SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
วิชากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ
พรบ แห่ง ชาติ 42 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1. กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมนั้น
เป็นความหมายตามการศึกษา
2. การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ การศึกษาตลอดชีวิต
4. สถานศึกษาตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติคือ ทุกแห่ง
5. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ สถานศึกษา ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
6. มาตรฐานการศึกษาคือ ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ
คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุ
กแห่ง
7. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาภายใน
โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง
8. การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง การประเมินและการติดตาม
ตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
จากภายนอกโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพกา
รศึกษา หรือ บุคคล หรือหน่วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรอง
9. ผู้สอนคือ ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ
10. ครู ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ คือ
บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักด้านการเรียนการสอน
และส่งเสริมการเรียนรู้ของผุ้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ
ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
11. คณาจารย์ ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง
บุคคลากรที่ทาหน้าที่หลักด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับ
อุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
12. ผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งทั้งของรัฐ
และเอกชน
13. ผู้บริหารการศึกษา ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง
บุคลากรวิชาชีพ
ที่รับผิดชอบการศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้
นไป
14. บุคลากรทางการศึกษาได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา ผู้สนับสนุนการศึกษา ซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ
หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ
และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ
15. การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบู
รณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม
มีจริยธรรมและวัฒนธรรมใจการดารงชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จัดอยู่ใน
ความมุ่งหมายของการศึกษา
16. หลักการจัดการศึกษา คือ
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
17. การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน
ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดไว้โดย ไม่น้อยกว่า 12
ปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
18. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ จัดให้โดย
จัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
19. รูปแบบการจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ ได้แก่ ในระบบ นอกระบบ
และตามอัธยาศัย
20. การศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย
รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา
จัดเป็นการศึกษา แบบนอกระบบ
21. เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล
เป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน เป็นการศึกษา ในระบบ
22. เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ
ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคลประสบการณ์
สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ คือ
การศึกษาตามอัธยาศัย
23. Formal Education คือ การศึกษา ในระบบ
24. Informal Education คือ การศึกษาตามอัธยาศัย
25. Non-formal Education คือ การศึกษานอกระบบ
26. Long life Education คือ การศึกษาตลอดชีวิต
27. เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่7 ต้องเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ จานวน 9
ปี
28. การนับอายุเด็กเข้าเรียน ต้อง +7 และ -7
29. การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนที่ความสามารเรียนรู้
และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
กาหนดไว้ในมาตรา 22 ของ พ.ร.บ.
30. การเกิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ อยู่ในมาตรา 23 ของ
พ.ร.บ.
31. การประเมินและการทดสอบผู้เรียนตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ
คือ
ให้สถานศึกษาจัดกรประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรี
ยน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม
และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน พัฒ พฤติ กรรม
32. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่คือ กาหนดหลักสูตร
33. สถานศึกษา มีหน้าที่ จัดทาสารระของหลักสูตร ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
34. ลักษณะของหลักสูตรสถานศึกษาระดับต่างๆ คือ
มีความหลากหลาย
35. การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักที่เป็นค
ณะบุคคลในรูปสภา หรือคณะกรรมการจานวน 4 องค์กร
36. ครุสภา ไม่จัดอยู่ใน 4 องค์กร
37. ผู้ที่เป็นประธานคณะกรรมการ สภาการศึกษา คือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
38. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจานวน ไม่เกิน 27 คน
39. คณะกรรมการการอาชีวศึกษามีจานวน ไม่เกิน 32 คน
40. คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีจานวน ไม่เกิน 28 คน
41. เลขาธิการสภาการศึกษาดารงตาแหน่ง กรรมการและเลขานุการ
ในคณะกรรมการสภาการศึกษา
42. ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดเขตพื้นที่การศึกษา
โดยคานึงถึง ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
43. ผู้ที่มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กาหนดเขตพื้นที่การศึกษา
เพื่อการบริหารและการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนาของสภาการศึกษา
44. คณะกรรมกรเขตพื้นที่การศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เกิดมาจาก มาตรา 38 ของ พ.ร.บ. การศึกษา
45. ให้มีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ตาม
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ตามมาตรา 39
46. กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ตาม พ.ร.บ.
การศึกษาแห่งชาติ ตามมาตรา 39 จัดให้มีการกระจาย 4 ด้าน
47. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเกิดจากมาตรา 40 ของ
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ
48. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดารงตาแหน่ง
กรรมการและเลขานุการ ในคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
49. ผู้บริหารสถานศึกษา ดารงตาแหน่ง
กรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
50. ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา อยู่ในมาตรา 47 ของ พรบ
การศึกษาแห่งชาติ
51. ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
อยู่ในมาตรา 48 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ
52. ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกสถานศึกษา
อยู่ในมาตรา 49 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ
53. ให้มีการประเมินภายนอกโดย สมศ. อยู่ในมาตรา 49 ของ พรบ
การศึกษาแห่งชาติ
54. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่ง โดย
อย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย
55. พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 มี 9 หมวด 1 บท 78 มาตรา
56. การจัดการศึกษาสาหรับคนที่มีความสามารถพิเศษ
ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคานึงถึงความสามารถของบุคคล
57. พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 กาหนดให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
และบุคลากรทางการศึกษาอื่นทั้งของรัฐและเอกชนต้องมีใบอนุญาตประ
กอบวิชาชีพ กาหนดไว้ในมาตรา 53
58. ข้อที่ไม่กล่าวถึงสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ครู
อาจารย์
59. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิในการจัดการศึกษาทุกระดับ
ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น
60. การกระจายอานาจให้เขตพื้นที่และสถานศึกษา คือ ด้านวิชาการ
ด้านงบประมาณ ด้านบริหารทั่วไป ด้านบริหารงานบุคคล
61. แนวการจัดการศึกษาที่ไม่สอดคล้อง ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ
2542 คือ ครูต้องมีจิตสานึกที่จะพัฒนาเด็กอย่างเต็มความสามารถ
62. ให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐา
นการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วยการประกันคุณภาพภายในและนอก
อยู่ในมาตรา 47 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ
63. แนวการจัดการศึกษาตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ 42 ยึดหลักคือ
ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
64. ข้อที่ไม่ใช่การจัดการศึกษาในระบบ คือ
การศึกษาระดับปฐมวัยศึกษา
65. ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
อยู่ในมาตรา 49 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ
66.
หน้าที่ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตาม
พรบ 42 คือ พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมิน และทางานประเมินการศึกษา
67. การเสนอนโยบายการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ
และมาตรฐานการศึกษาของสภาการศึกษาให้เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี
68. การศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎกระทรวง มี 3 ระดับคือ
ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษาไม่จัดอยู่ในนี้
69. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
แบ่งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานออกเป็น 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย ส่วน
ระดับก่อนประถมศึกษา ไม่จัดอยู่ในนี้
กฎหมายที่เกี่ยงข้องกับการปฏิบัติราชการ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546
และ 2553
1. อานาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการกาหนดไว้ในกฎหมาย พรบ
การศึกษาแห่งชาติ2542 และ พรบ ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม
2. อานาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ คือ จัดการศึกษา บารุงศาสนา
สืบสานศิลปะวัฒนาธรรม
3. การจัดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ จัดได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนกลาง
เขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษาของรัฐระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
4. การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึ
กษาธิการ ให้คานึงถึง คุณวุฒิ ประสบการ และมาตรฐานวิชาชี
ลักษณะหน้าที่ที่รับผิดชอบ คุณภาพงาน
5. บทบาทของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่จะต้องดาเนินการต
าม พรบ คือ อานาจในการออกกฎกระทรวง ระเบียบและประกาศ
ตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ดารงตาแหน่งแ
ละหน่วยงาน
6. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง คือ สานักงานปลัดกระทรวง
ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
7. การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการที่มีหัวหน้
าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการคือ
สานักงานรัฐมนตรี สานักงานปลัดกระทรวง
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
8. ส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นนิติบุคคลคือ
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วน
สานักงานรัฐมนตรี ไม่เป็น
9. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการคือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
10. อานาจหน้าที่ของสภาการศึกษาคือ
พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ
พิจารณาเสนอนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษา
พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึ
กษา ส่วน ประเมินผลไม่ใช่
11. ประธานคณะกรรมการสภาการศึกษา คือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
12. คณะกรรมการที่กาหนดตาแหน่งประธานกรรมการไว้ในพระราชบั
ญญัติฉบับนี้ คือคณะกรรมการสภาการศึกษา
13. กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานคื
อ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
14. หน้าที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการคือ ตรวจราชการ
ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลนโยบายตามภารกิจ ส่วน
นิเทศให้คาปรึกษาและแนะนาเพื่อปรับปรุงพัฒนาไม่ใช่
15. หน่วยงานที่สามารถมีผู้ตรวจราชการได้คือ กระทรวงศึกษาธิการ
กรมหรือหน่วยงานเทียบเท่ากรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
16. บทบาทของคณะตรวจราชการในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึก
ษาคือ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นิเทศ
ติดตามและประเมินผลการบริหารและการดาเนินงาน
17. บทบาทของกระทรวงศึกษาธิการที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่
นคือ ประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษา
เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษา
ประสานและส่งเสริมการจัดการศึกษา คือ คุมทุกงอย่าง
ดูแลได้ทุกหน่วยงาน ทั้งรัฐและเอกชน
18. ในกรณีที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่อาจจัดการศึกษาขั้นพื้น
ฐานหรือการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาบางประเภทไ
ด้ หน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบเป็นผู้จัดคือ
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือสานักงานต่างๆ ที่กาหนด
19. หน่วยงานอื่นๆ สามารถจัดการศึกษาได้ทุกระดับ
หากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่มีปัญญา
20. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวงรองจากรัฐม
นตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการคือ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
21. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาของรัฐในสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา คือ
เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
22. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้คานึงถึงวัฒนธรรม
และความเหมาะสมด้านอื่นไว้สุดท้าย
23. ผู้มีอานาจประกาศกาหนดเขตพื้นที่การศึกษา คือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะคาของสภาการศึกษา
24. ในกรณีที่จาเป็นเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา
ผู้ที่กาหนดให้เขตพื้นที่การศึกษาสามารถขยายบริการการศึกษาออก
ไปในเขตพื้นที่อื่นได้คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
25. การจัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา คือ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
26. การแบ่งส่วนราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ให้ทาเป็นประกาศกระทรวง
27. การแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ดาเนินการตาม
ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากาหนด
28. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลคือ
โรงเรียน
29. ผู้แทนจากกลุ่มบุคคลที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้น
ที่การศึกษา คือ ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู
ส่วนผู้แทนสมาคบผู้ประกอบวิชาชีพบุคคลากรทางการศึกษาไม่ใช่
30. บุคคลที่ทาหน้าที่กากับ
และส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา คือ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
31. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาข้ารา
ชการในสานักงาน กาหนดไว้ในมาตรา 37 ของ พรบ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
32. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
คือ ผู้อาอวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
33. อานาจหน้าที่ของผู้อานวยการสถานศึกษากาหนดไว้ใน มาตรา
39 ของ พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
34. อานาจหน้าที่ของผู้อานวยการสถานศึกษา คือ
บริหารกิจการของสถานศึกษา ประสานระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ทารายงานประจาปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษาเพื่อเสนอต่อคณะก
รรมการเขตพื้นที่การศึกษา ส่วน
อนุมิติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษาให้เป็นไปตามระเบี
ยบที่คณะกรรมการสถานศึกษากาหนดไม่ใช่
35. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า
ก.ม.
36. อานาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการต่อสถานศึก
ษาอุดมศึกษา คือ
เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ประสานงานการจัดการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของรัฐและเอกชน เสนอการจัดตั้ง รวม ยุบ
ปรับปรุงและเลิกสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
37. การกระจายอานาจบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ
งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารงานทั่วไป
กาหนดไว้ในมาตรา 44 ของ พรบ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
38. การกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งทางด้านวิช
าการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
กระจายให้กับ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
39. การกระจายอานาจในการบริหารการศึกษาคือ
อานาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับงบประมาณ
หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ
การพัฒนาและดาเนินงานทางวินัยครูและบุคคลากรทางการศึกษา
40. การปฏิบัติราชการแทนทาได้โดย มอบอานาจ
41. บุคคลที่ไม่สามารถมอบอานาจให้กับผู้อื่นได้คือ
ผู้อานวยการสถานศึกษา มอบให้กับคณะกรรมการสถานศึกษา
นอกนั้นมอบได้
42. ผู้อานายการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามอบอานาจให้ผู้อานวย
การสถานศึกษาปฏิบัติราชการแทนได้ตามระเบียบที่เลขา กพฐ.
กาหนด
43. การมอบอานาจ หมายถึง การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ
การปฏิบัติราชการ
44. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สามารถมอบอานาจให้กับ ผู้อานวยการสถานศึกษา
หัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น
ข้าราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
45. การมอบอานาจของผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้
ผู้อานวยการสถานศึกษาทาได้โดย ทาเป็นหนังสือ
46. ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่ง
หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการแทนได้ ให้มีผู้รักษาราชการแทน
47. การมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
ผู้ว่าเท่านั้นที่สามารถมอบอานาจให้ผู้อื่นต่อได้
48. ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไม่สามารถปฏิบัติห
น้าที่ได้ และมีรัฐมนตรีช่วยหลายคน
ผู้ที่มอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยคนนั้นทาหน้าที่แทนคือ คณะรัฐมนตรี
49. ในกรณีที่มีรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหลายคน
ผู้ที่แต่ตั้งให้รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาคนใดคนห
นึ่ง ปฏิบัติงานแทนคือ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
50. ในกรณีที่ไม่มีรองผู้อานวยการสถานศึกษา
ผู้ที่แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนผู้อานวยการสถานศึกษา คือ
ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
51. ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการหลายคน
ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ
คนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
52. ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา
หรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ 1
ให้รองผู้อานวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน 2
ถ้ามีรองผู้อานวยการสถานศึกษาหลายคน
ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อานวยการ
คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน 3
ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษาหรือมีแต่ไม่อาจป
ฏิบัติราชการได้
ให้ผู้อานวยการนานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถ
านศึกษาคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
53. การจัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการมี 3 ส่วนคือ
ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริ
ญญา ที่เป็นนิติบุคคล
54. การแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษา
เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
55. ทางานแทน แทนตัวเอง ของผู้ที่มอบหมาย
เรียกว่าปฏิบัติราชการแทน
56. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเฉพาะที่เป็นโรงเรียน
มีฐานะเป็นนิติบุคคล กาหนดใน พรบ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 ในมาตรา 35
57. เมื่อมีการมอบอานาจโดยชอบแล้ว
ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น
จะมอบอานานนั้นให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้
ยกเว้นแต่กรณีการมอบอานาจให้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด
58. ข้าราชการการเมืองคือ เลขาธิการรัฐมนตรี
59. คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ สังกัด สพฐ
ตามระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546
60. คณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือการศึกษ
านอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สังกัด สานักงานปลัดกระทรวง
ตาม พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546
61. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึก
ษา กาหนดใน พรบ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการให้คานึงถึง
ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นอันดับแรก
ข้อสอบ พรบ ครู และบุคลากรทางการศึกษา 2546
1. องค์กรเกี่ยวกับวิชาชีพครูคือ คุรุสภา
2. คุรุสภามีฐานะ เป็นนิติบุคคล และเป็นองค์กรในกากับของคุรุสภา
3. หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมความประพฤติและดาเนิ
นงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาคือ คุรุสภา
4. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุ
คลากรทางการศึกษา (สกสค)
อยู่ภายใต้การบริหารงานของกระทรวงศึกษาธิการ
5. หน่วยงานที่มีหน้าที่ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพ
และส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการคื
อ สกสค
6. ประธานคณะกรรมการคุรุสภา คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ
7. วัตถุประสงค์ของคุรุสภาคือ ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
กาหนดนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ
วิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ แต่ ออกข้อบังคับ ไม่ใช่
8. เลขานุการคณะกรรมการคุรุสภาคือ เลขาธิการคุรุสภา
9. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการไม่ได้เป็นคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชี
พ
10. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีจานวน 17 คน
11. ผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ คือ
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
12. ผู้ดูและทะเบียนผู้ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพคือ
เลขาธิการคุรุสภา
13. บุคคลที่ไม่จาเป็นต้องมีใบประกอบวิชาชีพคือ ครูตชด
14. อายุของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพคือ 5 ปี
15. หากถูกลงโทษเพราะประพฤติผิดมาตรฐานวิชาชีพ
จะถูกพักใช้ใบอนุญาต
16. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ จัดอยู่ในมาตรฐานการปฏิบัติตน
17. โจทย์
ถ้าผู้บริหารรู้อยู่แก่ใจว่ารับครูอัตราจ้างที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิ
ชาชีพมาสอนจะมีความผิดคือ
ผู้บริหาร จาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6 หมื่อ
ครูอัตราจ้าง จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2 หมื่น
18. คณะกรรมการที่เป็นประธานกรรมการโดยตาแหน่งคือ
คณะกรรมการ สกสค
19. ผู้จะของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได้ต้องมีอายุ
ไม่ตากว่า 20 ปี บริบูรณ์
20. ผู้ลงนามในใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูคือ
ประธานคุรุสภา
21. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ มี 4 ประเภท
22. หากถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
แล้วต้องพ้นกาหนด 5 ปี นับตั้งแต่วันเพิกถอน
จึงจะมีสิทธิของใหม่ได้
23. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จะสิ้นสุดลงเมื่อ หมดอายุ
ถูกสั่งเพิกถอน ถูกสั่งเพิกใช้
24. ผู้ที่มีอานาจพิจารณาว่าข้าราชการครูคนใดจะถูกพักใช้ใบอ
นุญาตประกอบวิชาชีพคือ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
25. ผู้มีอานาจพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพคือ คุรุสภา
26. กรณีร้องขอเพื่อต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพไม่ต่ออนุญาตให้
สามารถอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการคุรุสภา ภายใน 30 วัน
นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง
27. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา คือ คุรุสภา
28. คณะกรรมการต่อไปนี้เป็นผู้มีอานาจในการออกใบอนุญาต
พักใช้ใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต คุรุสภา
29. คณะกรรมการคุรุสภา มีจานวน 39 คน
30. มาตรฐานวิชาชีพ มี 3 ด้าน คือ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติตน
และความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
31. กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรือผู้ใด
มีสิทธิกล่าวโทษต่อผู้ประกอบวิชาชีพ ว่าผิดจรรยาบรรณ
โดยต้องแจ้งต่อ คุรุสภา
32. ผู้ถูกกล่าวหา ผู้ถูกกล่าวโทษ สามารถยื่นพยาน หลักฐาน
ส่งให้คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรืออนุกรรมการ ภายใน
15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
33. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานสานักงานสวัสดิการ
สวัสดิภาพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
34. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีจานวน 17 คน
35. ผู้สอน ระดับ อุมดศึกษา ไม่ถือว่าเป็นครู ตาม พรบ
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
36. คุรุสภา หรือ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
37. วัตถุประสงค์ของคุรุสภาคือ
กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพครู
ประสานส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชี
พ กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต
กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
และจรรยาบรรณวิชาชีพ
38. อาจานหน้าที่ของคุรุสภาคือ รับรองปริญญา
ตามาตรฐานวิชาชีพ
ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอใบประกอบวิชาชีพ พักใช้ใบอนุญาต
หรือเพิกถอนใบอนุญาต
39. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ไม่มีทางเป็นคณะกรรมการคุรุสภาได้
40. คุรุสภาสามารถออกข้อบังคับเพื่อบริหารของคุรุสภาได้โดยค
วามเห็นขอบของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
41. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มีอานาจยับยั้งร่างข้อบังคับของคุรุสภา ภายในเวลา 30 วัน
42. กรณีร่างข้อบังคับของคุรุสภา ถูกยับยั้ง
โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ถ้ากรรมการคุรุสภาประชุมใหม่และต้องยืนยันด้วยมติไม่น้อยกว่า
2 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งคณะ
43. ร่างข้อบังคับ ของคุรุสภา รมว ศึกษา ต้องลงนามภายใน 30
วัน
วิชากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึก
ษา 2547 2551 2553
1. ตาม พรบ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา
ผู้สนับสนุนทางการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ
ส่วนคณาจารย์ไม่ใช่
2. ตาม พรบ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หน่วยงานการศึกษาได้แก่ สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สานักงานการศึกษานอกโรงเรียน ส่วน กลุ่มโรงเรียนไม่ใช่
3. คณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือ กคศ คือ
กรรมการผุ้แทนข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา
ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง 12 คน
4. กคศ ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมด 31 คน
5. หลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
และกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษาใน กคศ
เป็นไปตาม กฎของ กคศ
6. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะรัฐมนตรีจะแต่งตั้งใน กคศ คือ
ด้านการศึกษา ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านกฎหมาย
ส่วนด้านสารธารณสุข ไม่ใช่
7. คุณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ใน กคศ คือ มีอายุไม่ต่ากว่า 35
ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
8. ผู้ที่จะเป็นกรรมการผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา ใน กคศ
ได้จะต้องมีอายุราชการด้านการบริหารตาแหน่ง ยศ ผอ. ไม่น้อยกว่า 5
ปี
9. ครูที่มีอายุราชการ ไม่น้อยกว่า 15 ปี
และมีวิทยฐานะไม่ต่ากว่าครูชานาญการ
สามารถเป็นคณะกรรมการผู้แทนข้าราชการครูใน กคศ ได้
10. การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลา
กรทางการศึกษาใน กคศ คือ ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธาน
พ้นจากการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาย.......ส่วนคณะรัฐมนตรีไม่สามารถให้ออกได้
11. ข้าราชการครูและบุคคลาการทางการศึกษา
จะไม่สามารถควบตาแหน่ง กรรมการใน กคศ และ อนุกรรมการใน
อกคศ ได้
12. หน้าที่ของ กคศ ได้แก่๑พิจารณาแต่งตั้ง อกคศ
เขตพื้นที่การศึกษา และคณะอนุกรรมการอื่นเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่
กคศ มอบหมาย
๒เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการผลิต
๓ พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติ
และแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวันเดือนปีเกิด และควบคุมการเกษียณ
อายุของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
13. คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจาเ
ขตพื้นที่การศึกษา เรียกว่า อกคศ
14. องค์ประกอบของ อกคศ เขตพื้นที่การศกึษาประกอบด้วย
อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 4 คน
อนุกรรมการผุ้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึษเขตพื้นที่การ
ศึกษา จานวน 3 คน
และประธานอนุกรรมการเลือกจากอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
15. อนุกรรมการผุ้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเขตพื้
นที่การศึกษามาจากผู้แทนข้าราขการครูจานวน 1 คน
16. คุณสมบัติของอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน อกคศ
เขตพื้นที่การศึกษา คือ มีสัญชาติไทย
ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ไม่เป็นเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษา
หรือผู้มีตาแหน่งบริหารในพรรคการเมือง
17. อกคศ
ไม่จาเป็นต้องมีประสบการณ์ในตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
18. หลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของผู้ทรงคุณวุฒิ อกคศ มาจาก กฎ
กคศ
19. อกคศ มีตาแหน่งวาระคราวละ 4 ปี
20. อกคศ จะไม่พิจารณาเสนอความดีความชอบของผู้บริหารเด็ดขาด
21. คระกรรมการสถานศึกษาไม่ได้มีหน้าที่
ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทารายงานการบริหารงาน
บุคคล เสนอต่อ อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเสนอต่อ กคศ ต่อไป
22. หน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ตาม พรบ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้แก่ 1
ควบคุมดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา
ให้สอดคล้องกับนโยบายกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่กคศ และ อกคศ
เขตพื้นที่การศึกษากาหนด 2 จัดทามาตรฐาน
ภาระงานสาหรับข้าราชการครูและบุคลาการทางการศึกษาในสถานศึก
ษา 3
ส่งเสริมสนับสนุนข้าราชการครูและบุคคลกรทางการศึกษาในสถานศกึ
ษาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
23. เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ
ข้าราชการครู.และบุคลากรทางการศึกษาอานได้รับตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการ ตามพระราชกฤษฎีกา
24. วัน เวลาทางาน วันหยุดของข้าราชการครูเป็นไปตามที่กคศ
กาหนด
25. ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มี 3 ประเภท
26. ครูอัตราจ้าง
ไม่ใช่ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ซึ่งมีหน้าที่เป็นหน่วยงานการศึกษา
27. ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษาซึ่งมีหน้าที่เป็น
ผุ้สอนในหน่วยงานการศึกษาตาแหน่งที่มีหน่วยงานการศึกษาที่สอนระ
ดับการศึกษาขั้นพื้นฐานคือครู
28. ตาแหน่ง ผอ. และ รอง ผอ. ต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวง
29. กคศ เป็นผู้จัดทามาตรฐานตาแหน่ง มาตรฐานวิทยฐานะ
และมาตรฐานตาแหนงทางวิชาการของข้าราชการครูและบุคคลากรทาง
การศึกษา
30. คนที่จะเป็นครูได้ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ คือ อายุไม่ต่ากว่า 20 ปี
บริบูรณ์ไม่มีตาแหน่งทางการเมือง ไม่มีหนี้สินพ้นตัวหรือ ล้มละลาย
ไม่เคยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ
31. อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา
ทาหน้าที่ดาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและ
บุคคลากรทางการศึกษา
32. การดาเนินการการสอบแข่งขันเพื่อเป็นครูและบุคลากร
ต้องดาเนินงานโดยหน่วยงานการศึกษาที่มีความพร้อม
ความพร้อมต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กคศ กาหนด และ
อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา
จะมอบหใหน่วยงานการศึกษาที่มีความพร้อมเป็นผู้ดาเนินการสอบแข่ง
ขัน
33. ผู้ที่เป็นครูหรือบรรจุแล้ว ตรวจพบว่า ขาดคุณสมบัติอยู่ก่อน
ผู้ที่จะทาการสั่งให้ผู้นั้นออกโดยพลันคือ ผู้มีอานาจตามมาตรา 53
34. ในกรณีที่ อกคศ ไม่สามารถดาเนินการสอบแข่งขันได้
สามารถกระทาการอย่างอื่น เพื่อคัดเลือกได้
แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กคศ กาหนด
35. การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคคลการทางการศึกษา
ตาแหน่งวิทยาฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ต้องได้รับอนุมัติจาก กคศ ... รมว
ศธ นาเสนอนายกรัฐมนตรี
เพื่อนาความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง
36. การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษาให้
ดารงตาแหน่ง ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา และ
ผอ.เขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ ต้องให้เลขา กพฐ.
เป็นผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง โดยอนุมัติจาก กคศ.
37. ตาแหน่งซึ่งมีวิทยะฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ อยู่นอกเหนือ
อานาจหน้าที่ของ ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา ที่จะบรรจุและแต่งตั้ง
38. การแต่งตั้งครูผู้ช่วย สั่งบรรจุและแต่งตั้งโดย
ผู้อานายการสถานศึกษา โดยอนุมัติจาก อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา
39. ตาแหน่งวิทยาฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ
ที่ไม่ได้สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา
อยู่นอกเหนืออานาจแต่งตั้งของผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่ผู้นั้นสังกัด
อยู่
40. บรรจุแต่งตั้ง ครู และบุคลากร ตาม พรบ ครูและบุคลากร 2547
มาบังคับใช้อนุโลมกับ ตาแหน่งอาจารย์
41. ก่อนเป็นครูจริง ต้องเป็นครูผู้ช่วย อยู่ 2 ปี
42. การเป็นครูผู้ช่วย 2 ปี เป็นไปตามกฎของ กคศ
43. ถ้าเป็นครูผู้ช่วยไม่ผ่าน ใน 2 ปี มีเหตุผลให้ออกได้คือ
มีความประพฤติไม่ดี ไม่มีความรู้ไม่มีความเหมาะสม
ผลการประเมินความพร้อมอยู่ตากว่าเกณฑ์
44. ผู้มีอานาจตาม พรบ ครู และบุคคลาการ ตามาตรา 53
คือผู้มีอานาจในการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากร
45. ถ้าทาหน้าที่ครูผู้ช่วย แล้วได้รับหน้าที่ตาแหน่งอื่น เช่น
ศึกษานิเทศก์ต้องนับตาแหน่งศึกษานิเทศก์ใหม่
ไม่รวมเวลาของครูผู้ช่วย บวกเพิ่ม
46. หากครูผู้ช่วย ดื่มเหล้า มึนเมา ทะเลาะวิวาท ผู้มีคาสั่งตามมาตรา
53 สามารถสั่งให้ออกจากราชการได้ในกรณีมีความประพฤติไม่ดี
47. หากสั่งให้ถูกออกจากราชการแล้ว ตามมาตรา 53 ให้เสมือว่า
ผู้นั้นไม่เคยเป็นข้าราชการครูและบุคลากร
48. ครุ..........ถ้าระหว่างถูกพักใช้ใบอนุญาตใบประกอบวิชาชีพ
สามารถถูกเปลี่ยนตาแหน่งได้สามารถถูกย้ายได้
หากถูกสั่งให้ออกราชการไว้ก่อน ไม่อาจถูกเปลี่ยนตาแหน่งได้
หากถูกสั่งพักราชการ ไม่อานถูกเปลี่ยนตาแหน่งได้
49. การย้ายดารงตาแหน่ง ต้องเกี่ยวเนื่องกับผู้มีอานาจตามมาตรา 53
50. เป็นครูอยู่ดีๆ ถูกสั่งให้ไปรับราชการทหาร
แต่เมื่อรับราชการทหารเสร็จ อยากกลับมาเป็นครู
ต้องยื่นคาร้องกลับเข้ารับราชการภายใน 180 วัน
51. เลื่อนขั้น แต่ไม่เลื่อนตาแหน่ง เพื่อเงินเดือนเพิ่ม ผู้ดาเนินการคือ
อกคศ เขตพื้นที่ สถานศึกษา หลักเกณฑ์วิธีการตาม กคศ กาหนด
52. เลื่อนขั้นเงินเดือน พิจารณาจากลาดับความอาวุโส แล้ว
แต่งตั้งตามลาดับก่อนหลัง สาหรับผุ้สอบได้
53. หากเลื่อนวิทยาฐานะแล้วภายหลังพบว่าไม่ถูกต้อง
สามารถให้ผู้มีอานาจตามมาตร 53
ให้ผู้นั้นกลับไปตาแหน่งหรือวิทยาฐานะเดิมได้โดย
หากไม่เข้าเกณฑ์ตามตาแหน่ง หรือมาตรฐานวิทยฐานะ
ไม่ผ่านกระบวนการตามกฎหมาย ผู้สั่งไม่ถูกต้องหรือไม่มีอานาจ
54. คา หรือตาแหน่งว่า รักษาการ จะใช้ในกรณีต่อไปนี้
ตาแหน่งว่าง ผุ้ดารงตาแหน่งไม่สามารถปฏิบัตหน้าที่ได้ กรณี พรบ
ระเบียบบริหารราชการ ศธ ไม่ได้กาหนดไว้
55. การได้รับความชอบ คือ คาชมเชย รางวัล เลื่อนขั้น
เครื่องเชิดชูเกียรติ
56. ถ้าไม่เลื่อนขั้นเลื่อนเงินเดือนให้ผู้ใด
จะต้องแจ้งให้ผู้นั้นทราบโดยต้องพร้อมเหตุผลที่ไม่เลื่อนขั้นเงินเดือน
57. ผู้มีอานาจตามมาตรา 53 สามารถสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนได้
58. ครูและบุคลากรที่มีสิทธิได้เลื่อนขั้นเงินเดือนได้แก่
ถูกลงโทษตัดเงินเดือน ถูกศาลตัดสินว่ามีความผิดทางอาญา
ถูกโทษภาคทัณฑ์
59. ครูและบุคลากรจะได้เงินวิทยพัฒน์ตามระเบียบ กคศ กาหนด
เนื่องจาก มีผลงานดีเด่น ปฏิบัติงานดีเด่น ได้รับเครื่องเชิดชูเกียรติ
โดยความเห็นขอบขอบคณะรัฐมนตรี
60. ที่ว่าข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา
ต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น ตรงตาม พรบ
ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
เป็นการสนับสนุนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และต้องสนับสนุนด้วยความบริสุทธิ์ใจ
61. ความผิดทางวินัย ไม่ใช่การปฏิบัติราชการโดยมิชอบ
เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยนช์ที่มิควรได้เป็นการทุจริตต่อหน้าที่
ราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
62. การเสนอทบทวนคาสั่งผู้บังคับบัญชา ควรทา
เมื่อเห็นว่าการปฏิบัติตามคาสั่งนั้นจะทาให้เสียหายแก่ราชการ
ต้องเสนอความเห็นเป็นหนังสือ
ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันคาสั่งเดิมก็ปฏิบัติตาม
63. การไม่ทางานในช่วงเวลาปฏิบัติหน้าที่ถือว่า
เป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการ @@@@ ละทิ้งมันรุนแรงกว่าทอดทิ้ง
64. ทอดทิ้งหน้าที่ราชการคือ ทอดทิ้งให้ผู้อื่นทา หรือทิ้งงานให้คั่งค้าง
ไม่ยอมทางาน
65. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการหรือยอ
มให้ผู้อื่นกระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสื่อมเสียเกียรติในตาแห
นงหน้าที่ราชการ
ซึ่งการกระทาตามข้อใดต่อไปนี้เป็นความผิดวินัยร้ายแรง
ก. เป็นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายที่จะให้เป็นการซือ้ขาย
ข. เป็นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายจะให้ได้รับตาแหน่งแต่งตังให้ตาร
งตาแหน่งหรือวิทยฐานะโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ค. เป็นการกระทาอันมีลักษณะที่เป็นการให้เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับ
การบรรจุและแต่งตั้งโดยมิชอบหรือเสื่อมเสียความเที่ยงธรรม
ง. ถูกต้องทุกข้อ
66. การให้ผู้อื่นอาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอานาจหน้าที่ราชการของ
ตนไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมเพื่อประโยชน์ให้แกตนเองหรือผู้อื่
นกระทาตามความในข้อใดต่อไปนี้เป็นความผิดวินัยไม่ร้ายแรง
67. การร่วมดาเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานของผู้อื่นโดยมิชอ
บ หรือเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
68. การซื้อสิทธิขายเสียง หรือขายเสียงการเลือกตั้ง
ถือเป็นความผิดวินัยร้ายแรง
69. การนิยมในพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่ง
จึงสมัครเป็นสมาชิก ไม่ถือเป็นความผิดวินัยร้ายแรง
70. การติดหนี้แล้วถูกฟ้องเรียกเสียหาย
ถือเป็นความผิดวินัยไม่ร้ายแรง
71. เล่นการพนันถือเป็นความผิดวินัยในฐานะกระทาการอันถือว่าประ
พฤติชั่ว
72. หน้าที่ของผู้บังคับบัญชาทางด้านวินัยคือ
เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย
ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย
ดาเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าว
หาว่ากระทาผิดวินัย
73. ข้อต่อไปนี้ให้ถือว่าผู้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย คือ
ละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านวินัยและการดาเนินการทางวินัย
มีพฤติกรรมปกป้องช่วยเหลือ
เพื่อมิให้ผู้ผู้ภายใต้บังคับบัญชาถูกลงโทษทางวินัย
ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวโดยไม่สุจริต
74. โทษทางวินัยมี 5 สถาน คือ ภาค ตัด ลด ปลด ไล่
75. โทษปลดออก ยังมีสิทธิ์ได้รับ บาเหน็จ บานาญ
76. การสืบสวน ไม่ถือเป็นความผิดทางวินัย
77. การสอบสวนต้องตั้งคณะกรรมการสอบสวน ต้องแจ้งข้อกล่าวหา
และสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
ต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิการ ของ กคศ
78. การลงโทษผู้กระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง คือ สั่ง ภาค ตัด ลด
โทษภาค ใช้เฉพาะกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้อย การงดโทษ
กระทาได้โดย ทาทัณฑ์บน เป็นหนังสือ หรือ ตักเตือนด้วยวาจา
79. กรรมการสอบสวน
ต้องเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา............
สามารถเรียกให้กระทรวง ทบวง กรม ห้างหุ้นส่วน บริษัท
ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง
หรือถ้อยคาเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน เรียกผู้กล่าวหา
หรือบุคคลใดๆมาชี้แจง หรือให้ถ้อยคาที่เกี่ยวกับเรื่องสอบสวน
80. การออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
คือ
พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญของข้าราชการ
ถูกสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออก
ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตใบประกอ
บวิชาชีพ
81. การลาออกของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ...
ให้ยื่นหนังสือลาออกต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้ผู้มีอานาจตามมาตร 53
พิจารณาอนุญาต เมื่อครบกาหนดการยับยังแล้ว
ให้การลาออกมีผลตั้งแต่วันถัดไปจากวันครบกาหนดเวลาที่ยับยัง
ถ้าผู้มีอานาจตามมาตรา 53 ไม่อนุญาตให้ลากออก
และไม่ได้ยับยั้งการอนุญาตให้ลาออก
ให้การลาออกนั้นมีผลตั้งแต่วันที่ขอลาออก
82. การลาออกไปดารงตาแหน่งทางการเมือง และ
ไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกต่างๆ.
ผู้บังคับบัญชาไม่มีอานาจยับยั้งการอนุญาตให้ลาออก
83. การถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
เมื่อถูกสั่งให้ออกจากราชการแล้ว ไม่มีสิทธิไดรับบานาญเหตุทดแทน
84. การลงโทษตัดเงินเดือน ไม่มีสิทธิที่จะร้องทุกข์
พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
1. เด็กหมายถึง ผู้ทีมีอายุไมเกิน 18 ปีบริบูรณ์
แต่ไม่รวมถึงผู้ทีบรรลุนิติภาวะ ด้วยการสมรส
2. เด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจน หรือบิดามารดา หย่าร้าง ทิ้งร้าง ถูกคุมขัง
หรือแยกกันอยู่ คือเด็กที่อยู่ในสภายากลาบาก
3. เด็กที่ไม่มีบิดามารดาเลี้ยงดู หรือมีแต่ไม่เลี้ยงดูหมายถึง เด็กเร่รอน
4. เด็กที่อยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่ที่อาจชักนาไปในทางเสียหาย
คือเด็ก ที่เสียงต่อการกระทาผิด
5. ครอบครัวอุปถัมภ์หมายถึง บุคคลซึ่งรับเด็กไว้อุปการะอย่างบุตร
6. สถานรับเลี้ยงเด็กคือ สถานที่รับเลี้ยงและพัฒนาเด็กอายุไม่เกิน 6 ปี
ตั้งแต่6 คน ขึ้นไป
7. กรรมการและเลขานะการในคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด คือ
พัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด
8. หน้าที่ของผู้ปกครองตาม พรบ คุ้มครอบเด็ก 2546 คือ
ให้การอุปการะเลี้ยงดูอบรมสั่งสอน
และพัฒนาตามควรแก่ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนาธรรมท้องถิ่น
9. ผู้นาทุกคน มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
10. เด็กที่ควรได้รับการสงเคราะห์มี 8 ประเภท
เด็กที่ควรได้รับการคุ้มครองมี 3 ประเภท
สถานสงเคราะห์เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
ให้ดาเนินการตามวิธีที่เหมาะสม
11. เด็กที่อยู่ในสภาพยากลายาก
ไม่ใช่เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ
12. การจาหน่ายสุรา หรือบุหรี่แก่เด็กมีโทษ จาคุกไม่เกิน 3
ปรับไม่เกิน 30000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
13. หากจะช่วยเด็ก จะกักตัวเด็กได้ไม่เกิน 12 ชั่วโมง
14. ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กไม่มีสิทธินาเด็กส่งเจ้าหน้าที่ตารวจ
ในกรณีเด็กกระทาผิดกฎหมาย
15. การให้การสงเคราะห์เด็กในกรณีต่อไปนี้ต้องได้รับความยินยอมจ
ากผู้ปกครอง นั่นคือ การส่งเด็กเข้าสถานแรกรับ
การส่งเด็กเข้าสถานสงเคราะห์การส่งเด็กเข้าครอบครัวอุปถัมภ์
16. สถานแรกรับ ดูแลคุ้มครองเด็กได้ไม่เกิน 3 เดือน
17. ถ้าผู้ที่ได้รับการสงเคราะห์มีอายุ 18 ปี บริบูรณ์แล้ว
แต่อยู่ในสภาพที่ต้องสงเคราะห์ต่อไป สามารถสงเคราะห์ได้จนอายุครบ
20 ปีบริบูรณ์
18. ผู้มีอาจานตามมาตรา 18 ของ พรบ คุ้มครอบเด็ก คือ
ปลัดกระทรวง และ ผู้ว่าราชการจังหวัด
19. ยุยงส่งเสริมให้นักเรียน หรือนักศึกษา
ทาผิดระเบียบของสถานศึกษา มีโทษจาคุกเช่นเดียวกับ เหล้าสุรา
คือจาคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 30000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
พรบ การจัดการศึกษา สาหรับคนพิการ 2551
1. คนพิการตาม พรบ นี้ หมายถึง
บุคคลซึ่งมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมี
ส่วนร่วมในสังคม
2. ผู้ดูแลคนพิการหมายถึง บิดา มารดา ผู้ปกครอง
3. การเรียนร่วม ตาม พรบ นี้ คือ
การจัดให้คนพิกรได้เข้ารับการศึกษาในระบบการศึกษาทั่วไปในทุกระดั
บและหลากหลายรูปแบบ
4. ผู้รักษาการตาม พรบ นี้ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
5. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ไม่เสียค่าใช้จ่าย
6. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ จัดเมื่อตั้งแต่แรกเกิด
หรือเมื่อพบความพิการ
7. คณะกรรมการการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ มีจานวน 27 คน
8. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรั
บคนพิการ มีวาระการดารงตาแหน่ง ครั้งละ 3 ปี
แต่จะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้
9. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหมดวาระลง ต้องแต่งตั้งใหม่ภายใน 60 วัน
10. ผู้แต่งตั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิคือ รมว ศึกษาธิการ
11. ผู้ทาหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษา
สาหรับคนพิการคือ ผู้อานาวยการสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
12. ประธานคณะกรรมการการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิก
ารคือ รมว ศึกษาธิการ
13. ให้สถานศึกษาเฉพาะความพิการของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล
กาหนดไว้ในมาตรา 20
14. กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสาหรับคนพิการ
อยู่ในสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
15. สานักบริหารงานการศกึษาพิเศษ อยู่ ใน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อสอบกฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
1. พรบ การศึกษาแห่งชาติ 42 มี 9 หมวด 78 มาตรา
2. ผู้รักษาการตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ 42 คือ รมว. ศธ
3. วันบังคับใช้ พรบ 42 คือ 20 สค 42
4. ผู้รับสนอง พรบ 42 คือ นายชวน หลีกภัย
5. หมวดที่4 ของ พรบ การศึกษา แห่งชาติ
คือหัวใจสาคัญของการปฏิรูปการเรียนรู้
6. พรบ ระเบียบการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการมี 5 หมวด 82
มาตรา
7. ผู้รักษาการตาม พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ คือ
รมว.ศธ
8. วันบังคับใช้ พรบ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการคือ 7
กรกฎาคม 2546
9. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พรบ ระเบียบบริหารราชการ ศธ. 46 คือ
ทักษิน ชินวัตร
10. การจัดระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการตามมาตรา 6
มี 3 ส่วน บททั่วไป การจัดระเบียบในสานักงานประหลัด
การจัดระเบียบสานักงาน
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
peter dontoom
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
krupornpana55
 

Mais procurados (20)

แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบตแนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อแนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผนแนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป (เล่มที่ 9)
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป (เล่มที่ 9)แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป (เล่มที่ 9)
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป (เล่มที่ 9)
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษ
ระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษ
ระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษ
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
 

Destaque

พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อพรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
อรุณโรจน์ ศรีเจริญโชติ
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
Capitano Oishi
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
ธวัช บุตรศรี
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
tunyapisit
 
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
Nanthapong Sornkaew
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
Rawiwan Promlee
 
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
somchay
 

Destaque (20)

สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อพรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 กำลังย่อ
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
 
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
 
พรบ คนพิการ 2551 ย่อ
พรบ คนพิการ 2551 ย่อพรบ คนพิการ 2551 ย่อ
พรบ คนพิการ 2551 ย่อ
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครูแนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
 
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
พรบ การศึกษา
พรบ การศึกษาพรบ การศึกษา
พรบ การศึกษา
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
 

Semelhante a พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้

มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
tassanee chaicharoen
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
rungaroonnoumsawat
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
soawaphat
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
Pochchara Tiamwong
 

Semelhante a พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้ (20)

สรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูสรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครู
 
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยบทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3
 
ชุดที่68
ชุดที่68ชุดที่68
ชุดที่68
 
ชุดที่68
ชุดที่68ชุดที่68
ชุดที่68
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
31 kodkasong53
31 kodkasong5331 kodkasong53
31 kodkasong53
 
5
55
5
 
ชุดที่39
ชุดที่39ชุดที่39
ชุดที่39
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
วิชาสื่อสิ่งพิมพ์ ปวช3/2 - วารสาร วัฒณธรรมไทยในเจ้าพระยา ออกแบบโดย นายประเสริ...
วิชาสื่อสิ่งพิมพ์ ปวช3/2 - วารสาร วัฒณธรรมไทยในเจ้าพระยา ออกแบบโดย นายประเสริ...วิชาสื่อสิ่งพิมพ์ ปวช3/2 - วารสาร วัฒณธรรมไทยในเจ้าพระยา ออกแบบโดย นายประเสริ...
วิชาสื่อสิ่งพิมพ์ ปวช3/2 - วารสาร วัฒณธรรมไทยในเจ้าพระยา ออกแบบโดย นายประเสริ...
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 

Mais de คน ขี้เล่า

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คน ขี้เล่า
 

Mais de คน ขี้เล่า (19)

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2
 
30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
 
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐเตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
All of The Education Theory
All of The  Education Theory All of The  Education Theory
All of The Education Theory
 

พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้

  • 1. วิชากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ พรบ แห่ง ชาติ 42 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 1. กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมนั้น เป็นความหมายตามการศึกษา 2. การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ การศึกษาตลอดชีวิต 4. สถานศึกษาตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติคือ ทุกแห่ง 5. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ สถานศึกษา ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6. มาตรฐานการศึกษาคือ ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุ กแห่ง 7. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง 8. การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง การประเมินและการติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จากภายนอกโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพกา รศึกษา หรือ บุคคล หรือหน่วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรอง 9. ผู้สอนคือ ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ 10. ครู ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ คือ บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักด้านการเรียนการสอน และส่งเสริมการเรียนรู้ของผุ้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน 11. คณาจารย์ ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง บุคคลากรที่ทาหน้าที่หลักด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับ อุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
  • 2. 12. ผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งทั้งของรัฐ และเอกชน 13. ผู้บริหารการศึกษา ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ หมายถึง บุคลากรวิชาชีพ ที่รับผิดชอบการศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้ นไป 14. บุคลากรทางการศึกษาได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ผู้สนับสนุนการศึกษา ซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ 15. การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบู รณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมใจการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จัดอยู่ใน ความมุ่งหมายของการศึกษา 16. หลักการจัดการศึกษา คือ เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง 17. การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดไว้โดย ไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย 18. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ จัดให้โดย จัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 19. รูปแบบการจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ ได้แก่ ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย 20. การศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา
  • 3. การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา จัดเป็นการศึกษา แบบนอกระบบ 21. เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล เป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน เป็นการศึกษา ในระบบ 22. เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคลประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ คือ การศึกษาตามอัธยาศัย 23. Formal Education คือ การศึกษา ในระบบ 24. Informal Education คือ การศึกษาตามอัธยาศัย 25. Non-formal Education คือ การศึกษานอกระบบ 26. Long life Education คือ การศึกษาตลอดชีวิต 27. เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่7 ต้องเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ จานวน 9 ปี 28. การนับอายุเด็กเข้าเรียน ต้อง +7 และ -7 29. การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนที่ความสามารเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กาหนดไว้ในมาตรา 22 ของ พ.ร.บ. 30. การเกิดกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ อยู่ในมาตรา 23 ของ พ.ร.บ. 31. การประเมินและการทดสอบผู้เรียนตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ คือ ให้สถานศึกษาจัดกรประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรี ยน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน พัฒ พฤติ กรรม 32. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่คือ กาหนดหลักสูตร
  • 4. 33. สถานศึกษา มีหน้าที่ จัดทาสารระของหลักสูตร ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 34. ลักษณะของหลักสูตรสถานศึกษาระดับต่างๆ คือ มีความหลากหลาย 35. การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักที่เป็นค ณะบุคคลในรูปสภา หรือคณะกรรมการจานวน 4 องค์กร 36. ครุสภา ไม่จัดอยู่ใน 4 องค์กร 37. ผู้ที่เป็นประธานคณะกรรมการ สภาการศึกษา คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 38. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจานวน ไม่เกิน 27 คน 39. คณะกรรมการการอาชีวศึกษามีจานวน ไม่เกิน 32 คน 40. คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีจานวน ไม่เกิน 28 คน 41. เลขาธิการสภาการศึกษาดารงตาแหน่ง กรรมการและเลขานุการ ในคณะกรรมการสภาการศึกษา 42. ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคานึงถึง ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน 43. ผู้ที่มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อการบริหารและการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนาของสภาการศึกษา 44. คณะกรรมกรเขตพื้นที่การศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เกิดมาจาก มาตรา 38 ของ พ.ร.บ. การศึกษา 45. ให้มีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ตามมาตรา 39 46. กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ตามมาตรา 39 จัดให้มีการกระจาย 4 ด้าน
  • 5. 47. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเกิดจากมาตรา 40 ของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 48. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดารงตาแหน่ง กรรมการและเลขานุการ ในคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 49. ผู้บริหารสถานศึกษา ดารงตาแหน่ง กรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 50. ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา อยู่ในมาตรา 47 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ 51. ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา อยู่ในมาตรา 48 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ 52. ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกสถานศึกษา อยู่ในมาตรา 49 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ 53. ให้มีการประเมินภายนอกโดย สมศ. อยู่ในมาตรา 49 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ 54. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่ง โดย อย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย 55. พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 มี 9 หมวด 1 บท 78 มาตรา 56. การจัดการศึกษาสาหรับคนที่มีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคานึงถึงความสามารถของบุคคล 57. พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 กาหนดให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่นทั้งของรัฐและเอกชนต้องมีใบอนุญาตประ กอบวิชาชีพ กาหนดไว้ในมาตรา 53 58. ข้อที่ไม่กล่าวถึงสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ครู อาจารย์ 59. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิในการจัดการศึกษาทุกระดับ ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น
  • 6. 60. การกระจายอานาจให้เขตพื้นที่และสถานศึกษา คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบริหารทั่วไป ด้านบริหารงานบุคคล 61. แนวการจัดการศึกษาที่ไม่สอดคล้อง ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 คือ ครูต้องมีจิตสานึกที่จะพัฒนาเด็กอย่างเต็มความสามารถ 62. ให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐา นการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วยการประกันคุณภาพภายในและนอก อยู่ในมาตรา 47 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ 63. แนวการจัดการศึกษาตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ 42 ยึดหลักคือ ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด 64. ข้อที่ไม่ใช่การจัดการศึกษาในระบบ คือ การศึกษาระดับปฐมวัยศึกษา 65. ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา อยู่ในมาตรา 49 ของ พรบ การศึกษาแห่งชาติ 66. หน้าที่ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตาม พรบ 42 คือ พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมิน และทางานประเมินการศึกษา 67. การเสนอนโยบายการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษาของสภาการศึกษาให้เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี 68. การศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎกระทรวง มี 3 ระดับคือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษาไม่จัดอยู่ในนี้ 69. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 แบ่งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานออกเป็น 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย ส่วน ระดับก่อนประถมศึกษา ไม่จัดอยู่ในนี้
  • 7. กฎหมายที่เกี่ยงข้องกับการปฏิบัติราชการ พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 และ 2553 1. อานาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการกาหนดไว้ในกฎหมาย พรบ การศึกษาแห่งชาติ2542 และ พรบ ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม 2. อานาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ คือ จัดการศึกษา บารุงศาสนา สืบสานศิลปะวัฒนาธรรม 3. การจัดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ จัดได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนกลาง เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาของรัฐระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล 4. การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึ กษาธิการ ให้คานึงถึง คุณวุฒิ ประสบการ และมาตรฐานวิชาชี ลักษณะหน้าที่ที่รับผิดชอบ คุณภาพงาน 5. บทบาทของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่จะต้องดาเนินการต าม พรบ คือ อานาจในการออกกฎกระทรวง ระเบียบและประกาศ ตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ดารงตาแหน่งแ ละหน่วยงาน 6. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง คือ สานักงานปลัดกระทรวง ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 7. การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการที่มีหัวหน้ าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการคือ สานักงานรัฐมนตรี สานักงานปลัดกระทรวง สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 8. ส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นนิติบุคคลคือ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
  • 8. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วน สานักงานรัฐมนตรี ไม่เป็น 9. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการคือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 10. อานาจหน้าที่ของสภาการศึกษาคือ พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ พิจารณาเสนอนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึ กษา ส่วน ประเมินผลไม่ใช่ 11. ประธานคณะกรรมการสภาการศึกษา คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 12. คณะกรรมการที่กาหนดตาแหน่งประธานกรรมการไว้ในพระราชบั ญญัติฉบับนี้ คือคณะกรรมการสภาการศึกษา 13. กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานคื อ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14. หน้าที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการคือ ตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลนโยบายตามภารกิจ ส่วน นิเทศให้คาปรึกษาและแนะนาเพื่อปรับปรุงพัฒนาไม่ใช่ 15. หน่วยงานที่สามารถมีผู้ตรวจราชการได้คือ กระทรวงศึกษาธิการ กรมหรือหน่วยงานเทียบเท่ากรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 16. บทบาทของคณะตรวจราชการในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึก ษาคือ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการดาเนินงาน 17. บทบาทของกระทรวงศึกษาธิการที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ นคือ ประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษา เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษา ประสานและส่งเสริมการจัดการศึกษา คือ คุมทุกงอย่าง ดูแลได้ทุกหน่วยงาน ทั้งรัฐและเอกชน 18. ในกรณีที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่อาจจัดการศึกษาขั้นพื้น ฐานหรือการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาบางประเภทไ
  • 9. ด้ หน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบเป็นผู้จัดคือ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือสานักงานต่างๆ ที่กาหนด 19. หน่วยงานอื่นๆ สามารถจัดการศึกษาได้ทุกระดับ หากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่มีปัญญา 20. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวงรองจากรัฐม นตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการคือ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 21. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาของรัฐในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา คือ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 22. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้คานึงถึงวัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอื่นไว้สุดท้าย 23. ผู้มีอานาจประกาศกาหนดเขตพื้นที่การศึกษา คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะคาของสภาการศึกษา 24. ในกรณีที่จาเป็นเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ผู้ที่กาหนดให้เขตพื้นที่การศึกษาสามารถขยายบริการการศึกษาออก ไปในเขตพื้นที่อื่นได้คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 25. การจัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา คือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น 26. การแบ่งส่วนราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้ทาเป็นประกาศกระทรวง 27. การแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ดาเนินการตาม ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากาหนด 28. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลคือ โรงเรียน 29. ผู้แทนจากกลุ่มบุคคลที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้น ที่การศึกษา คือ ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู ส่วนผู้แทนสมาคบผู้ประกอบวิชาชีพบุคคลากรทางการศึกษาไม่ใช่
  • 10. 30. บุคคลที่ทาหน้าที่กากับ และส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา คือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 31. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาข้ารา ชการในสานักงาน กาหนดไว้ในมาตรา 37 ของ พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 32. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คือ ผู้อาอวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 33. อานาจหน้าที่ของผู้อานวยการสถานศึกษากาหนดไว้ใน มาตรา 39 ของ พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 34. อานาจหน้าที่ของผู้อานวยการสถานศึกษา คือ บริหารกิจการของสถานศึกษา ประสานระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ทารายงานประจาปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษาเพื่อเสนอต่อคณะก รรมการเขตพื้นที่การศึกษา ส่วน อนุมิติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษาให้เป็นไปตามระเบี ยบที่คณะกรรมการสถานศึกษากาหนดไม่ใช่ 35. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า ก.ม. 36. อานาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการต่อสถานศึก ษาอุดมศึกษา คือ เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ประสานงานการจัดการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษา ของรัฐและเอกชน เสนอการจัดตั้ง รวม ยุบ ปรับปรุงและเลิกสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา 37. การกระจายอานาจบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารงานทั่วไป กาหนดไว้ในมาตรา 44 ของ พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 38. การกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งทางด้านวิช าการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
  • 11. กระจายให้กับ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา 39. การกระจายอานาจในการบริหารการศึกษาคือ อานาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับงบประมาณ หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนาและดาเนินงานทางวินัยครูและบุคคลากรทางการศึกษา 40. การปฏิบัติราชการแทนทาได้โดย มอบอานาจ 41. บุคคลที่ไม่สามารถมอบอานาจให้กับผู้อื่นได้คือ ผู้อานวยการสถานศึกษา มอบให้กับคณะกรรมการสถานศึกษา นอกนั้นมอบได้ 42. ผู้อานายการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามอบอานาจให้ผู้อานวย การสถานศึกษาปฏิบัติราชการแทนได้ตามระเบียบที่เลขา กพฐ. กาหนด 43. การมอบอานาจ หมายถึง การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ 44. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สามารถมอบอานาจให้กับ ผู้อานวยการสถานศึกษา หัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ข้าราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 45. การมอบอานาจของผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้ ผู้อานวยการสถานศึกษาทาได้โดย ทาเป็นหนังสือ 46. ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่ง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการแทนได้ ให้มีผู้รักษาราชการแทน 47. การมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าเท่านั้นที่สามารถมอบอานาจให้ผู้อื่นต่อได้ 48. ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไม่สามารถปฏิบัติห น้าที่ได้ และมีรัฐมนตรีช่วยหลายคน ผู้ที่มอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยคนนั้นทาหน้าที่แทนคือ คณะรัฐมนตรี
  • 12. 49. ในกรณีที่มีรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหลายคน ผู้ที่แต่ตั้งให้รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาคนใดคนห นึ่ง ปฏิบัติงานแทนคือ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 50. ในกรณีที่ไม่มีรองผู้อานวยการสถานศึกษา ผู้ที่แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนผู้อานวยการสถานศึกษา คือ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 51. ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการหลายคน ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ คนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน 52. ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ 1 ให้รองผู้อานวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน 2 ถ้ามีรองผู้อานวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อานวยการ คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน 3 ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษาหรือมีแต่ไม่อาจป ฏิบัติราชการได้ ให้ผู้อานวยการนานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถ านศึกษาคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน 53. การจัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการมี 3 ส่วนคือ ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริ ญญา ที่เป็นนิติบุคคล 54. การแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษา เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 55. ทางานแทน แทนตัวเอง ของผู้ที่มอบหมาย เรียกว่าปฏิบัติราชการแทน
  • 13. 56. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเฉพาะที่เป็นโรงเรียน มีฐานะเป็นนิติบุคคล กาหนดใน พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 ในมาตรา 35 57. เมื่อมีการมอบอานาจโดยชอบแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น จะมอบอานานนั้นให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้ ยกเว้นแต่กรณีการมอบอานาจให้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด 58. ข้าราชการการเมืองคือ เลขาธิการรัฐมนตรี 59. คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ สังกัด สพฐ ตามระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 60. คณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือการศึกษ านอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สังกัด สานักงานปลัดกระทรวง ตาม พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 61. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึก ษา กาหนดใน พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการให้คานึงถึง ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นอันดับแรก ข้อสอบ พรบ ครู และบุคลากรทางการศึกษา 2546
  • 14. 1. องค์กรเกี่ยวกับวิชาชีพครูคือ คุรุสภา 2. คุรุสภามีฐานะ เป็นนิติบุคคล และเป็นองค์กรในกากับของคุรุสภา 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมความประพฤติและดาเนิ นงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาคือ คุรุสภา 4. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุ คลากรทางการศึกษา (สกสค) อยู่ภายใต้การบริหารงานของกระทรวงศึกษาธิการ 5. หน่วยงานที่มีหน้าที่ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพ และส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการคื อ สกสค 6. ประธานคณะกรรมการคุรุสภา คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ 7. วัตถุประสงค์ของคุรุสภาคือ ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กาหนดนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ วิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ แต่ ออกข้อบังคับ ไม่ใช่ 8. เลขานุการคณะกรรมการคุรุสภาคือ เลขาธิการคุรุสภา 9. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการไม่ได้เป็นคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชี พ 10. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีจานวน 17 คน 11. ผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ คือ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ 12. ผู้ดูและทะเบียนผู้ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพคือ เลขาธิการคุรุสภา 13. บุคคลที่ไม่จาเป็นต้องมีใบประกอบวิชาชีพคือ ครูตชด 14. อายุของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพคือ 5 ปี 15. หากถูกลงโทษเพราะประพฤติผิดมาตรฐานวิชาชีพ จะถูกพักใช้ใบอนุญาต 16. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ จัดอยู่ในมาตรฐานการปฏิบัติตน
  • 15. 17. โจทย์ ถ้าผู้บริหารรู้อยู่แก่ใจว่ารับครูอัตราจ้างที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิ ชาชีพมาสอนจะมีความผิดคือ ผู้บริหาร จาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6 หมื่อ ครูอัตราจ้าง จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2 หมื่น 18. คณะกรรมการที่เป็นประธานกรรมการโดยตาแหน่งคือ คณะกรรมการ สกสค 19. ผู้จะของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได้ต้องมีอายุ ไม่ตากว่า 20 ปี บริบูรณ์ 20. ผู้ลงนามในใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูคือ ประธานคุรุสภา 21. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ มี 4 ประเภท 22. หากถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ แล้วต้องพ้นกาหนด 5 ปี นับตั้งแต่วันเพิกถอน จึงจะมีสิทธิของใหม่ได้ 23. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จะสิ้นสุดลงเมื่อ หมดอายุ ถูกสั่งเพิกถอน ถูกสั่งเพิกใช้ 24. ผู้ที่มีอานาจพิจารณาว่าข้าราชการครูคนใดจะถูกพักใช้ใบอ นุญาตประกอบวิชาชีพคือ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ 25. ผู้มีอานาจพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพคือ คุรุสภา 26. กรณีร้องขอเพื่อต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพไม่ต่ออนุญาตให้ สามารถอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการคุรุสภา ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง 27. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา คือ คุรุสภา 28. คณะกรรมการต่อไปนี้เป็นผู้มีอานาจในการออกใบอนุญาต พักใช้ใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต คุรุสภา 29. คณะกรรมการคุรุสภา มีจานวน 39 คน
  • 16. 30. มาตรฐานวิชาชีพ มี 3 ด้าน คือ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติตน และความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ 31. กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรือผู้ใด มีสิทธิกล่าวโทษต่อผู้ประกอบวิชาชีพ ว่าผิดจรรยาบรรณ โดยต้องแจ้งต่อ คุรุสภา 32. ผู้ถูกกล่าวหา ผู้ถูกกล่าวโทษ สามารถยื่นพยาน หลักฐาน ส่งให้คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรืออนุกรรมการ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง 33. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานสานักงานสวัสดิการ สวัสดิภาพครูและบุคคลากรทางการศึกษา 34. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีจานวน 17 คน 35. ผู้สอน ระดับ อุมดศึกษา ไม่ถือว่าเป็นครู ตาม พรบ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 36. คุรุสภา หรือ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 37. วัตถุประสงค์ของคุรุสภาคือ กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพครู ประสานส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชี พ กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ 38. อาจานหน้าที่ของคุรุสภาคือ รับรองปริญญา ตามาตรฐานวิชาชีพ ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอใบประกอบวิชาชีพ พักใช้ใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาต 39. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไม่มีทางเป็นคณะกรรมการคุรุสภาได้ 40. คุรุสภาสามารถออกข้อบังคับเพื่อบริหารของคุรุสภาได้โดยค วามเห็นขอบของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 17. 41. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจยับยั้งร่างข้อบังคับของคุรุสภา ภายในเวลา 30 วัน 42. กรณีร่างข้อบังคับของคุรุสภา ถูกยับยั้ง โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ถ้ากรรมการคุรุสภาประชุมใหม่และต้องยืนยันด้วยมติไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งคณะ 43. ร่างข้อบังคับ ของคุรุสภา รมว ศึกษา ต้องลงนามภายใน 30 วัน วิชากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึก ษา 2547 2551 2553 1. ตาม พรบ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ผู้สนับสนุนทางการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ ส่วนคณาจารย์ไม่ใช่
  • 18. 2. ตาม พรบ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หน่วยงานการศึกษาได้แก่ สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานการศึกษานอกโรงเรียน ส่วน กลุ่มโรงเรียนไม่ใช่ 3. คณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือ กคศ คือ กรรมการผุ้แทนข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง 12 คน 4. กคศ ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมด 31 คน 5. หลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษาใน กคศ เป็นไปตาม กฎของ กคศ 6. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะรัฐมนตรีจะแต่งตั้งใน กคศ คือ ด้านการศึกษา ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านกฎหมาย ส่วนด้านสารธารณสุข ไม่ใช่ 7. คุณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ใน กคศ คือ มีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น 8. ผู้ที่จะเป็นกรรมการผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา ใน กคศ ได้จะต้องมีอายุราชการด้านการบริหารตาแหน่ง ยศ ผอ. ไม่น้อยกว่า 5 ปี 9. ครูที่มีอายุราชการ ไม่น้อยกว่า 15 ปี และมีวิทยฐานะไม่ต่ากว่าครูชานาญการ สามารถเป็นคณะกรรมการผู้แทนข้าราชการครูใน กคศ ได้ 10. การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลา กรทางการศึกษาใน กคศ คือ ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธาน พ้นจากการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาย.......ส่วนคณะรัฐมนตรีไม่สามารถให้ออกได้ 11. ข้าราชการครูและบุคคลาการทางการศึกษา จะไม่สามารถควบตาแหน่ง กรรมการใน กคศ และ อนุกรรมการใน อกคศ ได้
  • 19. 12. หน้าที่ของ กคศ ได้แก่๑พิจารณาแต่งตั้ง อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา และคณะอนุกรรมการอื่นเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ กคศ มอบหมาย ๒เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการผลิต ๓ พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติ และแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวันเดือนปีเกิด และควบคุมการเกษียณ อายุของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 13. คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจาเ ขตพื้นที่การศึกษา เรียกว่า อกคศ 14. องค์ประกอบของ อกคศ เขตพื้นที่การศกึษาประกอบด้วย อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 4 คน อนุกรรมการผุ้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึษเขตพื้นที่การ ศึกษา จานวน 3 คน และประธานอนุกรรมการเลือกจากอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 15. อนุกรรมการผุ้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเขตพื้ นที่การศึกษามาจากผู้แทนข้าราขการครูจานวน 1 คน 16. คุณสมบัติของอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา คือ มีสัญชาติไทย ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ไม่เป็นเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษา หรือผู้มีตาแหน่งบริหารในพรรคการเมือง 17. อกคศ ไม่จาเป็นต้องมีประสบการณ์ในตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 18. หลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของผู้ทรงคุณวุฒิ อกคศ มาจาก กฎ กคศ 19. อกคศ มีตาแหน่งวาระคราวละ 4 ปี 20. อกคศ จะไม่พิจารณาเสนอความดีความชอบของผู้บริหารเด็ดขาด 21. คระกรรมการสถานศึกษาไม่ได้มีหน้าที่ ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทารายงานการบริหารงาน บุคคล เสนอต่อ อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเสนอต่อ กคศ ต่อไป
  • 20. 22. หน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ตาม พรบ ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้แก่ 1 ควบคุมดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบายกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่กคศ และ อกคศ เขตพื้นที่การศึกษากาหนด 2 จัดทามาตรฐาน ภาระงานสาหรับข้าราชการครูและบุคลาการทางการศึกษาในสถานศึก ษา 3 ส่งเสริมสนับสนุนข้าราชการครูและบุคคลกรทางการศึกษาในสถานศกึ ษาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 23. เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ข้าราชการครู.และบุคลากรทางการศึกษาอานได้รับตามหลักเกณฑ์และ วิธีการ ตามพระราชกฤษฎีกา 24. วัน เวลาทางาน วันหยุดของข้าราชการครูเป็นไปตามที่กคศ กาหนด 25. ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มี 3 ประเภท 26. ครูอัตราจ้าง ไม่ใช่ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งมีหน้าที่เป็นหน่วยงานการศึกษา 27. ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษาซึ่งมีหน้าที่เป็น ผุ้สอนในหน่วยงานการศึกษาตาแหน่งที่มีหน่วยงานการศึกษาที่สอนระ ดับการศึกษาขั้นพื้นฐานคือครู 28. ตาแหน่ง ผอ. และ รอง ผอ. ต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวง 29. กคศ เป็นผู้จัดทามาตรฐานตาแหน่ง มาตรฐานวิทยฐานะ และมาตรฐานตาแหนงทางวิชาการของข้าราชการครูและบุคคลากรทาง การศึกษา 30. คนที่จะเป็นครูได้ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ คือ อายุไม่ต่ากว่า 20 ปี บริบูรณ์ไม่มีตาแหน่งทางการเมือง ไม่มีหนี้สินพ้นตัวหรือ ล้มละลาย ไม่เคยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ
  • 21. 31. อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา ทาหน้าที่ดาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและ บุคคลากรทางการศึกษา 32. การดาเนินการการสอบแข่งขันเพื่อเป็นครูและบุคลากร ต้องดาเนินงานโดยหน่วยงานการศึกษาที่มีความพร้อม ความพร้อมต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กคศ กาหนด และ อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา จะมอบหใหน่วยงานการศึกษาที่มีความพร้อมเป็นผู้ดาเนินการสอบแข่ง ขัน 33. ผู้ที่เป็นครูหรือบรรจุแล้ว ตรวจพบว่า ขาดคุณสมบัติอยู่ก่อน ผู้ที่จะทาการสั่งให้ผู้นั้นออกโดยพลันคือ ผู้มีอานาจตามมาตรา 53 34. ในกรณีที่ อกคศ ไม่สามารถดาเนินการสอบแข่งขันได้ สามารถกระทาการอย่างอื่น เพื่อคัดเลือกได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กคศ กาหนด 35. การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคคลการทางการศึกษา ตาแหน่งวิทยาฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ต้องได้รับอนุมัติจาก กคศ ... รมว ศธ นาเสนอนายกรัฐมนตรี เพื่อนาความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง 36. การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษาให้ ดารงตาแหน่ง ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา และ ผอ.เขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ ต้องให้เลขา กพฐ. เป็นผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง โดยอนุมัติจาก กคศ. 37. ตาแหน่งซึ่งมีวิทยะฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ อยู่นอกเหนือ อานาจหน้าที่ของ ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา ที่จะบรรจุและแต่งตั้ง 38. การแต่งตั้งครูผู้ช่วย สั่งบรรจุและแต่งตั้งโดย ผู้อานายการสถานศึกษา โดยอนุมัติจาก อกคศ เขตพื้นที่การศึกษา 39. ตาแหน่งวิทยาฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ที่ไม่ได้สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา อยู่นอกเหนืออานาจแต่งตั้งของผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่ผู้นั้นสังกัด อยู่
  • 22. 40. บรรจุแต่งตั้ง ครู และบุคลากร ตาม พรบ ครูและบุคลากร 2547 มาบังคับใช้อนุโลมกับ ตาแหน่งอาจารย์ 41. ก่อนเป็นครูจริง ต้องเป็นครูผู้ช่วย อยู่ 2 ปี 42. การเป็นครูผู้ช่วย 2 ปี เป็นไปตามกฎของ กคศ 43. ถ้าเป็นครูผู้ช่วยไม่ผ่าน ใน 2 ปี มีเหตุผลให้ออกได้คือ มีความประพฤติไม่ดี ไม่มีความรู้ไม่มีความเหมาะสม ผลการประเมินความพร้อมอยู่ตากว่าเกณฑ์ 44. ผู้มีอานาจตาม พรบ ครู และบุคคลาการ ตามาตรา 53 คือผู้มีอานาจในการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากร 45. ถ้าทาหน้าที่ครูผู้ช่วย แล้วได้รับหน้าที่ตาแหน่งอื่น เช่น ศึกษานิเทศก์ต้องนับตาแหน่งศึกษานิเทศก์ใหม่ ไม่รวมเวลาของครูผู้ช่วย บวกเพิ่ม 46. หากครูผู้ช่วย ดื่มเหล้า มึนเมา ทะเลาะวิวาท ผู้มีคาสั่งตามมาตรา 53 สามารถสั่งให้ออกจากราชการได้ในกรณีมีความประพฤติไม่ดี 47. หากสั่งให้ถูกออกจากราชการแล้ว ตามมาตรา 53 ให้เสมือว่า ผู้นั้นไม่เคยเป็นข้าราชการครูและบุคลากร 48. ครุ..........ถ้าระหว่างถูกพักใช้ใบอนุญาตใบประกอบวิชาชีพ สามารถถูกเปลี่ยนตาแหน่งได้สามารถถูกย้ายได้ หากถูกสั่งให้ออกราชการไว้ก่อน ไม่อาจถูกเปลี่ยนตาแหน่งได้ หากถูกสั่งพักราชการ ไม่อานถูกเปลี่ยนตาแหน่งได้ 49. การย้ายดารงตาแหน่ง ต้องเกี่ยวเนื่องกับผู้มีอานาจตามมาตรา 53 50. เป็นครูอยู่ดีๆ ถูกสั่งให้ไปรับราชการทหาร แต่เมื่อรับราชการทหารเสร็จ อยากกลับมาเป็นครู ต้องยื่นคาร้องกลับเข้ารับราชการภายใน 180 วัน 51. เลื่อนขั้น แต่ไม่เลื่อนตาแหน่ง เพื่อเงินเดือนเพิ่ม ผู้ดาเนินการคือ อกคศ เขตพื้นที่ สถานศึกษา หลักเกณฑ์วิธีการตาม กคศ กาหนด 52. เลื่อนขั้นเงินเดือน พิจารณาจากลาดับความอาวุโส แล้ว แต่งตั้งตามลาดับก่อนหลัง สาหรับผุ้สอบได้
  • 23. 53. หากเลื่อนวิทยาฐานะแล้วภายหลังพบว่าไม่ถูกต้อง สามารถให้ผู้มีอานาจตามมาตร 53 ให้ผู้นั้นกลับไปตาแหน่งหรือวิทยาฐานะเดิมได้โดย หากไม่เข้าเกณฑ์ตามตาแหน่ง หรือมาตรฐานวิทยฐานะ ไม่ผ่านกระบวนการตามกฎหมาย ผู้สั่งไม่ถูกต้องหรือไม่มีอานาจ 54. คา หรือตาแหน่งว่า รักษาการ จะใช้ในกรณีต่อไปนี้ ตาแหน่งว่าง ผุ้ดารงตาแหน่งไม่สามารถปฏิบัตหน้าที่ได้ กรณี พรบ ระเบียบบริหารราชการ ศธ ไม่ได้กาหนดไว้ 55. การได้รับความชอบ คือ คาชมเชย รางวัล เลื่อนขั้น เครื่องเชิดชูเกียรติ 56. ถ้าไม่เลื่อนขั้นเลื่อนเงินเดือนให้ผู้ใด จะต้องแจ้งให้ผู้นั้นทราบโดยต้องพร้อมเหตุผลที่ไม่เลื่อนขั้นเงินเดือน 57. ผู้มีอานาจตามมาตรา 53 สามารถสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนได้ 58. ครูและบุคลากรที่มีสิทธิได้เลื่อนขั้นเงินเดือนได้แก่ ถูกลงโทษตัดเงินเดือน ถูกศาลตัดสินว่ามีความผิดทางอาญา ถูกโทษภาคทัณฑ์ 59. ครูและบุคลากรจะได้เงินวิทยพัฒน์ตามระเบียบ กคศ กาหนด เนื่องจาก มีผลงานดีเด่น ปฏิบัติงานดีเด่น ได้รับเครื่องเชิดชูเกียรติ โดยความเห็นขอบขอบคณะรัฐมนตรี 60. ที่ว่าข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น ตรงตาม พรบ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นการสนับสนุนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และต้องสนับสนุนด้วยความบริสุทธิ์ใจ 61. ความผิดทางวินัย ไม่ใช่การปฏิบัติราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยนช์ที่มิควรได้เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ ราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง 62. การเสนอทบทวนคาสั่งผู้บังคับบัญชา ควรทา เมื่อเห็นว่าการปฏิบัติตามคาสั่งนั้นจะทาให้เสียหายแก่ราชการ
  • 24. ต้องเสนอความเห็นเป็นหนังสือ ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันคาสั่งเดิมก็ปฏิบัติตาม 63. การไม่ทางานในช่วงเวลาปฏิบัติหน้าที่ถือว่า เป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการ @@@@ ละทิ้งมันรุนแรงกว่าทอดทิ้ง 64. ทอดทิ้งหน้าที่ราชการคือ ทอดทิ้งให้ผู้อื่นทา หรือทิ้งงานให้คั่งค้าง ไม่ยอมทางาน 65. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการหรือยอ มให้ผู้อื่นกระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสื่อมเสียเกียรติในตาแห นงหน้าที่ราชการ ซึ่งการกระทาตามข้อใดต่อไปนี้เป็นความผิดวินัยร้ายแรง ก. เป็นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายที่จะให้เป็นการซือ้ขาย ข. เป็นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายจะให้ได้รับตาแหน่งแต่งตังให้ตาร งตาแหน่งหรือวิทยฐานะโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ค. เป็นการกระทาอันมีลักษณะที่เป็นการให้เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับ การบรรจุและแต่งตั้งโดยมิชอบหรือเสื่อมเสียความเที่ยงธรรม ง. ถูกต้องทุกข้อ 66. การให้ผู้อื่นอาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอานาจหน้าที่ราชการของ ตนไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมเพื่อประโยชน์ให้แกตนเองหรือผู้อื่ นกระทาตามความในข้อใดต่อไปนี้เป็นความผิดวินัยไม่ร้ายแรง 67. การร่วมดาเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานของผู้อื่นโดยมิชอ บ หรือเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง 68. การซื้อสิทธิขายเสียง หรือขายเสียงการเลือกตั้ง ถือเป็นความผิดวินัยร้ายแรง 69. การนิยมในพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่ง จึงสมัครเป็นสมาชิก ไม่ถือเป็นความผิดวินัยร้ายแรง 70. การติดหนี้แล้วถูกฟ้องเรียกเสียหาย ถือเป็นความผิดวินัยไม่ร้ายแรง 71. เล่นการพนันถือเป็นความผิดวินัยในฐานะกระทาการอันถือว่าประ พฤติชั่ว
  • 25. 72. หน้าที่ของผู้บังคับบัญชาทางด้านวินัยคือ เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย ดาเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าว หาว่ากระทาผิดวินัย 73. ข้อต่อไปนี้ให้ถือว่าผู้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย คือ ละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านวินัยและการดาเนินการทางวินัย มีพฤติกรรมปกป้องช่วยเหลือ เพื่อมิให้ผู้ผู้ภายใต้บังคับบัญชาถูกลงโทษทางวินัย ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวโดยไม่สุจริต 74. โทษทางวินัยมี 5 สถาน คือ ภาค ตัด ลด ปลด ไล่ 75. โทษปลดออก ยังมีสิทธิ์ได้รับ บาเหน็จ บานาญ 76. การสืบสวน ไม่ถือเป็นความผิดทางวินัย 77. การสอบสวนต้องตั้งคณะกรรมการสอบสวน ต้องแจ้งข้อกล่าวหา และสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ ต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิการ ของ กคศ 78. การลงโทษผู้กระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง คือ สั่ง ภาค ตัด ลด โทษภาค ใช้เฉพาะกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้อย การงดโทษ กระทาได้โดย ทาทัณฑ์บน เป็นหนังสือ หรือ ตักเตือนด้วยวาจา 79. กรรมการสอบสวน ต้องเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา............ สามารถเรียกให้กระทรวง ทบวง กรม ห้างหุ้นส่วน บริษัท ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง หรือถ้อยคาเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน เรียกผู้กล่าวหา หรือบุคคลใดๆมาชี้แจง หรือให้ถ้อยคาที่เกี่ยวกับเรื่องสอบสวน 80. การออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คือ พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญของข้าราชการ ถูกสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออก ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
  • 26. เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตใบประกอ บวิชาชีพ 81. การลาออกของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ... ให้ยื่นหนังสือลาออกต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้ผู้มีอานาจตามมาตร 53 พิจารณาอนุญาต เมื่อครบกาหนดการยับยังแล้ว ให้การลาออกมีผลตั้งแต่วันถัดไปจากวันครบกาหนดเวลาที่ยับยัง ถ้าผู้มีอานาจตามมาตรา 53 ไม่อนุญาตให้ลากออก และไม่ได้ยับยั้งการอนุญาตให้ลาออก ให้การลาออกนั้นมีผลตั้งแต่วันที่ขอลาออก 82. การลาออกไปดารงตาแหน่งทางการเมือง และ ไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกต่างๆ. ผู้บังคับบัญชาไม่มีอานาจยับยั้งการอนุญาตให้ลาออก 83. การถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เมื่อถูกสั่งให้ออกจากราชการแล้ว ไม่มีสิทธิไดรับบานาญเหตุทดแทน 84. การลงโทษตัดเงินเดือน ไม่มีสิทธิที่จะร้องทุกข์ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546 1. เด็กหมายถึง ผู้ทีมีอายุไมเกิน 18 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ทีบรรลุนิติภาวะ ด้วยการสมรส 2. เด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจน หรือบิดามารดา หย่าร้าง ทิ้งร้าง ถูกคุมขัง หรือแยกกันอยู่ คือเด็กที่อยู่ในสภายากลาบาก 3. เด็กที่ไม่มีบิดามารดาเลี้ยงดู หรือมีแต่ไม่เลี้ยงดูหมายถึง เด็กเร่รอน 4. เด็กที่อยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่ที่อาจชักนาไปในทางเสียหาย คือเด็ก ที่เสียงต่อการกระทาผิด
  • 27. 5. ครอบครัวอุปถัมภ์หมายถึง บุคคลซึ่งรับเด็กไว้อุปการะอย่างบุตร 6. สถานรับเลี้ยงเด็กคือ สถานที่รับเลี้ยงและพัฒนาเด็กอายุไม่เกิน 6 ปี ตั้งแต่6 คน ขึ้นไป 7. กรรมการและเลขานะการในคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด คือ พัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด 8. หน้าที่ของผู้ปกครองตาม พรบ คุ้มครอบเด็ก 2546 คือ ให้การอุปการะเลี้ยงดูอบรมสั่งสอน และพัฒนาตามควรแก่ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนาธรรมท้องถิ่น 9. ผู้นาทุกคน มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 10. เด็กที่ควรได้รับการสงเคราะห์มี 8 ประเภท เด็กที่ควรได้รับการคุ้มครองมี 3 ประเภท สถานสงเคราะห์เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ ให้ดาเนินการตามวิธีที่เหมาะสม 11. เด็กที่อยู่ในสภาพยากลายาก ไม่ใช่เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ 12. การจาหน่ายสุรา หรือบุหรี่แก่เด็กมีโทษ จาคุกไม่เกิน 3 ปรับไม่เกิน 30000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 13. หากจะช่วยเด็ก จะกักตัวเด็กได้ไม่เกิน 12 ชั่วโมง 14. ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กไม่มีสิทธินาเด็กส่งเจ้าหน้าที่ตารวจ ในกรณีเด็กกระทาผิดกฎหมาย 15. การให้การสงเคราะห์เด็กในกรณีต่อไปนี้ต้องได้รับความยินยอมจ ากผู้ปกครอง นั่นคือ การส่งเด็กเข้าสถานแรกรับ การส่งเด็กเข้าสถานสงเคราะห์การส่งเด็กเข้าครอบครัวอุปถัมภ์ 16. สถานแรกรับ ดูแลคุ้มครองเด็กได้ไม่เกิน 3 เดือน 17. ถ้าผู้ที่ได้รับการสงเคราะห์มีอายุ 18 ปี บริบูรณ์แล้ว แต่อยู่ในสภาพที่ต้องสงเคราะห์ต่อไป สามารถสงเคราะห์ได้จนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์
  • 28. 18. ผู้มีอาจานตามมาตรา 18 ของ พรบ คุ้มครอบเด็ก คือ ปลัดกระทรวง และ ผู้ว่าราชการจังหวัด 19. ยุยงส่งเสริมให้นักเรียน หรือนักศึกษา ทาผิดระเบียบของสถานศึกษา มีโทษจาคุกเช่นเดียวกับ เหล้าสุรา คือจาคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 30000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ พรบ การจัดการศึกษา สาหรับคนพิการ 2551 1. คนพิการตาม พรบ นี้ หมายถึง บุคคลซึ่งมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมี ส่วนร่วมในสังคม 2. ผู้ดูแลคนพิการหมายถึง บิดา มารดา ผู้ปกครอง 3. การเรียนร่วม ตาม พรบ นี้ คือ การจัดให้คนพิกรได้เข้ารับการศึกษาในระบบการศึกษาทั่วไปในทุกระดั บและหลากหลายรูปแบบ 4. ผู้รักษาการตาม พรบ นี้ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 29. 5. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ไม่เสียค่าใช้จ่าย 6. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ จัดเมื่อตั้งแต่แรกเกิด หรือเมื่อพบความพิการ 7. คณะกรรมการการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ มีจานวน 27 คน 8. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรั บคนพิการ มีวาระการดารงตาแหน่ง ครั้งละ 3 ปี แต่จะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ 9. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหมดวาระลง ต้องแต่งตั้งใหม่ภายใน 60 วัน 10. ผู้แต่งตั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิคือ รมว ศึกษาธิการ 11. ผู้ทาหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษา สาหรับคนพิการคือ ผู้อานาวยการสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 12. ประธานคณะกรรมการการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิก ารคือ รมว ศึกษาธิการ 13. ให้สถานศึกษาเฉพาะความพิการของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล กาหนดไว้ในมาตรา 20 14. กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสาหรับคนพิการ อยู่ในสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15. สานักบริหารงานการศกึษาพิเศษ อยู่ ใน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 30. ข้อสอบกฎหมายการศึกษา 130 ข้อ 1. พรบ การศึกษาแห่งชาติ 42 มี 9 หมวด 78 มาตรา 2. ผู้รักษาการตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ 42 คือ รมว. ศธ 3. วันบังคับใช้ พรบ 42 คือ 20 สค 42 4. ผู้รับสนอง พรบ 42 คือ นายชวน หลีกภัย 5. หมวดที่4 ของ พรบ การศึกษา แห่งชาติ คือหัวใจสาคัญของการปฏิรูปการเรียนรู้ 6. พรบ ระเบียบการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการมี 5 หมวด 82 มาตรา 7. ผู้รักษาการตาม พรบ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ คือ รมว.ศธ 8. วันบังคับใช้ พรบ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการคือ 7 กรกฎาคม 2546 9. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พรบ ระเบียบบริหารราชการ ศธ. 46 คือ ทักษิน ชินวัตร 10. การจัดระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการตามมาตรา 6 มี 3 ส่วน บททั่วไป การจัดระเบียบในสานักงานประหลัด การจัดระเบียบสานักงาน