เหตุผลที่เลือกที่จะทาโครงงานนี้คือเพื่อที่จะให้ทราบถึงความเป็นจริงเกี่ยวกับที่มาของศิลปะ
และวิทยาการต่างๆ เรื่องการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการเป็นเนื้อหาประวัติศาสตร์สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 และเป็นเนื้อหาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ใช้ในการสอบเข้า
มหาวิทยาลัยอีกด้วย ซึ่งการเลือกที่จะทาเรื่องนี้นอกจากจะได้เผยแพร่ความเป็นมาของศิลปะ
ในปัจจุบัน ยังได้ความรู้และลายละเอียดเกี่ยวกับการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการเพื่อนาไปเป็น
ความรู้เพื่อการศึกษาและการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในอนาคตอีกด้วย
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้ทราบถึงที่มาของศิลปะและวิวัฒนาการต่างๆในปัจจุบัน
• เพื่อให้ความรู้เรื่องราวประวัติศาสตร์แห่งตะวันตก
• เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานศิลปะ
• เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประกอบการเรียนรู้และการสอบ
• เพื่อที่จะให้ผู้ที่ต้องการศึกเรื่องการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการได้เข้ามาศึกษาใน
โครงงานนี้
ขอบเขตโครงงาน
• สาเหตุของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
• ผลงานในยุคศิลปะวิทยาการ
• ผลจากการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
หลักการและทฤษฎี
• จากการที่ได้ศึกษาเรื่อง การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ซึ่งเป็นเนื้อหาในวิชาสังคม
ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นั้นทาให้ได้ความรู้
เกี่ยวกับเรื่องราวในประวัติศาสตร์มากขึ้น ซึ่งในเรื่องนี้ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ที่มาศิลปะที่มีอยู่ในปัจจุบันว่ามีความเป็นมาอย่างไร เหตุใดจึงเกิดศิลปะพวกนี้
ขึ้นในสังคมโลกของเรา ซึ่งความรู้ในอดีตส่งผลทาให้ปัจจุบันนี้เกิดความ
ศิลปะเช่นวันนี้ได้
วิธีดาเนินงาน
• แนวทางการดาเนินงาน
• เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
วิธีดาเนินงาน
• แนวทางการดาเนินงาน
– เลือกเรื่องที่ต้องการศึกษาค้นคว้า
– หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
– วิเคราะห์และแจกแจงข้อมูล
– จัดทารายงาน
– นาเสนอผลงาน
– ตรวจสอบและปรับปรุง
วิธีดาเนินงาน
• เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
– คอมพิวเตอร์
– โน้ตบุค
– โทรศัพท์มือถือ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
• ผู้ที่เข้ามาศึกในรายงานเรื่องนี้ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การฟื้นฟูศิลปะ
วิทยาการ
• ได้นาความรู้ที่ได้จากการทารายงานนาไปประยุกต์ใช้ในการสอบวิชาสังคม
ศึกษาและได้นาไปสอบในการสอบระดับมหาวิทยาลัย
• ได้ฝึกกระบวนการในกระบวนการโครงงานคอมพิวเตอร์
• ได้พัฒนาการใช้สื่อ PowerPoint ในการจัดทารูปแบบการนาเสนองาน
• ได้ฝึกการทางานร่วมกับผู้อื่นเป็นทีม
สถานที่ดาเนินการ
• โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
• กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
• กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
• กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE)
• เกิดในช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 คือ ปลายสมัยกลางถึงต้น
สมัยใหม่ ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (TRANSITIONAL PERIOD) ของ
ประวัติศาสตร์สองยุค การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเริ่มขึ้นที่นครรัฐต่างๆ บน
คาบสมุทรอิตาลี ซึ่งมีความ มั่งคั่งและร่ารวยจากการค้าขาย ต่อมาจึง
แพร่หลายไปสู่บริเวณอื่นๆ ในยุโรป
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE)
• แปลว่า เกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึง การนาเอาศิลปวิทยาการของ กรีก
และโรมันมาศึกษาใหม่ ทาให้ศิลปวิทยาการกรีก-โรมันเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง
หนึ่ง เป็นสมัยที่ ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรมกรีก-
โรมัน จึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพ ช่วงเวลานี้
จึงถือว่าเป็นขบวนการขั้นสุดท้ายที่จะปลดปล่อยยุโรปจาก สังคมในยุคกลาง
ที่เคยถูกจากัดโดยกฏเกณฑ์และข้อบังคับของคริสต์ศาสนาสาเหตุและความ
เป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
• การขยายตัวทางการค้า ทาให้พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครองนครใน
นครรัฐ อิตาลีมีความมั่งคั่งขึ้น เช่น เมืองฟลอเรนซ์ เมืองมิลาน หันมาสนใจ
ศิลปะและวิทยาการความ เจริญในด้านต่างๆ ประกอบกับที่ตั้งของนครรัฐใน
อิตาลีเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันตะวันตก มาก่อน ทาให้นักปราชญ์
และศิลปินต่างๆ ในอิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและวิทยาการของโรมัน
สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
• ความเจริญทางเศรษฐกิจและการเกิดรัฐชาติในปลายยุคกลาง ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทั้งด้านองค์กรทางการเมือง องค์กรทางเศรษฐกิจซึ่งต้อง
ใช้ความรู้ความ สามารถมาบริหารจัดการ แต่การศึกษาแบบเดิมเน้นปรัชญาทาง
ศาสนาและสังคมในระบบฟิวดัล จึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคม
ได้ ดังนั้นนักปราชญ์สาขาต่างๆ จึงหันมาศึกษา อารยธรรมกรีกและโรมัน เช่น
นักกฎหมายศึกษากฎหมายโรมันโบราณเพื่อนามาใช้พิพากษาคดี ทางการค้า นัก
รัฐศาสตร์ศึกษาตาราทางการเมือง เพื่อนามาใช้ในการทูตและความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ รวมทั้งนักประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ ก็ค้นหา
ความจริงและสนใจ ศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมันเช่นกัน เป็นต้น
สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
• ทัศนคติของชาวยุโรปในช่วงปลายสมัยกลางต่อการดาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป
จากเดิม จากการที่เคร่งครัดต่อคาสั่งสอนทางคริสต์ศาสนา มุ่งแสวงหา
ความสุขในโลกหน้า ใฝ่ใจ ที่จะหาทางพ้นจากบาป และปฏิบัติทุกอย่างเพื่อ
เสริมสร้างกุศลให้แก่ตนเอง ได้เปลี่ยนมาเป็นการ มองโลกในแง่ดี และเบื่อ
หน่ายกับระเบียบสังคมที่เข้มงวดกวดขันของคริสตจักร รวมทั้งมีอคติต่อ
การกระทามิชอบของพวกพระ จึงหันไปสนใจผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
ของมนุษยชาติ และเห็น ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีและมีคุณค่า
ขึ้นได้ ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเป็นที่มาของแนวคิด แบบมนุษยนิยม (HUMANISM)
ที่สนใจโลกปัจจุบันมากกว่าหนทางมุ่งหน้าไปสู่สวรรค์ดังเช่นเคย
สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
• การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออก เพราะ
ถูกพวก มุสลิมเติร์กยึดครองใน ค.ศ. 1453 ทาให้วิทยาการแขนงต่างๆ ที่
จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบทอดไว้ หลั่งไหลคืนสู่ยุโรปตะวันตก
ความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
ผลงานสาคัญ
• วรรณคดีประเภทคลาสสิก
– นิคโคโล มาเคียเวลลี
– ฟรานเซสโก เพทราร์ก
– วิลเลียม เช็กสเปียร์
• ศิลปกรรม
– ไมเคิลแอนเจโล บูโอนาร์โรตี
– เลโอนาร์โด ดา วินชี
– ราฟาเอล
• ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ
– ด้านดาราศาสตร์
– ด้านการพิมพ์
วรรณคดีประเภทคลาสสิก
วรรณคดีประเภทคลาสสิก
• นักมนุษยนิยมที่กระตุ้น จินตนาการของชาวยุโรปให้มาสนใจงานวรรณคดี
และปรัชญา ได้รับการ ยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก
เพทราร์ก (FRANCESCO PETRARCA : ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลี ผู้ซึ่ง
ชี้ความ งดงามของภาษาละตินและการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ผู้ที่สนใจและ
นิยมงานเขียนวรรณคดีประเภทคลาสสิกจะค้นคว้าศึกษางานของ ปราชญ์
สมัยโรมันตามห้องสมุดของวัดและโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วนา มาคัดลอก
รวมทั้งนาวรรณคดีและแนวคิดของปรัชญากรีกมาแปลเป็น ภาษาละติน
เผยแพร่ทั่วไป
วรรณคดีประเภทคลาสสิก
• นิคโคโล มาเคียเวลลี (NICCOLO MACHIAVELLI : ค.ศ. 1469-1527)
เรื่องเจ้าผู้ครอง นคร (THE PRINCE) กล่าวถึงลักษณะการเป็นผู้ปกครอง
รัฐที่ดี และ เซอร์ธอมัส มอร์ (SIR THOMAS MORE : ค.ศ. 1478-1536)
เขียนเรื่อง ยูโทเปีย (UTOPIA) กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความ
เลวร้าย ซึ่งผลงานของนักมนุษยนิยมเหล่านี้นาไปสู่การต่อต้านการปกครอง
และ วิธีปฏิบัติของคริสตจักรที่ขัดต่อคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งส่งผลทาให้เกิดการ
ปฏิรูปศาสนาขึ้นใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบทละคร
วรรณคดีประเภทคลาสสิก
• วิลเลียม เช็กสเปียร์ (WILLIAM SHAKESPEARE: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่ง
เขียนบทละครที่มีชื่อเสียง คือ โรมิโอและ จูเลียต (ROMEO AND JULIET)
และเวนิสวาณิช (THE MARCHANT OF VENICE)
ศิลปกรรม
ศิลปกรรม
• ในยุคกลางศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนาโดยเฉพาะ ทาให้
ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา
แต่ศิลปกรรมในสมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยานิยมงานศิลปะของกรีก-โรมันที่เป็น
ธรรมชาติ จึงให้ความสนใจความสวยงามใน สรีระของมนุษย์ มิติของภาพ สี
และแสงในงานประติมากรรมและจิตรกรรมให้สมจริง สมดุล และกลมกลืน
สอดคล้องมากขึ้น ศิลปินที่สาคัญ
ศิลปกรรม
• ไมเคิลแอนเจโล บูโอนาร์โรตี (MICHELANGELO BUONARROTI : ค.ศ.
1475-1564) เป็นศิลปินที่มีผลงานทั้งด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และ
สถาปัตยกรรม ผลงานประติมากรรมที่ สาคัญและมีชื่อเสียง คือ รูปสลัก
เดวิด (DAVID) เป็นชายหนุ่มเปลือยกาย และปิเอตา (PIETA) เป็นรูปสลัก
พระมารดากาลังประคองพระเยซูในอ้อมพระกร ส่วน ผลงานจิตรกรรมที่มี
ชื่อเสียง คือ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนไว้บน เพดานและฝาผนังของโบสถ์ซี
สติน (SISTINE CHAPEL) ในมหาวิ หารเซนต์ปีเตอร์ ที่กรุงโรม ที่มี
ลักษณะงดงามมาก
ศิลปกรรม
• รูปแกะสลักเดวิดประติมากรรมที่มีชื่อเสียงของ ไมเคิลแอนเจโล
ศิลปกรรม
• ภาพปีเอตะ(Pietà) ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร
• เป็นรูปสลักจากหินอ่อนบริสุทธิ์รูปพระแม่มาร์รีย์ประคอง
อุ้มร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากไม้กางเขน ซึ่งคาว่า
ปีเอตะ(Pietà) ในภาษาอิตาลีมีความหมายว่า ความสงสาร
ผลงงานประติมากรรมดังกล่าวเป็นผลงานหนึ่งในชื้นเอก
ของมีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บูโอนาร์โรตี ซีโมนี
(Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni)
ศิลปกรรม
• มหาวิหารนักบุญเปโตร
• เมื่ออายุได้ 30 ปี ไมเคิลแองเจนโล ถูกเชิญไปยังกรุงโรมเพื่อให้ออกแบบหลุมฝัง
พระศพของ สมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งใช้เวลาถึง 40 ปี หลังจาก
นั้นไมเคิลแองเจนโลได้แสดงอัจฉริยภาพทางการออกแบบ โดยการเป็นสถาปนิก
คนสาคัญในการสร้างวิหารนักบุญเปโตร(Basilica of Saint Peter) รู้จักกันใน
นาม Basilica di San Pietro in Vaticano หรือ เซนต์ปีเตอร์สบาซิลิกา
(Saint Peter's Basilica) เป็นวิหารใหญ่และสาคัญที่สุดในนครวาติกัน โดย
จุดสูงสุดของโดมสามารถมองเห็นทัศนียภาพของกรุงโรมได้โดยรอบ สามารถจุคน
ได้ถึง 60,000 คน และยังเป็นเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดที่หนึ่งในคริสตจักร
โรมันคาทอลิก ซึ่งวิหารนักบุญเปโตรถือเป็นงานสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลกเลย
ทีเดียว
ศิลปกรรม
• มหาวิหารนักบุญเปโตรตอนกลองคืน
ศิลปกรรม
• ภาพการตัดสินครั้งสุดท้าย ณ ชาเปลซิสติน นครรัฐวาติกัน
• ในช่วงบั้นปลายชีวิตของไมเคิลแองเจนโลยังได้สร้างผลงานจิตรกรรมที่มีชื่อเสียงมี
ชื่อว่า การตัดสินครั้งสุดท้าย (The Last Judgment) ซึ่งเป็นภาพจิตรกรรมฝา
ผนังบนเพดานของโบสถ์น้อยซิสติน (Sistine Chapel ceiling) ซึ่งได้รับการ
ว่าจ้างจากสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 โดยเป็นที่ตั้งของห้องประชุมพระ
สันตะปาปาและสถานที่ที่ใช้ในการทาพิธีทางศาสนาของพระสันตะปาปาอีกด้วย
การเขียนภาพจิตรกรรม การตัดสินครั้งสุดท้าย นั้นใช้เทคนิคที่เรียกว่า Fresco
คือการวาดภาพลงบนผิวปูนเปียกเพื่อสีซึมลงไปในเนื้อปูนจะทาให้สีติดทนนานและ
ไม่ร่อนออกมานั่นเอง โดยภาพ การตัดสินครั้งสุดท้าย ประกอบด้วยรูปภาพย่อย
กว่า 400 รูปภาพ มีขนาด 48×44 ฟุต เลยทีเดียว
ศิลปกรรม
• ภาพการตัดสินครั้งสุดท้าย ณ ชาเปลซิสติน นครรัฐวาติกัน
ศิลปกรรม
• ไมเคิลแองเจนโล เสียชีวิตในปี 1564 ด้วยอายุ 90 ปี มีคากล่าวจากมเด็จ
พระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ว่า "ทรงยินดีบั่นทอนชีวิตของท่านลง เพื่อแลกกับชีวิต
ของมิเกลันเจโลให้ยืนยาวออกไปอีก" แสดงให้เห็นว่าตลอดชั่วชีวิตของไมเคิล
แองเจนโลนั้น ได้รังสรรค์ผลงานศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาไว้มาก ไม่ว่าจะเป็น
ประติมากรรม สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ซึ่งต่างก็เป็นผลงานที่มีคุณค่าต่อ
มนุษยชาติมากมาย
มองย้อนกลับไปยังตัวเราในวันนี้เราทาตัวมีค่าพอให้คุณยกย่องเพียงใด ทรัพย์สินที่
มีก็เป็นเพียงของนอกกาย สิ่งที่จะดารงอยู่สืบไปคือผลงานและคุณความดี ใครจะรู้
ว่าในอนาคตคุณอาจจะเป็น ศิลปิน นักคิด นักกวี หรือบุคคลที่มีชื่อก้องโลกก็
เป็นได้
ศิลปกรรม
• เลโอนาร์โด ดา วินชี (LEONARDO DA VINCI : ค.ศ. 1452-1519) เป็น
ศิลปินที่มี ผลงานเป็นเลิศในสาขาต่างๆ ภาพเขียนที่มีชื่อเสียง คือ ภาพ
อาหารมื้อสุดท้าย (THE LAST SUPPER) ซึ่งเป็นภาพพระเยซูกับสาวกนั่งที่
โต๊ะอาหารก่อนที่พระเยซูจะถูกนาไปตรึงไม้กางเขน และภาพโมนาลิซ่า
(MONALISA) เป็นภาพหญิงสาวที่มีรอยยิ้มปริศนากับบรรยากาศของ
ธรรมชาติ
ศิลปกรรม
• เทคนิคการเขียนกลับทาง (Mirror Writing)
• เทคนิคการเขียนตัวอักษรย้อนกลับทิศทางจากตัวหลังไปตัวหน้าของดาวินชี
สร้างข้อถกเถียงให้กับนักวิชาการจนถึงวันนี้ ว่า เป็นวิธีการเข้ารหัสแบบ
โบราณที่เขาสร้างขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้บุคคลอื่นๆ ลอบอ่านและขโมยข้อมูลใน
บันทึกส่วนตัว หรือจริงๆแล้วเป็นเพียงเพราะดาวินชี “ถนัดซ้าย” จึงคิดวิธี
เขียนกลับหลังแบบนี้เพื่อไม่ให้น้าหมึกเปื้อนมือกันแน่
ศิลปกรรม
• เทคนิคการเขียนกลับทาง (Mirror Writing)
ศิลปกรรม
• ชุดดาน้า (Scuba Gear)
• ผลพวงจากการที่ดาวินชีหลงใหลในท้องทะเลอันกว้างใหญ่ไพศาล
เป็นที่มาของการออกแบบอุปกรณ์เครื่องไม้เครื่องมือสาหรับการ
ดาน้าขึ้นมาหลาย ชนิดในจานวนนี้ รวมถึงเรือดาน้า และชุดประ-
ดาน้าที่ตัวชุดทาจากหนังและเชื่อมต่อกับท่อและโลหะทรงกลมซึ่งทา
หน้าที่เป็นเหมือนสนอร์เกิ้ล หรือหน้ากากดาน้ายุคปัจจุบัน
นอกจากนั้น ชุดดาน้าชุดนี้ยังมีถุงเก็บปัสสาวะด้วย
แสดงให้เห็นถึงความรอบคอมในการออกแบบ
ศิลปกรรม
• สะพานชักรอก (The Revolving Bridge)
• ดาวินชีออกแบบสะพานสาหรับใช้ในการเคลื่อนพลผ่านพื้นที่ในสมรภูมิ
ทุรกันดาร ต่างๆ เช่น การยกพลข้ามแม่น้า ตัวสะพานดังกล่าวมีระบบชัก
รอกและสายพาน ทาให้ทหารกางออกมาใช้งานและชักรอกเก็บได้อย่าง
รวดเร็ว เป็นหนึ่งในเครื่องจักรทุ่นแรงอีกหลายชนิดจากการคิดค้นของดาวิน
ชี
ศิลปกรรม
• เครื่องร่อน (The Winged Gilder)
• ภายในคลังจินตนาการอันไม่มีที่สิ้นสุดของดาวินชีนั้น
มี “เครื่องกลบินได้” รวมอยู่ด้วยเป็นจานวนมาก
รวมถึง “เครื่องร่อน” ซึ่งตรงบริเวณปีกมีแผ่นบังคับ
เปิด-ปิดควบคุมทิศทางได้หรือที่ปัจจุบันเรียก ว่า
“แฟลบ” และในตัวเครื่องร่อนยังมีเกียร์ควบคุม
ความเร็วที่นั่งติดอยู่ด้วย
ศิลปกรรม
• ปืนใหญ่ 3 ลากล้อง (The Triple-Barreled Cannon)
• แม้ประวัติของดาวินชีจะเกลียดสงคราม มีลักษณะเป็น “นักคิด” มากกว่า
“นักรบ” แต่ในใจของเขาก็ยังฝันถึงการคิดค้นงานด้านวิศวกรรม หนทาง
เดียวที่จะทาเช่นนั้นได้ คือ การออกแบบอาวุธสงครามเพราะได้รับการ
สนับสนุนจากผู้มีอานาจมากที่สุด หนึ่งในผลงานการออกแบบอาวุธ ได้แก่
ปืนใหญ่ที่มีอานุภาพที่มีลากล้องติดกันถึง 3 กระบอก เหมือนกับที่เห็นใน
ภาพ
ศิลปกรรม
• ปืนใหญ่ 3 ลากล้อง (The Triple-Barreled Cannon)
ศิลปกรรม
• สกรูบิน (The Aerial Screw)
• ถึงแม้นักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่จะลงความเห็นตรงกันว่ามันไม่มีทางที่เจ้า
อุปกรณ์ชิ้นนี้จะบินขึ้นจากพื้นได้ แต่ “เฮลิคอปเตอร์” ใน แบบของดาวินชีก็
ยังคงถูกจัดให้เป็นหนึ่งในผลงานที่โด่งดังที่สุดของเขา เครื่องกลที่ชวนให้
สงสัยนี้ดูเหมือนว่าจะถูกออกแบบให้ทางานโดยใช้คนสี่คนมาหมุน มันพร้อม
กัน รวมทั้งน่าจะได้รับแรงบันดาลใจมาจากกังหันลมซึ่งเป็นของเล่นที่นิยมกัน
ใน สมัยนั้นด้วย
ศิลปกรรม
• สกรูบิน (The Aerial Screw)
ศิลปกรรม
• เมืองในอุดมคติ (The Ideal City)
• ยุคสมัยหนึ่ง ดาวินชีอาศัยอยู่ในนครมิลานท่ามกลางสภาพการแพร่ระบาด
ของโรคร้าย เขาจึงคิดออกแบบผังเมืองใหม่ให้มีความสะอาด เป็นระเบียบ
ถูกสุขอนามัย อาทิ เขียนแบบให้เมืองในอุดมคติเมื่อหลายร้อยปีก่อนแห่งนี้มี
“ระบบระบายอากาศ” เพื่อดึงอากาศบริสุทธิ์เข้าสู่ตัวเมือง และมีระบบระบาย
น้าเสีย
ศิลปกรรม
• เมืองในอุดมคติ (The Ideal City)
ศิลปกรรม
• รถขับเคลื่อนด้วยตัวเอง (The Self-Propelled Car)
• แน่นอนว่ารถที่ดาวินชีพยายามสร้างไม่สามารถวิ่งเร็วหลายร้อยกิโลเมตรต่อ
ชั่วโมงเหมือนรถเฟอร์รารี่ แต่ถ้าคิดว่าเป็นรถที่อยู่ในสมัยนั้นก็ต้องจัดว่า
ไฮเทคล้ายุคสุดๆ เพราะรถที่มีตัวถึงทาจากไม้คันนี้ สามารถแล่นขับเคลื่อน
ด้วยตัวมันเองด้วยแรงส่งและการทางานอย่างสัมพันธ์กัน ระหว่างสปริงและ
เกียร์ที่ล้อ เมื่อปี 2547 นักวิทยาศาสตร์ประจาพิพิธภัณฑ์ในเมืองฟลอเรนซ์
ทดลองสร้างแบบจาลองรถรุ่นนี้ ตามแบบที่ดาวินชีร่างเอาไว้และพบว่าวิ่งได้
จริง
ศิลปกรรม
• รถขับเคลื่อนด้วยตัวเอง (The Self-Propelled Car)
ศิลปกรรม
• แนวคิดเกี่ยวกับธรณีวิทยา (Geologic Time)
• นักคิดส่วนมากในสมัยของดาวินชีนั้นมีความเห็นตรงกันเป็นส่วนใหญ่ว่าซาก
ฟอสซิลของพวกหอย ปู ปลาหมึกต่างๆที่พบบนยอดเขานั้นเป็นสิ่งที่
หลงเหลือจากการเกิดน้าท่วมครั้ง ใหญ่ แต่ดาวินชีกลับไม่คิดเช่นนั้น เขาตั้ง
ข้อสงสัยไว้ (ซึ่งก็ถูกเสียด้วย) ว่าภูเขาเหล่านั้นจะต้องเคยเป็นชายฝั่งมาก่อน
ก่อนที่จะค่อยๆยกตัวสูงขึ้นๆในเวลาต่อมา (wow!!)
ศิลปกรรม
• แนวคิดเกี่ยวกับธรณีวิทยา (Geologic Time)
ศิลปกรรม
• วิทรูเวียนแมน (The Vitruvian Man)
• เชื่อว่าชาวโลกน้อยคนนักที่จะไม่เคยผ่านตากับภาพวาดของบุรุษผู้นี้ นั่นก็คือ
ภาพ “วิทรูเวียน แมน” ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่ดาวินชีศึกษาสัดส่วนกายวิภาค
มนุษย์อย่างละเอียด จนพิสูจน์ทฤษฎีบทของ “วิทรูเวียน” ผู้เป็นสถาปนิกยุค
จักรวรรดิโรมันได้สาเร็จว่า “ร่างคนยืนกางแขนขาจะตกเป็นรูปทรงเรขาคณิต
ที่สมบูรณ์เสมอ” และนับเป็นการเปิดประตูสู่ศาสตร์กายวิภาคครั้งสาคัญ
ศิลปกรรม
• วิทรูเวียนแมน (The Vitruvian Man)
ศิลปกรรม
• ภาพวาดโมนาลิซ่า งานจิตรกรรมของเลโอนาร์โด ดา วินชี
ศิลปกรรม
• ราฟาเอล (RAPHAEL : ค.ศ. 1483-1520) เป็นจิตรกรที่วาดภาพเหมือนจริง
ภาพที่มี ชื่อเสียง คือ ภาพพระมารดาและพระบุตร พร้อมด้วยนักบุญจอห์น
(MADONNA AND CHILD WITH ST. JOHN)
ศิลปกรรม
• The School of Athens
• ภาพวาดส่วนมากของราฟาเอลเน้นความงามที่เกิดจากรูปร่างของมนุษย์ ที่
แสดงอารมณ์หลากหลายต่าง ๆ กันออกมา การใช้สีนิยมสีสดคล้ายกับงาน
ศิลปะในสมัยไบแซนทีน แต่กายวิภาคมีความงดงาม อ่อนช้อย ทั้งชายและ
หญิง และเด็กเล็ก ท่าทางของบุคคลในภาพแสดงออกเหมือนเคลื่อนไหวได้
สร้างอารมณ์ให้แก่ผู้ชมได้เป็นอย่างดี ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ
“โรงเรียนเอเธนส์” (The School of Athens) เป็นภาพที่เกี่ยวกับนักปรัชญา
กรีกหลายคน รวมทั้งตัวราฟาเอลด้วย
ศิลปกรรม
• The School of Athens
ศิลปกรรม
• Sistine Madonna
• ราฟาเอล แสดงให้พวกเรามองเห็นภาพผู้คนเท่าที่เป็นอยู่จริง ไม่ใช่ภาพที่ทา
กันเป็นแบบแผนอย่างที่ รูเบนส์ และ ฟานไตด์ เขียนกัน ภาพแม่พระอุ้มพระ
บุตรหลายภาพที่เขาเขียนขึ้นในกรุงโรม มีความงดงามยิ่งกว่าภาพที่เขาเคย
เขียนไว้ในนครฟลอเรนซ์เสียอีก บางทีภาพ "ซิสตินมะดอนนา" อาจเป็น
ภาพเขียนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในบรรดาเรื่องนี้ทั้งหมดก็เป็นได้
ศิลปกรรม
• Sistine Madonna
ศิลปกรรม
• Portrait of Pope Julius II (Raphael)
• ราฟาเอล เริ่มจะกลายเป็นจิตรกรที่มีงานยุ่งมากขึ้น เขาได้เสร็จภาพเขียนไป
อีกชุดหนึ่ง เป็นภาพเขียนสาหรับพระสันตปาปาจูเลียสที่ 2 อยู่ในห้องเฮลิโด
รุส ภาพเหล่านี้แสดงถึงความกล้าหาญด้านการรบทัพจับศึกของพระ
สันตปาปาในทางทหาร และแสดงให้เห็นว่า พระเจ้าได้ช่วยสนับสนุนพระองค์
ให้ประสบชัยชนะได้อย่างไรด้วย
ศิลปกรรม
• Portrait of Pope Julius II (Raphael)
ศิลปกรรม
• Raphael's Creation of the World
• ภาพเขียน ลา ฟอร์นารินาโดยราฟาเอลงานจิตรกรรมของราฟาเอลในระยะ
หลังมีความเรียบง่ายและมีความใหญ่โตมากขึ้น แต่ยังคงรักษาความมีชีวิตชีวา
ของงานยุคต้นของตนเองไว้ได้ งานของราฟาเอลที่แสดงถึงความงามของ
ผู้หญิงนับได้ว่าเป็นผลงานที่มีอิทธิพลต่อศิลปินกลุ่มนีโอคลาสสิกเป็นอย่าง
มาก
ศิลปกรรม
• Raphael's Creation of the World
ศิลปกรรม
• Madonna del Granduca
• ในสมัยนี้ได้เกิดความก้าวหน้าทางการวาดเขียนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งการวาดภาพบนฝาผนังแบบเฟรสโก (Fresco) ซึ่งเป็นวิธีวาดภาพบนผนัง
ปูนเปียกให้เสร็จเรียบร้อย ก่อนผนังปูนแห้ง มิฉะนั้นจะต้องคอยพรมน้าให้
พื้นผนังปูนเปียกอยู่เสมอ เพื่อว่าจะได้ง่ายต่อการดูดซึมซับของสี วิธีการแบบ
นี้ไม่สะดวกต่อการเก็บรายละเอียด แต่ให้ความคงทนถาวรเป็นเยี่ยม
ศิลปกรรม
• Madonna del Granduca
ศิลปกรรม
• ภาพวาดพระมารดาและพระบุตร งานจิตรกรรมของราฟาเอล
ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ
ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ
• ด้านดาราศาสตร์ เป็นสาขาวิชาที่ชาวยุโรปสนใจกันมากในช่วงเวลานี้ นัก
ดาราศาสตร์ที่สาคัญ คือ คอเปอร์นิคัส (ค.ศ. 1473-1543) ได้เสนอทฤษฎี
ที่ขัดแย้งกับคาสอนของ คริสต์ศาสนา โดยระบุว่าโลกไม่ได้แบนและไม่ได้เป็น
ศูนย์กลางของจักรวาล แต่เป็นบริวารที่โคจร รอบดวงอาทิตย์
ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ
• ด้านการพิมพ์ ในช่วงสมัยนี้ได้มีการคิดค้นการพิมพ์ที่ใช้วิธีการเรียงตัวอักษร
ได้ สาเร็จเป็นครั้งแรก โดยโยฮัน กูเตนเบิร์ก ( JOHANNES GUTENBURG
: ค.ศ. 1400-1468) ชาว เมืองไมนซ์ (MAINZ) ในเยอรมนี ทาให้ราคา
หนังสือถูกลงและเผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวาง
ผลของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
• ความสนใจในโลกปัจจุบัน ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปยังคงนับถือ
ศรัทธาใน พระเจ้า แต่จากการได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบมนุษยนิยม ทา
ให้ชาวยุโรปมีแนวคิดในการ ดาเนินชีวิตในโลกปัจจุบันให้ดีและสร้างสิ่งต่างๆ
เพื่อความสุขและความมั่นคงให้แก่ตน ทั้งหมดนี้ สะท้อนในงานศิลปกรรม
ต่างๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อนสนองความพึงพอใจของตนเอง เช่น สร้างบ้าน เรือน
อย่างวิจิตรสวยงาม การมีรูปปั้นประดับอาคารบ้านเรือน การวาดภาพเหมือน
ของมนุษย์ เป็นต้น
• ความต้องการแสวงหาความรู้ การที่มนุษย์ต้องการหาความรู้และความ
สะดวกสบาย ให้แก่ชีวิต ทาให้ต้องมีการคิดสร้างสรรค์ผลงานและวิทยาการ
ต่างๆ ดังนั้นมนุษย์ในสมัยฟื้นฟู ศิลปวิทยาการ จึงมีการส่งเสริมและ
สนับสนุนการศึกษา การคิคค้น การทดลอง การพิพากษ์ วิจารณ์อย่างมี
เหตุผล เป็นผลให้วิทยาการด้านต่างๆ พัฒนามากขึ้น สภาพสังคมของมนุษย์
ในสมัย นี้คือการตื่นตัวในการค้นหาความจริงของโลก ทาให้มนุษย์ต้องการ
แสวงหาความรู้และสารวจดิน แดนต่างๆ อันนาไปสู่การปฏิรูปศาสนา การ
สารวจทางทะเล และการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ใน เวลาต่อมา
ผลของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
แหล่งอ้างอิง
• นัตติกาล เสมใจ. ๒๕๕๗. การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : https://suphannigablog.wordpress.com/. ๑๒ มกราคม
๒๕๕๗
• พิภักดิ์ ประเสริฐ์. ๒๕๕๕. การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http://www.slideshare.net/sudoooooo/renaissance-
41379445 . ๑๒ มกราคม ๒๕๕๗
•

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
Milky' __
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลามใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลาม
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
Panomporn Chinchana
 

Mais procurados (20)

การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลามใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลาม
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 

Destaque

การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
Jeeji Supadda Phokaew
 

Destaque (6)

ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 

Semelhante a การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
Yatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
Yatphirun Phuangsuwan
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religion
fuangfaa
 
Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้
fuangfaa
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
พิพัฒน์ ตะภา
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
Intrayut Konsongchang
 
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติหนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
Humanities Information Center
 

Semelhante a การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (12)

Plan 04 (2)
Plan 04 (2)Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religion
 
Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
Plan01
Plan01Plan01
Plan01
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติหนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
 

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

  • 2. การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ • คณะผู้จัดทาโครงงาน • ที่มาและความสาคัญของโครงงาน • วัตถุประสงค์ • ขอบเขตโครงงาน • หลักการและทฤษฎี • วิธีดาเนินงาน • ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน • แหล่งอ้างอิง • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • สถานที่ดาเนินการ • กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง • การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ • สาเหตุของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ • ผลงานสาคัญ • ผลของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
  • 3. คณะผู้จัดทาโครงงาน • จัดทาโดย – นางสาวกฤตพร สุดสงวน เลขที่ 17 ชั้น ม.6 ห้อง 13 – นางสาวธมนวรรณ เข็มทอง เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 13 • อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน – ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ – ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครูธีรเทพ ซูข่า
  • 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน • การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการเป็นเรื่องราวประวัติศาสตร์ของชาติตะวันตกเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 14-15 เริ่มขึ้นที่ประเทศอังกฤษ ซึ่งส่งผลกระทบกับโลกของเราเป็นอย่างมากเพราะว่าใน อดีตมีนักคิดมากมายในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการที่เป็นพื้นฐานความคิดของงานศิลปะใน ปัจจุบัน การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการก่อให้ผลงานมรดกโลกของเรามากและงานศิลปะ บางอย่างยังเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมบางวัฒนธรรมด้วย แนวคิดหลักในยุคนี้คือ มนุษยธรรมและธรรมชาติ ซึ่งทาให้คนเราเชื่อศาสนาน้อยลงและเริ่มที่จะรู้จักชีวิตและธรรม มาชาติมากขึ้น และปรับตัวเรียนรู้กับตัวเองและธรรมชาติจนเกิดเป็นศิลปวัฒนธรรมขึ้นมา เหตุผลที่เลือกที่จะทาโครงงานนี้คือเพื่อที่จะให้ทราบถึงความเป็นจริงเกี่ยวกับที่มาของศิลปะ และวิทยาการต่างๆ เรื่องการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการเป็นเนื้อหาประวัติศาสตร์สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 และเป็นเนื้อหาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ใช้ในการสอบเข้า มหาวิทยาลัยอีกด้วย ซึ่งการเลือกที่จะทาเรื่องนี้นอกจากจะได้เผยแพร่ความเป็นมาของศิลปะ ในปัจจุบัน ยังได้ความรู้และลายละเอียดเกี่ยวกับการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการเพื่อนาไปเป็น ความรู้เพื่อการศึกษาและการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในอนาคตอีกด้วย
  • 5. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ทราบถึงที่มาของศิลปะและวิวัฒนาการต่างๆในปัจจุบัน • เพื่อให้ความรู้เรื่องราวประวัติศาสตร์แห่งตะวันตก • เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานศิลปะ • เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประกอบการเรียนรู้และการสอบ • เพื่อที่จะให้ผู้ที่ต้องการศึกเรื่องการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการได้เข้ามาศึกษาใน โครงงานนี้
  • 7. หลักการและทฤษฎี • จากการที่ได้ศึกษาเรื่อง การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ซึ่งเป็นเนื้อหาในวิชาสังคม ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นั้นทาให้ได้ความรู้ เกี่ยวกับเรื่องราวในประวัติศาสตร์มากขึ้น ซึ่งในเรื่องนี้ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับ ที่มาศิลปะที่มีอยู่ในปัจจุบันว่ามีความเป็นมาอย่างไร เหตุใดจึงเกิดศิลปะพวกนี้ ขึ้นในสังคมโลกของเรา ซึ่งความรู้ในอดีตส่งผลทาให้ปัจจุบันนี้เกิดความ ศิลปะเช่นวันนี้ได้
  • 9. วิธีดาเนินงาน • แนวทางการดาเนินงาน – เลือกเรื่องที่ต้องการศึกษาค้นคว้า – หาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ – วิเคราะห์และแจกแจงข้อมูล – จัดทารายงาน – นาเสนอผลงาน – ตรวจสอบและปรับปรุง
  • 12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ผู้ที่เข้ามาศึกในรายงานเรื่องนี้ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การฟื้นฟูศิลปะ วิทยาการ • ได้นาความรู้ที่ได้จากการทารายงานนาไปประยุกต์ใช้ในการสอบวิชาสังคม ศึกษาและได้นาไปสอบในการสอบระดับมหาวิทยาลัย • ได้ฝึกกระบวนการในกระบวนการโครงงานคอมพิวเตอร์ • ได้พัฒนาการใช้สื่อ PowerPoint ในการจัดทารูปแบบการนาเสนองาน • ได้ฝึกการทางานร่วมกับผู้อื่นเป็นทีม
  • 15. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) • เกิดในช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 คือ ปลายสมัยกลางถึงต้น สมัยใหม่ ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (TRANSITIONAL PERIOD) ของ ประวัติศาสตร์สองยุค การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเริ่มขึ้นที่นครรัฐต่างๆ บน คาบสมุทรอิตาลี ซึ่งมีความ มั่งคั่งและร่ารวยจากการค้าขาย ต่อมาจึง แพร่หลายไปสู่บริเวณอื่นๆ ในยุโรป
  • 16. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) • แปลว่า เกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึง การนาเอาศิลปวิทยาการของ กรีก และโรมันมาศึกษาใหม่ ทาให้ศิลปวิทยาการกรีก-โรมันเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง หนึ่ง เป็นสมัยที่ ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรมกรีก- โรมัน จึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพ ช่วงเวลานี้ จึงถือว่าเป็นขบวนการขั้นสุดท้ายที่จะปลดปล่อยยุโรปจาก สังคมในยุคกลาง ที่เคยถูกจากัดโดยกฏเกณฑ์และข้อบังคับของคริสต์ศาสนาสาเหตุและความ เป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
  • 17. สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ • การขยายตัวทางการค้า ทาให้พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครองนครใน นครรัฐ อิตาลีมีความมั่งคั่งขึ้น เช่น เมืองฟลอเรนซ์ เมืองมิลาน หันมาสนใจ ศิลปะและวิทยาการความ เจริญในด้านต่างๆ ประกอบกับที่ตั้งของนครรัฐใน อิตาลีเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันตะวันตก มาก่อน ทาให้นักปราชญ์ และศิลปินต่างๆ ในอิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและวิทยาการของโรมัน
  • 18. สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ • ความเจริญทางเศรษฐกิจและการเกิดรัฐชาติในปลายยุคกลาง ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทั้งด้านองค์กรทางการเมือง องค์กรทางเศรษฐกิจซึ่งต้อง ใช้ความรู้ความ สามารถมาบริหารจัดการ แต่การศึกษาแบบเดิมเน้นปรัชญาทาง ศาสนาและสังคมในระบบฟิวดัล จึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคม ได้ ดังนั้นนักปราชญ์สาขาต่างๆ จึงหันมาศึกษา อารยธรรมกรีกและโรมัน เช่น นักกฎหมายศึกษากฎหมายโรมันโบราณเพื่อนามาใช้พิพากษาคดี ทางการค้า นัก รัฐศาสตร์ศึกษาตาราทางการเมือง เพื่อนามาใช้ในการทูตและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ รวมทั้งนักประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ ก็ค้นหา ความจริงและสนใจ ศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมันเช่นกัน เป็นต้น
  • 19. สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ • ทัศนคติของชาวยุโรปในช่วงปลายสมัยกลางต่อการดาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากเดิม จากการที่เคร่งครัดต่อคาสั่งสอนทางคริสต์ศาสนา มุ่งแสวงหา ความสุขในโลกหน้า ใฝ่ใจ ที่จะหาทางพ้นจากบาป และปฏิบัติทุกอย่างเพื่อ เสริมสร้างกุศลให้แก่ตนเอง ได้เปลี่ยนมาเป็นการ มองโลกในแง่ดี และเบื่อ หน่ายกับระเบียบสังคมที่เข้มงวดกวดขันของคริสตจักร รวมทั้งมีอคติต่อ การกระทามิชอบของพวกพระ จึงหันไปสนใจผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ของมนุษยชาติ และเห็น ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีและมีคุณค่า ขึ้นได้ ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเป็นที่มาของแนวคิด แบบมนุษยนิยม (HUMANISM) ที่สนใจโลกปัจจุบันมากกว่าหนทางมุ่งหน้าไปสู่สวรรค์ดังเช่นเคย
  • 20. สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ • การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออก เพราะ ถูกพวก มุสลิมเติร์กยึดครองใน ค.ศ. 1453 ทาให้วิทยาการแขนงต่างๆ ที่ จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบทอดไว้ หลั่งไหลคืนสู่ยุโรปตะวันตก ความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
  • 21. ผลงานสาคัญ • วรรณคดีประเภทคลาสสิก – นิคโคโล มาเคียเวลลี – ฟรานเซสโก เพทราร์ก – วิลเลียม เช็กสเปียร์ • ศิลปกรรม – ไมเคิลแอนเจโล บูโอนาร์โรตี – เลโอนาร์โด ดา วินชี – ราฟาเอล • ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ – ด้านดาราศาสตร์ – ด้านการพิมพ์
  • 23. วรรณคดีประเภทคลาสสิก • นักมนุษยนิยมที่กระตุ้น จินตนาการของชาวยุโรปให้มาสนใจงานวรรณคดี และปรัชญา ได้รับการ ยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เพทราร์ก (FRANCESCO PETRARCA : ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลี ผู้ซึ่ง ชี้ความ งดงามของภาษาละตินและการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ผู้ที่สนใจและ นิยมงานเขียนวรรณคดีประเภทคลาสสิกจะค้นคว้าศึกษางานของ ปราชญ์ สมัยโรมันตามห้องสมุดของวัดและโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วนา มาคัดลอก รวมทั้งนาวรรณคดีและแนวคิดของปรัชญากรีกมาแปลเป็น ภาษาละติน เผยแพร่ทั่วไป
  • 24. วรรณคดีประเภทคลาสสิก • นิคโคโล มาเคียเวลลี (NICCOLO MACHIAVELLI : ค.ศ. 1469-1527) เรื่องเจ้าผู้ครอง นคร (THE PRINCE) กล่าวถึงลักษณะการเป็นผู้ปกครอง รัฐที่ดี และ เซอร์ธอมัส มอร์ (SIR THOMAS MORE : ค.ศ. 1478-1536) เขียนเรื่อง ยูโทเปีย (UTOPIA) กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความ เลวร้าย ซึ่งผลงานของนักมนุษยนิยมเหล่านี้นาไปสู่การต่อต้านการปกครอง และ วิธีปฏิบัติของคริสตจักรที่ขัดต่อคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งส่งผลทาให้เกิดการ ปฏิรูปศาสนาขึ้นใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบทละคร
  • 25. วรรณคดีประเภทคลาสสิก • วิลเลียม เช็กสเปียร์ (WILLIAM SHAKESPEARE: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่ง เขียนบทละครที่มีชื่อเสียง คือ โรมิโอและ จูเลียต (ROMEO AND JULIET) และเวนิสวาณิช (THE MARCHANT OF VENICE)
  • 27. ศิลปกรรม • ในยุคกลางศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนาโดยเฉพาะ ทาให้ ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยานิยมงานศิลปะของกรีก-โรมันที่เป็น ธรรมชาติ จึงให้ความสนใจความสวยงามใน สรีระของมนุษย์ มิติของภาพ สี และแสงในงานประติมากรรมและจิตรกรรมให้สมจริง สมดุล และกลมกลืน สอดคล้องมากขึ้น ศิลปินที่สาคัญ
  • 28. ศิลปกรรม • ไมเคิลแอนเจโล บูโอนาร์โรตี (MICHELANGELO BUONARROTI : ค.ศ. 1475-1564) เป็นศิลปินที่มีผลงานทั้งด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม ผลงานประติมากรรมที่ สาคัญและมีชื่อเสียง คือ รูปสลัก เดวิด (DAVID) เป็นชายหนุ่มเปลือยกาย และปิเอตา (PIETA) เป็นรูปสลัก พระมารดากาลังประคองพระเยซูในอ้อมพระกร ส่วน ผลงานจิตรกรรมที่มี ชื่อเสียง คือ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนไว้บน เพดานและฝาผนังของโบสถ์ซี สติน (SISTINE CHAPEL) ในมหาวิ หารเซนต์ปีเตอร์ ที่กรุงโรม ที่มี ลักษณะงดงามมาก
  • 30. ศิลปกรรม • ภาพปีเอตะ(Pietà) ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร • เป็นรูปสลักจากหินอ่อนบริสุทธิ์รูปพระแม่มาร์รีย์ประคอง อุ้มร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากไม้กางเขน ซึ่งคาว่า ปีเอตะ(Pietà) ในภาษาอิตาลีมีความหมายว่า ความสงสาร ผลงงานประติมากรรมดังกล่าวเป็นผลงานหนึ่งในชื้นเอก ของมีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บูโอนาร์โรตี ซีโมนี (Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni)
  • 31. ศิลปกรรม • มหาวิหารนักบุญเปโตร • เมื่ออายุได้ 30 ปี ไมเคิลแองเจนโล ถูกเชิญไปยังกรุงโรมเพื่อให้ออกแบบหลุมฝัง พระศพของ สมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งใช้เวลาถึง 40 ปี หลังจาก นั้นไมเคิลแองเจนโลได้แสดงอัจฉริยภาพทางการออกแบบ โดยการเป็นสถาปนิก คนสาคัญในการสร้างวิหารนักบุญเปโตร(Basilica of Saint Peter) รู้จักกันใน นาม Basilica di San Pietro in Vaticano หรือ เซนต์ปีเตอร์สบาซิลิกา (Saint Peter's Basilica) เป็นวิหารใหญ่และสาคัญที่สุดในนครวาติกัน โดย จุดสูงสุดของโดมสามารถมองเห็นทัศนียภาพของกรุงโรมได้โดยรอบ สามารถจุคน ได้ถึง 60,000 คน และยังเป็นเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดที่หนึ่งในคริสตจักร โรมันคาทอลิก ซึ่งวิหารนักบุญเปโตรถือเป็นงานสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลกเลย ทีเดียว
  • 33. ศิลปกรรม • ภาพการตัดสินครั้งสุดท้าย ณ ชาเปลซิสติน นครรัฐวาติกัน • ในช่วงบั้นปลายชีวิตของไมเคิลแองเจนโลยังได้สร้างผลงานจิตรกรรมที่มีชื่อเสียงมี ชื่อว่า การตัดสินครั้งสุดท้าย (The Last Judgment) ซึ่งเป็นภาพจิตรกรรมฝา ผนังบนเพดานของโบสถ์น้อยซิสติน (Sistine Chapel ceiling) ซึ่งได้รับการ ว่าจ้างจากสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 โดยเป็นที่ตั้งของห้องประชุมพระ สันตะปาปาและสถานที่ที่ใช้ในการทาพิธีทางศาสนาของพระสันตะปาปาอีกด้วย การเขียนภาพจิตรกรรม การตัดสินครั้งสุดท้าย นั้นใช้เทคนิคที่เรียกว่า Fresco คือการวาดภาพลงบนผิวปูนเปียกเพื่อสีซึมลงไปในเนื้อปูนจะทาให้สีติดทนนานและ ไม่ร่อนออกมานั่นเอง โดยภาพ การตัดสินครั้งสุดท้าย ประกอบด้วยรูปภาพย่อย กว่า 400 รูปภาพ มีขนาด 48×44 ฟุต เลยทีเดียว
  • 34. ศิลปกรรม • ภาพการตัดสินครั้งสุดท้าย ณ ชาเปลซิสติน นครรัฐวาติกัน
  • 35. ศิลปกรรม • ไมเคิลแองเจนโล เสียชีวิตในปี 1564 ด้วยอายุ 90 ปี มีคากล่าวจากมเด็จ พระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ว่า "ทรงยินดีบั่นทอนชีวิตของท่านลง เพื่อแลกกับชีวิต ของมิเกลันเจโลให้ยืนยาวออกไปอีก" แสดงให้เห็นว่าตลอดชั่วชีวิตของไมเคิล แองเจนโลนั้น ได้รังสรรค์ผลงานศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาไว้มาก ไม่ว่าจะเป็น ประติมากรรม สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ซึ่งต่างก็เป็นผลงานที่มีคุณค่าต่อ มนุษยชาติมากมาย มองย้อนกลับไปยังตัวเราในวันนี้เราทาตัวมีค่าพอให้คุณยกย่องเพียงใด ทรัพย์สินที่ มีก็เป็นเพียงของนอกกาย สิ่งที่จะดารงอยู่สืบไปคือผลงานและคุณความดี ใครจะรู้ ว่าในอนาคตคุณอาจจะเป็น ศิลปิน นักคิด นักกวี หรือบุคคลที่มีชื่อก้องโลกก็ เป็นได้
  • 36. ศิลปกรรม • เลโอนาร์โด ดา วินชี (LEONARDO DA VINCI : ค.ศ. 1452-1519) เป็น ศิลปินที่มี ผลงานเป็นเลิศในสาขาต่างๆ ภาพเขียนที่มีชื่อเสียง คือ ภาพ อาหารมื้อสุดท้าย (THE LAST SUPPER) ซึ่งเป็นภาพพระเยซูกับสาวกนั่งที่ โต๊ะอาหารก่อนที่พระเยซูจะถูกนาไปตรึงไม้กางเขน และภาพโมนาลิซ่า (MONALISA) เป็นภาพหญิงสาวที่มีรอยยิ้มปริศนากับบรรยากาศของ ธรรมชาติ
  • 37. ศิลปกรรม • เทคนิคการเขียนกลับทาง (Mirror Writing) • เทคนิคการเขียนตัวอักษรย้อนกลับทิศทางจากตัวหลังไปตัวหน้าของดาวินชี สร้างข้อถกเถียงให้กับนักวิชาการจนถึงวันนี้ ว่า เป็นวิธีการเข้ารหัสแบบ โบราณที่เขาสร้างขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้บุคคลอื่นๆ ลอบอ่านและขโมยข้อมูลใน บันทึกส่วนตัว หรือจริงๆแล้วเป็นเพียงเพราะดาวินชี “ถนัดซ้าย” จึงคิดวิธี เขียนกลับหลังแบบนี้เพื่อไม่ให้น้าหมึกเปื้อนมือกันแน่
  • 39. ศิลปกรรม • ชุดดาน้า (Scuba Gear) • ผลพวงจากการที่ดาวินชีหลงใหลในท้องทะเลอันกว้างใหญ่ไพศาล เป็นที่มาของการออกแบบอุปกรณ์เครื่องไม้เครื่องมือสาหรับการ ดาน้าขึ้นมาหลาย ชนิดในจานวนนี้ รวมถึงเรือดาน้า และชุดประ- ดาน้าที่ตัวชุดทาจากหนังและเชื่อมต่อกับท่อและโลหะทรงกลมซึ่งทา หน้าที่เป็นเหมือนสนอร์เกิ้ล หรือหน้ากากดาน้ายุคปัจจุบัน นอกจากนั้น ชุดดาน้าชุดนี้ยังมีถุงเก็บปัสสาวะด้วย แสดงให้เห็นถึงความรอบคอมในการออกแบบ
  • 40. ศิลปกรรม • สะพานชักรอก (The Revolving Bridge) • ดาวินชีออกแบบสะพานสาหรับใช้ในการเคลื่อนพลผ่านพื้นที่ในสมรภูมิ ทุรกันดาร ต่างๆ เช่น การยกพลข้ามแม่น้า ตัวสะพานดังกล่าวมีระบบชัก รอกและสายพาน ทาให้ทหารกางออกมาใช้งานและชักรอกเก็บได้อย่าง รวดเร็ว เป็นหนึ่งในเครื่องจักรทุ่นแรงอีกหลายชนิดจากการคิดค้นของดาวิน ชี
  • 41. ศิลปกรรม • เครื่องร่อน (The Winged Gilder) • ภายในคลังจินตนาการอันไม่มีที่สิ้นสุดของดาวินชีนั้น มี “เครื่องกลบินได้” รวมอยู่ด้วยเป็นจานวนมาก รวมถึง “เครื่องร่อน” ซึ่งตรงบริเวณปีกมีแผ่นบังคับ เปิด-ปิดควบคุมทิศทางได้หรือที่ปัจจุบันเรียก ว่า “แฟลบ” และในตัวเครื่องร่อนยังมีเกียร์ควบคุม ความเร็วที่นั่งติดอยู่ด้วย
  • 42. ศิลปกรรม • ปืนใหญ่ 3 ลากล้อง (The Triple-Barreled Cannon) • แม้ประวัติของดาวินชีจะเกลียดสงคราม มีลักษณะเป็น “นักคิด” มากกว่า “นักรบ” แต่ในใจของเขาก็ยังฝันถึงการคิดค้นงานด้านวิศวกรรม หนทาง เดียวที่จะทาเช่นนั้นได้ คือ การออกแบบอาวุธสงครามเพราะได้รับการ สนับสนุนจากผู้มีอานาจมากที่สุด หนึ่งในผลงานการออกแบบอาวุธ ได้แก่ ปืนใหญ่ที่มีอานุภาพที่มีลากล้องติดกันถึง 3 กระบอก เหมือนกับที่เห็นใน ภาพ
  • 43. ศิลปกรรม • ปืนใหญ่ 3 ลากล้อง (The Triple-Barreled Cannon)
  • 44. ศิลปกรรม • สกรูบิน (The Aerial Screw) • ถึงแม้นักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่จะลงความเห็นตรงกันว่ามันไม่มีทางที่เจ้า อุปกรณ์ชิ้นนี้จะบินขึ้นจากพื้นได้ แต่ “เฮลิคอปเตอร์” ใน แบบของดาวินชีก็ ยังคงถูกจัดให้เป็นหนึ่งในผลงานที่โด่งดังที่สุดของเขา เครื่องกลที่ชวนให้ สงสัยนี้ดูเหมือนว่าจะถูกออกแบบให้ทางานโดยใช้คนสี่คนมาหมุน มันพร้อม กัน รวมทั้งน่าจะได้รับแรงบันดาลใจมาจากกังหันลมซึ่งเป็นของเล่นที่นิยมกัน ใน สมัยนั้นด้วย
  • 46. ศิลปกรรม • เมืองในอุดมคติ (The Ideal City) • ยุคสมัยหนึ่ง ดาวินชีอาศัยอยู่ในนครมิลานท่ามกลางสภาพการแพร่ระบาด ของโรคร้าย เขาจึงคิดออกแบบผังเมืองใหม่ให้มีความสะอาด เป็นระเบียบ ถูกสุขอนามัย อาทิ เขียนแบบให้เมืองในอุดมคติเมื่อหลายร้อยปีก่อนแห่งนี้มี “ระบบระบายอากาศ” เพื่อดึงอากาศบริสุทธิ์เข้าสู่ตัวเมือง และมีระบบระบาย น้าเสีย
  • 48. ศิลปกรรม • รถขับเคลื่อนด้วยตัวเอง (The Self-Propelled Car) • แน่นอนว่ารถที่ดาวินชีพยายามสร้างไม่สามารถวิ่งเร็วหลายร้อยกิโลเมตรต่อ ชั่วโมงเหมือนรถเฟอร์รารี่ แต่ถ้าคิดว่าเป็นรถที่อยู่ในสมัยนั้นก็ต้องจัดว่า ไฮเทคล้ายุคสุดๆ เพราะรถที่มีตัวถึงทาจากไม้คันนี้ สามารถแล่นขับเคลื่อน ด้วยตัวมันเองด้วยแรงส่งและการทางานอย่างสัมพันธ์กัน ระหว่างสปริงและ เกียร์ที่ล้อ เมื่อปี 2547 นักวิทยาศาสตร์ประจาพิพิธภัณฑ์ในเมืองฟลอเรนซ์ ทดลองสร้างแบบจาลองรถรุ่นนี้ ตามแบบที่ดาวินชีร่างเอาไว้และพบว่าวิ่งได้ จริง
  • 50. ศิลปกรรม • แนวคิดเกี่ยวกับธรณีวิทยา (Geologic Time) • นักคิดส่วนมากในสมัยของดาวินชีนั้นมีความเห็นตรงกันเป็นส่วนใหญ่ว่าซาก ฟอสซิลของพวกหอย ปู ปลาหมึกต่างๆที่พบบนยอดเขานั้นเป็นสิ่งที่ หลงเหลือจากการเกิดน้าท่วมครั้ง ใหญ่ แต่ดาวินชีกลับไม่คิดเช่นนั้น เขาตั้ง ข้อสงสัยไว้ (ซึ่งก็ถูกเสียด้วย) ว่าภูเขาเหล่านั้นจะต้องเคยเป็นชายฝั่งมาก่อน ก่อนที่จะค่อยๆยกตัวสูงขึ้นๆในเวลาต่อมา (wow!!)
  • 52. ศิลปกรรม • วิทรูเวียนแมน (The Vitruvian Man) • เชื่อว่าชาวโลกน้อยคนนักที่จะไม่เคยผ่านตากับภาพวาดของบุรุษผู้นี้ นั่นก็คือ ภาพ “วิทรูเวียน แมน” ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่ดาวินชีศึกษาสัดส่วนกายวิภาค มนุษย์อย่างละเอียด จนพิสูจน์ทฤษฎีบทของ “วิทรูเวียน” ผู้เป็นสถาปนิกยุค จักรวรรดิโรมันได้สาเร็จว่า “ร่างคนยืนกางแขนขาจะตกเป็นรูปทรงเรขาคณิต ที่สมบูรณ์เสมอ” และนับเป็นการเปิดประตูสู่ศาสตร์กายวิภาคครั้งสาคัญ
  • 55. ศิลปกรรม • ราฟาเอล (RAPHAEL : ค.ศ. 1483-1520) เป็นจิตรกรที่วาดภาพเหมือนจริง ภาพที่มี ชื่อเสียง คือ ภาพพระมารดาและพระบุตร พร้อมด้วยนักบุญจอห์น (MADONNA AND CHILD WITH ST. JOHN)
  • 56. ศิลปกรรม • The School of Athens • ภาพวาดส่วนมากของราฟาเอลเน้นความงามที่เกิดจากรูปร่างของมนุษย์ ที่ แสดงอารมณ์หลากหลายต่าง ๆ กันออกมา การใช้สีนิยมสีสดคล้ายกับงาน ศิลปะในสมัยไบแซนทีน แต่กายวิภาคมีความงดงาม อ่อนช้อย ทั้งชายและ หญิง และเด็กเล็ก ท่าทางของบุคคลในภาพแสดงออกเหมือนเคลื่อนไหวได้ สร้างอารมณ์ให้แก่ผู้ชมได้เป็นอย่างดี ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ “โรงเรียนเอเธนส์” (The School of Athens) เป็นภาพที่เกี่ยวกับนักปรัชญา กรีกหลายคน รวมทั้งตัวราฟาเอลด้วย
  • 58. ศิลปกรรม • Sistine Madonna • ราฟาเอล แสดงให้พวกเรามองเห็นภาพผู้คนเท่าที่เป็นอยู่จริง ไม่ใช่ภาพที่ทา กันเป็นแบบแผนอย่างที่ รูเบนส์ และ ฟานไตด์ เขียนกัน ภาพแม่พระอุ้มพระ บุตรหลายภาพที่เขาเขียนขึ้นในกรุงโรม มีความงดงามยิ่งกว่าภาพที่เขาเคย เขียนไว้ในนครฟลอเรนซ์เสียอีก บางทีภาพ "ซิสตินมะดอนนา" อาจเป็น ภาพเขียนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในบรรดาเรื่องนี้ทั้งหมดก็เป็นได้
  • 60. ศิลปกรรม • Portrait of Pope Julius II (Raphael) • ราฟาเอล เริ่มจะกลายเป็นจิตรกรที่มีงานยุ่งมากขึ้น เขาได้เสร็จภาพเขียนไป อีกชุดหนึ่ง เป็นภาพเขียนสาหรับพระสันตปาปาจูเลียสที่ 2 อยู่ในห้องเฮลิโด รุส ภาพเหล่านี้แสดงถึงความกล้าหาญด้านการรบทัพจับศึกของพระ สันตปาปาในทางทหาร และแสดงให้เห็นว่า พระเจ้าได้ช่วยสนับสนุนพระองค์ ให้ประสบชัยชนะได้อย่างไรด้วย
  • 61. ศิลปกรรม • Portrait of Pope Julius II (Raphael)
  • 62. ศิลปกรรม • Raphael's Creation of the World • ภาพเขียน ลา ฟอร์นารินาโดยราฟาเอลงานจิตรกรรมของราฟาเอลในระยะ หลังมีความเรียบง่ายและมีความใหญ่โตมากขึ้น แต่ยังคงรักษาความมีชีวิตชีวา ของงานยุคต้นของตนเองไว้ได้ งานของราฟาเอลที่แสดงถึงความงามของ ผู้หญิงนับได้ว่าเป็นผลงานที่มีอิทธิพลต่อศิลปินกลุ่มนีโอคลาสสิกเป็นอย่าง มาก
  • 64. ศิลปกรรม • Madonna del Granduca • ในสมัยนี้ได้เกิดความก้าวหน้าทางการวาดเขียนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการวาดภาพบนฝาผนังแบบเฟรสโก (Fresco) ซึ่งเป็นวิธีวาดภาพบนผนัง ปูนเปียกให้เสร็จเรียบร้อย ก่อนผนังปูนแห้ง มิฉะนั้นจะต้องคอยพรมน้าให้ พื้นผนังปูนเปียกอยู่เสมอ เพื่อว่าจะได้ง่ายต่อการดูดซึมซับของสี วิธีการแบบ นี้ไม่สะดวกต่อการเก็บรายละเอียด แต่ให้ความคงทนถาวรเป็นเยี่ยม
  • 68. ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ • ด้านดาราศาสตร์ เป็นสาขาวิชาที่ชาวยุโรปสนใจกันมากในช่วงเวลานี้ นัก ดาราศาสตร์ที่สาคัญ คือ คอเปอร์นิคัส (ค.ศ. 1473-1543) ได้เสนอทฤษฎี ที่ขัดแย้งกับคาสอนของ คริสต์ศาสนา โดยระบุว่าโลกไม่ได้แบนและไม่ได้เป็น ศูนย์กลางของจักรวาล แต่เป็นบริวารที่โคจร รอบดวงอาทิตย์
  • 69. ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ • ด้านการพิมพ์ ในช่วงสมัยนี้ได้มีการคิดค้นการพิมพ์ที่ใช้วิธีการเรียงตัวอักษร ได้ สาเร็จเป็นครั้งแรก โดยโยฮัน กูเตนเบิร์ก ( JOHANNES GUTENBURG : ค.ศ. 1400-1468) ชาว เมืองไมนซ์ (MAINZ) ในเยอรมนี ทาให้ราคา หนังสือถูกลงและเผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวาง
  • 70. ผลของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ • ความสนใจในโลกปัจจุบัน ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปยังคงนับถือ ศรัทธาใน พระเจ้า แต่จากการได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบมนุษยนิยม ทา ให้ชาวยุโรปมีแนวคิดในการ ดาเนินชีวิตในโลกปัจจุบันให้ดีและสร้างสิ่งต่างๆ เพื่อความสุขและความมั่นคงให้แก่ตน ทั้งหมดนี้ สะท้อนในงานศิลปกรรม ต่างๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อนสนองความพึงพอใจของตนเอง เช่น สร้างบ้าน เรือน อย่างวิจิตรสวยงาม การมีรูปปั้นประดับอาคารบ้านเรือน การวาดภาพเหมือน ของมนุษย์ เป็นต้น
  • 71. • ความต้องการแสวงหาความรู้ การที่มนุษย์ต้องการหาความรู้และความ สะดวกสบาย ให้แก่ชีวิต ทาให้ต้องมีการคิดสร้างสรรค์ผลงานและวิทยาการ ต่างๆ ดังนั้นมนุษย์ในสมัยฟื้นฟู ศิลปวิทยาการ จึงมีการส่งเสริมและ สนับสนุนการศึกษา การคิคค้น การทดลอง การพิพากษ์ วิจารณ์อย่างมี เหตุผล เป็นผลให้วิทยาการด้านต่างๆ พัฒนามากขึ้น สภาพสังคมของมนุษย์ ในสมัย นี้คือการตื่นตัวในการค้นหาความจริงของโลก ทาให้มนุษย์ต้องการ แสวงหาความรู้และสารวจดิน แดนต่างๆ อันนาไปสู่การปฏิรูปศาสนา การ สารวจทางทะเล และการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ใน เวลาต่อมา ผลของการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
  • 72. แหล่งอ้างอิง • นัตติกาล เสมใจ. ๒๕๕๗. การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://suphannigablog.wordpress.com/. ๑๒ มกราคม ๒๕๕๗ • พิภักดิ์ ประเสริฐ์. ๒๕๕๕. การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.slideshare.net/sudoooooo/renaissance- 41379445 . ๑๒ มกราคม ๒๕๕๗ •