SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
random-150817064115-lva1-app6892.doc
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ตามคำาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สำานักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 293/2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 กำาหนดให้
สถานศึกษา ในสังกัด จัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้(กระทรวงศึกษาธิการ,
2551)
1. โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรและโรงเรียนที่มีความ
พร้อมตามรายชื่อที่กระทรวง
ศึกษาธิการประกาศ ใช้หลักสูตรฯ ดังนี้
1.1 ปีการศึกษา 2552 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
1.2 ปีการศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 และ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5
1.3 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป ให้ใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ทุกชั้นเรียน
2. โรงเรียนทั่วไป ให้ใช้หลักสูตรฯ ดังนี้
2.1 ปีการศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
2.2 ปีการศึกษา 2554 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 และ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5
2.3 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป ให้ใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ทุกชั้นเรียน
สถานศึกษา ที่ต้องใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551 ตามกำาหนดเวลาดังกล่าว ควรศึกษา
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรแกนกลางฯ และเตรียมการจัดทำา
สิ่งต่าง ๆ ให้พร้อมก่อนที่จะถึงกำาหนดเวลาตามคำาสั่งของกระทรวง
1
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ศึกษาธิการดังกล่าวแล้ว เอกสารเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางฯ
สถานศึกษา สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.curriculum51.net
และกระทรวงศึกษาธิการจะทะยอยส่งเอกสารเป็นรูปเล่มให้สถาน
ศึกษาที่ต้องใช้หลักสูตรแกนกลางฯ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2552
ตั้งแต่เดือนมกราคม เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ มีดังนี้
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551
2. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียน
รู้.............ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จำานวน 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๆ ละ 1 เล่ม
เอกสารประกอบหลักสูตรฯ แกนกลาง มี 3 เล่ม ดังนี้
1. แนวทางการบริหารหลักสูตร
2. แนวทางการจัดการเรียนรู้
3. แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
นอกจากนี้ สถานศึกษา ที่สนใจสามารถขอยืมได้จากผู้ที่ได้
รับการอบรมเป็นวิทยากร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุก
เขตพื้นที่การศึกษา ผู้ผ่านการอบรมอย่างน้อยเป็นศึกษานิเทศก์
จำานวน 7 คน และครูโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรฯ จำานวน 3
คน
เมื่อได้เอกสารแล้ว ฝ่ายวิชาการและคณะครูของสถานศึกษา
ควรศึกษารายละเอียดในเอกสารให้เข้าใจ โดยเฉพาะ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำาหนด
“ ”วิสัยทัศน์ “ ”หลักการ “ ”จุดหมาย “ ”สมรรถนะสำาคัญ
“ ”คุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มาตรฐานการเรียนรู้(รวมทั้งตัวชี้
วัด)” “ ”กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน “ ”โครงสร้างเวลาเรียน และศึกษา
เอกสาร แนวทางการบริหารหลักสูตร อย่างละเอียดจะทำาให้
ทราบว่าสถานศึกษาจะต้องดำาเนินการใช้หลักสูตรฯ อย่างไร
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ จะให้แนวการจัดการเรียนรู้ที่มี
มาตรฐานเป็นเป้าหมาย สื่อการจัดการเรียนรู้ การจัดทำาคำาอธิบาย
รายวิชา การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ส่วนเอกสารแนวปฏิบัติการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ แนะนำาการบริหารจัดการงานวัดผลของ
สถานศึกษา การจัดทำาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
2
random-150817064115-lva1-app6892.doc
เรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน
ตลอดจนเอกสารหลักฐานการศึกษาที่ต้องใช้
การจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แบ่งการ
ศึกษาเป็น 3 ระดับ ได้แก่
1. ระดับประถมศึกษา(ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6) เป็นระดับ
การศึกษาที่มุ่งเน้นทักษะ
พื้นฐานด้านการอ่านการเขียน การคิดคำานวณ การคิดพื้นฐาน
การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความ
เป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้ง
ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้น
จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) เป็น
ระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนได้สำารวจความถนัด และความสนใจของตนเอง ส่งเสริม
การพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำารง
ชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการ
เรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้งด้านความรู้
ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจน
ใช้เป็นพื้นฐาน ในการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อ
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6) เป็น
ระดับการศึกษาที่มุ่งเน้น
การเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ
ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งด้านวิชาการ
และวิชาชีพ มีทักษะ มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี
ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนำาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้
เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนา
ตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้นำา และผู้ให้
บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ
กรอบภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีดังนี้
3
random-150817064115-lva1-app6892.doc
4
random-150817064115-lva1-app6892.doc
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่
อย่างพอ
เพียง
6. มุ่งมั่นในการ
ทำางาน 7.
รักความเป็น
ไทย
8.
มีจิตสาธารณะ
สมรรถนะสำาคัญของผู้
เรียน
ความสามารถในการ
สื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้
ปัญหา
ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
จุดหมาย
1. มีคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็น
คุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน
นับถือ ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้อันเป็นสากล
และมีความสามารถในการสื่อสาร
การคิด การแก้ปัญหา การใช้
เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพ
จิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออก
กำาลังกาย
4. มีความรักชาติ มี
จิตสำานึกในความเป็นพลเมืองไทย
และพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสำานึกในการ
อนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ง
แวดล้อม มีจิต
สาธารณะที่มุ่งทำาประโยชน์และ
สร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วม
กันในสังคมอย่างมีความสุข
กิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน
๑.กิจกรรม
แนะแนว
๒.กิจกรรม
นักเรียน
๓. กิจกรรมเพื่อ
สังคมและ
สาธารณประโย
ชน์
ที่มีความสมดุลทั้งด้าน
ร่างกาย ความรู้
คุณธรรม มีจิตสำานึก
ในความเป็นพลเมือง
ไทยและเป็นพลโลก
ยึดมั่นในการปกครอง
ตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระ
มหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มีความรู้และ
ทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง
เจตคติ ที่จำาเป็นต่อการ
ศึกษาต่อ การประกอบ
อาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวิต โดยมุ่ง
เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ
บนพื้นฐานความเชื่อ
ว่า ทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตาม
ศักยภาพ
5
มาตรฐานการ
เรียนรู้และตัว
ชี้วัด 8 กลุ่ม
สาระการเรียน
รู้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3.
วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา
ศาสนาและ
วัฒนธรรม 5.
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงาน
คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
random-150817064115-lva1-app6892.doc
แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ได้กำาหนด
องค์ความรู้ ทักษะสำาคัญและคุณลักษณะที่สำาคัญ ที่เป็นจุดเน้นใน
การพัฒนาผู้เรียน ดังนี้
6
เทคโนโลยี
8. ภาษาต่าง
ประเทศ
องค์ความรู้ ทักษะ
สำาคัญ
และคุณลักษณะ
ในหลักสูตรแกน
กลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ :
การนำาความรู้
และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
ไปใช้ในการศึกษา
ค้นคว้าหาความรู้ และ
แก้ปัญหาอย่างเป็น
ระบบ การคิดอย่างเป็น
เหตุเป็นผล คิด
วิเคราะห์
คิดสร้างสรรค์ และ
จิตวิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม :
การอยู่ร่วมกันในสังคม
ไทยและสังคมโลกอย่าง
สันติสุข การเป็น
พลเมืองดี ศรัทธาใน
หลักธรรมของศาสนา
การเห็นคุณค่าของ
ทรัพยากรและสิ่ง
แวดล้อม ความรักชาติ
และภูมิใจในความเป็น
ไทย
ศิลปะ : ความรู้
และทักษะในการ
คิดริเริ่ม
จินตนาการ
สร้างสรรค์งาน
ศิลปะ
สุนทรียภาพและ
การเห็นคุณค่าทาง
ศิลปะ
ภาษาไทย :
ความรู้ ทักษะ
และวัฒนธรรมการ
ใช้ภาษา
เพื่อการสื่อสาร
ความชื่นชม
การเห็นคุณค่า
ภูมิปัญญา ไทย และ
ภูมิใจในภาษาประจำา
ชาติภาษาต่างประเทศ
: ความรู้ทักษะ
เจตคติ และ
วัฒนธรรม การใช้
ภาษา ต่างประเทศใน
การสื่อสาร การ
แสวงหาความรู้
และการประกอบ
อาชีพการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี :
ความรู้ ทักษะ และ
เจตคติในการทำางาน
การจัดการ
การดำารงชีวิต การ
ประกอบอาชีพ และ
การใช้เทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลศึกษา : ความรู้
ทักษะและเจตคติใน
การสร้างเสริมสุขภาพ
พลานามัยของตนเอง
และผู้อื่น การป้องกัน
และปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ
ที่มีผลต่อสุขภาพ
อย่างถูกวิธีและทักษะ
ในการดำาเนิน
ชีวิต
คณิตศาสตร์ :
การนำาความรู้ทักษะ
และกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ไปใช้ใน
การแก้ปัญหา การ
ดำาเนินชีวิต และศึกษา
ต่อ การมีเหตุมี
ผล มีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
พัฒนาการคิดอย่างเป็น
ระบบและสร้างสรรค์
random-150817064115-lva1-app6892.doc
การจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน หลักสูตรสถานศึกษาก็เช่นเดียวกัน เป็น
หลักสูตรอิงมาตรฐาน กระบวนการจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษาจึง
เริ่มจากการศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการ
เรียนรู้หลักสูตรแกนกลางฯ ศึกษาเป้าหมายในการพัฒนาคนใน
ระดับท้องถิ่น ที่กำาหนดโดยสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แล้วจึง
นำาข้อมูลดังกล่าว มาจัดทำาเป็นหลักสูตรสถานศึกษา
การดำาเนินงานของสถานศึกษาในการใช้ หลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีดังนี้
การเตรียมการ
1. จัดทำาโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา
2. ครูผู้สอนจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา
3. ครูผู้สอนจัดทำาโครงสร้างรายวิชา
4. ครูผู้สอนจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
และสร้างเครื่องมือวัดผล
การเรียนรู้ของผู้เรียน
5. จัดทำาระเบียบการวัดและประเมินผล
การดำาเนินการพัฒนาผู้เรียน
6. ครูสอนตามหน่วยฯ และแผนการจัดการเรียนรู้
7. ครูประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดชั้นปี/ช่วงชั้น
8. สถานศึกษา ตรวจสอบจำานวนหน่วยกิตที่ผู้เรียนเรียนกับ
เกณฑ์การจบหลักสูตรฯ
7
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551(มาตรฐานการเรียนรู้-โครงสร้างหลักสูตรฯ -กิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน-คุณลักษณะอันพึงประสงค์-สมรรถนะสำาคัญ-การประเมินผล
หลักสูตรระดับท้องถิ่น(เป้าหมายระดับท้อง
ถิ่น กำาหนดโดย สพท.)
หลักสูตรสถานศึกษา
•วิสัยทัศน์
•คุณลักษณะอันพึงประสงค์
•สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
•โครงสร้างหลักสูตร
•คำาอธิบายรายวิชา
•เกณฑ์การวัดผลการเรียนรู้ และ
การจบหลักสูตร
กรรมการสถานศึกษาฯ
ให้ความเห็นชอบ
นำาไป
ใช้
random-150817064115-lva1-app6892.doc
9. สถานศึกษาออกหลักฐานการศึกษาให้กับผู้เรียน
ต่อไปนี้จะขยายรายละเอียดในส่วนที่จำาเป็น สำาหรับการใช้
หลักสูตรแกนกลางฯ
ที่สถานศึกษา และครูผู้สอนควรทราบ ดังนั้น รายการที่ 5 และ
รายการที่ 6-9 จึงจะไม่แสดงรายละเอียด เนื่องจากผู้รับผิดชอบมี
ความรู้ ความเข้าใจเป็นอย่างดีแล้ว และศึกษาได้จากเอกสารดัง
กล่าวข้างต้น
การจัดทำาโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา
ในการจัดทำาโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพิจารณา
ข้อมูลจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 เป้าหมาย/จุดมุ่งหมายในการพัฒนาผู้เรียน ระดับท้อง
ถิ่น(หลักสูตรระดับท้องถิ่น) แล้วจึงดำาเนินการจัดทำาโครงสร้าง
หลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้(สำาหรับความเป็นท้องถิ่น สถานศึกษา
สามารถสอดแทรกในวิชาพื้นฐาน สอดแทรกหรือจัดทำาเป็น
รายวิชาในวิชาเพิ่มเติม และสามารถสอดแทรกในกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน)
1. รายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้องให้
จำานวนหน่วยกิต/ชั่วโมงตามตามที่
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กำาหนด การให้ชื่อวิชาในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับ
ประถมศึกษาให้ชื่อวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ให้ชื่อวิชาตามกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ หรือให้ชื่อตามเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น(โครงสร้าง
เวลาเรียนกำาหนดในเอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ หน้า 20) ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
สามารถจัดแยกได้มากกว่า 1 รายวิชา(1 รายวิชาต้องมีหน่วยกิต
ไม่น้อยกว่า 0.5 หน่วยกิต) แต่รวมจำานวนชั่วโมงของกลุ่มสาระฯ
แล้วต้องไม่เกินจำานวนชั่วโมงที่กำาหนดในโครงสร้างเวลาเรียน
ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่กำาหนดโดยหลักสูตรแกนกลางฯ
การจัดรายวิชา จัดโดย นำาตัวชี้วัดที่กำาหนดใน หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 มาจัดวางในแต่ละปี(ระดับประถมศึกษา) หรือ
ภาคเรียน(ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย) ให้เป็นลำาดับที่
เหมาะสมกับการรับรู้ของผู้เรียน สำาหรับระดับชั้นมัธยมศึกษา
ต้อนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แต่ละกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ในโครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรสถานศึกษา
8
random-150817064115-lva1-app6892.doc
สามารถแยกมากกว่า 1 รายวิชาได้ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา อาจจะแยกเป็น 2 รายวิชา เป็นวิชา
สุขศึกษา และวิชาพลศึกษา วิชการงานอาชีพและเทคโนโลยี อาจ
จะแยกเป็น 2 รายวิชา คือ วิชาคอมพิวเตอร์ และวิชาการงานและ
อาชีพ เป็นต้น แต่จำานวน หน่วยกิต หรือจำานวน
ชั่วโมง/ปีของ 2 รายวิชารวมกันแล้ว ต้องไม่เกินจำานวน
ชั่วโมงในโครงสร้างเวลาเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น
ที่กำาหนดในหลักสูตรแกนกลางฯ
2. รายวิชาเพิ่มเติม
2.1 ระดับประถมศึกษา จัดรายวิชาปีละไม่เกิน 80 ชั่วโมง
และมัธยมศึกษาต้อนต้น จัด
รายวิชาปีละไม่เกิน 240 ชั่วโมง ให้ชื่อวิชาที่สอดคล้องกับเนื้อหา
สาระของรายวิชา
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดรายวิชาปีละไม่น้อย
กว่า 1,680 ชั่วโมง ให้ชื่อวิชาที่
สอดคล้องกับเนื้อหาสาระของรายวิชา
รายวิชาเพิ่มเติม ผู้สอนต้องกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ที่
เรียกว่า “ ”ผลการเรียนรู้ เองให้
ชัดเจน เนื่องจากไม่มีตัวชี้วัดรายปี/รายช่วงชั้น และให้ใช้คำาว่า
“ ”ผลการเรียนรู้ เท่านั้น ไม่ใช้ คำาว่า ผลการเรียนรู้ที่คาด
หวัง
การกำาหนดรหัสวิชา มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 4
หลักที่ 5 หลักที่ 6
กลุ่มสาระฯ ระดับ ปีในระดับการศึกษา ประเภท
ของรายวิชา ลำาดับของรายวิชา
ท 1 0 1 01-99
ค 2 1 2
ว 3 2
ส 3
พ 4
ศ 5
ง 6
9
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ใช้รหัสตัวอักษรตามรายการรหัสตัวอักษรกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ใช้ อ ภาษาญี่ปุ่น ใช้ ญ
ภาษาจีน ใช้ จ เป็นต้น
หลักที่ 1 เป็นรหัสตัวอักษรแสดงกลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ
ท หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ค หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ส หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม
พ หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ศ หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ง หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ให้ใช้รหัส
ของแต่ละภาษาตามรายการที่กำาหนด คือ ข หมายถึงภาษาเขมร จ
หมายถึงภาษาจีน ซ หมายถึงภาษารัสเซีย ญ หมายถึงภาษาญี่ปุ่น
ต หมายถึงภาษาเวียตนาม น หมายถึงภาษาลาติน บ หมายถึง
ภาษาบาลี ป หมายถึงภาษาสเปน ฝ หมายถึงภาษาฝรั่งเศส ม
หมายถึงภาษามลายู ย หมายถึงภาษาเยอรมัน ร หมายถึงภาษา
อาหรับ ล หมายถึงภาษาลาว อ หมายถึงภาษาอังกฤษ และ ฮ
หมายถึงภาษาฮินดู
กรณีที่สถานศึกษาได้จัดรายวิชาภาษาต่างประเทศอื่น ๆ
นอกเหนือจากที่กระทรวงกำาหนดไว้ ให้สถานศึกษาทำาเรื่องเสนอ
สพฐ. เพื่อกำาหนดรหัสตัวอักษรกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างประเทศ
เพิ่มเติม และประกาศให้สถานศึกษาทั่วประเทศได้รับทราบและใช้
ให้ตรงกัน
หลักที่ 2 เป็นรหัสตัวเลขแสดงระดับการศึกษา ได้แก่
1 หมายถึง รายวิชาระดับประถมศึกษา
2 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
3 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักที่ 3 เป็นรหัสตัวเลขแสดงปีที่เรียนของรายวิชา ได้แก่
0 หมายถึง รายวิชาไม่กำาหนดปีที่เรียน จะเรียนปีใดก็ได้ใน
ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
1 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 1 ของระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย(ป.1 ม.1 และ
ม.4)
10
random-150817064115-lva1-app6892.doc
2 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 2 ของระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย(ป.2 ม.2 และ
ม.5)
3 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 3 ของระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย(ป.3 ม.3 และ
ม.6)
4 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 4 ของระดับประถม
ศึกษา(ป.4)
5 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 5 ของระดับประถม
ศึกษา(ป.5)
6 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 6 ของระดับประถม
ศึกษา(ป.6)
หลักที่ 4 เป็นรหัสตัวเลขแสดงประเภทของรายวิชา ได้แก่
1 หมายถึง รายวิชาพื้นฐาน
2 หมายถึง รายวิชาเพิ่มเติม
หลักที่ 5 และหลักที่ 6 เป็นรหัสตัวเลขแสดงลำาดับของรายวิชา
แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในปี/ระดับการศึกษาเดียวกันมีจำานวน
ตั้งแต่ 01-99 สำาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ควรกำาหนดรหัสวิชาเป็นช่วง
ลำาดับ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
01-19 รายวิชาในกลุ่มฟิสิกส์
21-39 รายวิชาในกลุ่มเคมี
41-59 รายวิชาในกลุ่มชีววิทยา
61-79 รายวิชาในกลุ่มโลกและอวกาศ
81-99 รายวิชาในกลุ่มวิทยาศาสตร์อื่น ๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
01-19 รายวิชาในกลุ่มศาสนา
21-39 รายวิชาในกลุ่มหน้าที่พลเมือง
41-59 รายวิชาในกลุ่มเศรษฐศาสตร์
61-79 รายวิชาในกลุ่มประวัติศาสตร์
81-99 รายวิชาในกลุ่มภูมิศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
01-19 รายวิชาในกลุ่มการดำารงชีวิตและครอบครัว
21-39 รายวิชาในกลุ่มการออกแบบและเทคโนโลยี
11
random-150817064115-lva1-app6892.doc
41-59 รายวิชาในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
61-99 รายวิชาในกลุ่มการอาชีพ
3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับประถมศึกษา และ
มัธยมศึกษาตอนต้นจัดให้ผู้เรียนปีละ
120 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดให้ผู้เรียนปีละ 360
ชั่วโมง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน
(ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชา
ทหาร กิจกรรมชุมนุม ชมรม) และกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ ซึ่งกิจกรรมเพื่อสังคมฯ เป็นกิจกรรมตาม
ความสนใจของผู้เรียนที่จะทำาเพื่อบุคคลอื่น สังคม ชุมชน เพื่อ
พัฒนาจิตสาธารณ
ระดับประถมศึกษา รวม 6 ปี ให้ได้จำานวน 60 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(3 ปี) จำานวน 45 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(3 ปี) จำานวน 60 ชั่วโมง
จำานวนชั่วโมงของกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมฯ ที่กำาหนดใน
หลักสูตรแกนกลางฯ สถานศึกษาอาจจะจัดเป็นกิจกรรมสอดแทรก
ในรายวิชาต่าง ๆ(วิชาพื้นฐาน และวิชาเพิ่มเติม) หรือในกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน หรือจัดนอกเวลาก็ได้ โดยต้องมีหลักฐานการปฏิบัติ
กิจกรรมเพื่อสังคมของผู้เรียน ครบจำานวนชั่วโมงตามที่หลักสูตร
แกนกลางฯ กำาหนด ซึ่งสถานศึกษาจะจัดให้มีทุกปี หรือทุกภาค
เรียน หรือเป็นบางปี บางภาคเรียน ก็ได้ แต่ต้องมีจำานวนชั่วโมง
ครบตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด
การกำาหนดโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา สถาน
ศึกษาสามารถกำาหนดจำานวนชั่วโมงรวมทั้งหมด(วิชาพื้น
ฐาน วิชาเพิ่มเติม และกิจกรรม)มากกว่าที่หลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำาหนดไว้
ได้ตามความเหมาะสม และบริบทของสถานศึกษา โดย
ต้องหมายเหตุ แสดงรายวิชาที่จัดเกินจากที่หลักสูตรแก
นกลางฯ กำาหนดพร้อมให้เหตุผลไว้นอกกรอบหลักสูตรแก
นกลางฯ ด้วย
เมื่อสถานศึกษากำาหนดจำานวนชั่วโมงสำาหรับแต่ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางฯ เรียบร้อยแล้ว จึง
ประกาศให้คณะครูทุกคนได้ทราบ และเตรียมวางแผน การ
พัฒนาผู้เรียนต่อไป
12
random-150817064115-lva1-app6892.doc
การจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา มีแนวการดำาเนินการ ดังนี้
ในการจัดทำาคำาอธิบายรายวิชาทุกวิชา ทุกระดับชั้น ต้องนำา
เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนของหลักสูตรระดับท้องถิ่นที่กำาหนด
โดย สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามาจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
ด้วย เนื่องจาก สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีหน้าที่จะต้อง
ประเมินคุณภาพของผู้เรียนตามเป้าหมายของหลักสูตรระดับท้อง
ถิ่นด้วย ในการจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา มีแนวทางในการดำาเนิน
การ ดังนี้
1. ระดับประถมศึกษา
1.1 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน สอนระดับชั้น
เดียวกัน ร่วมกันศึกษาและ
วิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามที่
หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด แต่ละตัวชี้วัดว่า มีคำา หรือข้อความ
สำาคัญ(Key words)ใดที่เป็น “ความรู้(K)” “ทักษะ/
กระบวนการ(P)” และ “คุณลักษณะ(A)” (เป็นคุณลักษณะของ
รายวิชาที่ปรากฏตามตัวชี้วัด อาจจะไม่ตรงกับคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนดก็ได้) จัดแยกไว้เป็นส่วน ๆ
วิเคราะห์ให้ครบทุกตัวชี้วัดที่กำาหนดในรายวิชาโดยอาจจะใช้แบบ
ฟอร์มข้างล่าง
1.2 นำาข้อความที่วิเคราะห์ไว้(ด้านความรู้ ทักษะ/
กระบวนการ และคุณลักษณะ)
มาสังเคราะห์ หรือร้อยเรียงเขียนเป็นคำาอธิบายรายวิชา โดยอาจ
จะให้ข้อความทั้ง 3 ส่วนที่วิเคราะห์ไว้ผสมกลมกลืน หรือเขียน
แยกส่วนของความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะไว้คนละ
ย่อหน้าก็ได้ และย่อหน้าสุดท้ายของคำาอธิบายรายวิชา ต้องระบุ
ด้วยว่า วิชานี้มีตัวชี้วัดอะไรบ้าง โดยเขียนเป็นรหัสกำากับ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้ด้วย ดังนี้
ว 1.1 ป. 1/2
ป.1/2 หมายถึง ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ข้อที่ 2
1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
2.1 ครูที่สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน ระดับชั้น
เดียวกัน ศึกษาและวิเคราะห์
13
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ตัวชี้วัดชั้นปีตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด แล้วช่วยกันจัด
วางตัวชี้วัดไว้ในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ตัวชี้วัดที่จัดวาง
ในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 อาจจะซำ้ากัน หรือไม่ซำ้ากัน
ก็ได้ แล้วแต่ดุลพินิจของผู้สอน ซึ่งต้องคำานึงถึงเวลาที่ใช้สอนใน
แต่ละภาคเรียนด้วยว่ามีเพียงพอหรือไม่ และถ้านำาตัวชี้วัดใดไว้ใน
ภาคเรียนใด ในภาคเรียนนั้นต้องประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตามตัวชี้วัดนั้นด้วยทุกตัวชี้วัด
2.2 ครูผู้สอนวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี และสาระการ
เรียนรู้แกนกลางตามที่หลักสูตร
แกนกลางฯ กำาหนดสำาหรับภาคเรียนที่ 1 แต่ละตัวชี้วัดว่า มีคำา
หรือข้อความสำาคัญ(Key words)ใดที่เป็น “ความรู้(K)” “ทักษะ/
กระบวนการ(P)” และ “คุณลักษณะ(A)” (เป็นคุณลักษณะของ
รายวิชาที่ปรากฏตามตัวชี้วัด อาจจะไม่ตรงกับคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด ก็ได้) จัดแยกไว้เป็น
ส่วน ๆ ให้ครบทุกตัวชี้วัดของภาคเรียนนั้น โดยอาจจะใช้แบบ
ฟอร์มข้างล่าง
2.3 นำาข้อความที่วิเคราะห์ไว้(ด้านความรู้ ทักษะ/
กระบวนการ และคุณลักษณะ)
มาสังเคราะห์ หรือร้อยเรียงเขียนเป็นคำาอธิบายรายวิชา โดยอาจ
จะให้ข้อความทั้ง 3 ส่วนที่วิเคราะห์ไว้ผสมกลมกลืน หรือเขียน
แยกส่วนของความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะไว้คนละ
ย่อหน้าก็ได้ และย่อหน้าสุดท้ายของคำาอธิบายรายวิชา ต้องระบุ
ด้วยว่า วิชานี้มีตัวชี้วัดอะไรบ้าง โดยเขียนเป็นรหัสกำากับ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้ด้วย ดังนี้
ว 1.1 ม. 1/2
ม.1/2 หมายถึง ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ข้อที่ 2
1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องจากหลักสูตรแก
นกลางฯ กำาหนดตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น(ม.4-6) ทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ดังนั้น ครูผู้สอนควรดำาเนินการ ดังนี้
3.1 ครูที่สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน ระดับชั้น
เดียวกัน ศึกษาและวิเคราะห์
14
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ตัวชี้วัดช่วงชั้นตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด แล้วช่วยกันจัด
วางตัวชี้วัดไว้ในแต่ละระดับชั้น(ม.4, ม.5, และ ม.6) ในแต่ละ
ภาคเรียน(ภาคเรียนที่ 1-6) ตัวชี้วัดที่จัดวางในแต่ละภาคเรียน
อาจจะซำ้ากัน หรือไม่ซำ้ากันก็ได้ แล้วแต่ดุลพินิจของผู้สอน ซึ่งต้อง
คำานึงถึงเวลาที่ใช้สอนในแต่ละภาคเรียนด้วยว่ามีเพียงพอหรือไม่
และถ้านำาตัวชี้วัดใดไว้ในภาคเรียนใด ในภาคเรียนนั้นต้อง
ประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัดนั้นด้วยทุกตัว
ชี้วัด
3.2 ครูผู้สอนวิเคราะห์ตัวชี้วัดช่วงชั้น และสาระการ
เรียนรู้แกนกลางตามที่หลักสูตร
แกนกลางฯ กำาหนดสำาหรับแต่ละภาคเรียน พิจารณาว่า แต่ละตัวชี้
วัด มีคำา หรือข้อความสำาคัญ(Key words)ใดที่เป็น “ความรู้(K)”
“ทักษะ/กระบวนการ(P)” และ “คุณลักษณะ(A)” (เป็นคุณลักษณะ
ของรายวิชาที่ปรากฏตามตัวชี้วัด อาจจะไม่ตรงกับคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนดก็ได้) จัดแยกไว้เป็น
ส่วน ๆ ให้ครบทุกตัวชี้วัดของภาคเรียนนั้น โดยอาจจะใช้แบบ
ฟอร์มข้างล่าง
3.3 นำาข้อความที่วิเคราะห์ไว้(ด้านความรู้ ทักษะ/
กระบวนการ คุณลักษณะ) มา
สังเคราะห์ หรือร้อยเรียงเขียนเป็นคำาอธิบายรายวิชา โดยอาจจะ
ให้ข้อความทั้ง 3 ส่วนที่วิเคราะห์ไว้ผสมกลมกลืน หรือเขียนแยก
ส่วนของความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะไว้คนละ
ย่อหน้าก็ได้ และย่อหน้าสุดท้ายของคำาอธิบายรายวิชา ต้องระบุ
ด้วยว่า วิชานี้มีตัวชี้วัดอะไรบ้าง โดยเขียนเป็นรหัสกำากับ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้ด้วย ดังนี้
ว 1.1 ม. 4-6/1
ม.4-6/1 หมายถึง ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอน
ปลาย ข้อที่ 1
1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
แบบฟอร์มการเขียนคำาอธิบายรายวิชาอาจจะเป็น ดังนี้
การวิเคราะห์เพื่อจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียน
รู้............................วิชา.......................... ระดับ
ชั้น.............ภาคเรียนที่...............
15
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
ความรู้
ทักษะ /
กระบวนการ
คุณลักษณะฯ
ว 1.1 ป.1/
1 เปรียบเทียบสิ่ง
มีชีวิตและสิ่งไม่มี
ชีวิต
1.สิ่งมีชีวิต
2.สิ่งใม่มี
ชีวิต
1.การสังเกตและ
เปรียบเทียบสิ่งมี
ชีวิตและสิ่งไม่มี
ชีวิต
1.มีความ
สนใจสังเกต
สิ่งต่าง ๆ
ว 1.1 ป.1/
2 สังเกตและ
อธิบายลักษณะ
และหน้าที่ของ
โครงสร้าง
ภายนอกของพืช
และสัตว์
1.ลักษณะ
และหน้าที่
ของ
โครงสร้าง
ภายนอกของ
พืช
2.ลักษณะ
และหน้าที่
ของ
โครงสร้าง
ภายนอกของ
สัตว์
1.การสังเกต
ลักษณะและ
หน้าที่ของ
โครงสร้าง
ภายนอกของพืช
และสัตว์
1.มีความ
สนใจสังเกต
สิ่งต่าง ๆ
......................
..............
................
............
.....................
..................
.................
................
แบบฟอร์มการเขียนคำาอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้................................................
วิชา..............................................ชั้น.........เวลา
เรียน..........ชั่วโมง จำานวน.......หน่วยกิต
คำาอธิบายรายวิชา
.........................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.............................................................
16
random-150817064115-lva1-app6892.doc
.................................................................................
..........................................................................
.................................................................................
......................................................................... รหัส
ตัวชี้วัด
.........................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.............................................................
การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้
ในการจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ มีแนวการดำาเนินการ ดังนี้
1. จัดทำาโครงสร้างรายวิชา
2. กำาหนดเป้าหมายการจัดการเรียนรู้
3. กำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ตามเป้าหมายที่
กำาหนด(ออกแบบการประเมินผล
การเรียนรู้ และกำาหนดผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน)
4. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ความ
สามารถตามเป้าหมายที่กำาหนด(โดย
ตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้จาก “ ”หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้
การจัดทำาโครงสร้างรายวิชา
เมื่อได้รายวิชาลงโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา
เรียบร้อยแล้ว ครูผู้สอนจัดทำา
โครงสร้างรายวิชาโดยดำาเนินการ ดังนี้
1. กำาหนดชื่อหน่วยการเรียนรู้ โดยพิจารณาคำา/
ข้อความสำาคัญ(Key words) หรือเนื้อหา
ในตัวชี้วัดของรายวิชามาจัดกลุ่ม โดยนำาตัวชี้วัดที่มีเนื้อหาอยู่ใน
กลุ่มเดียวกัน หรือเป็นเรื่องเดียวกัน มารวมกันจัดเป็น 1 หน่วยการ
เรียนรู้ ซึ่งใน 1 รายวิชาจะมีหลายหน่วยฯ และแต่ละหน่วยฯ จะมี
ตัวชี้วัดซำ้าหรือไม่ซำ้ากันก็ได้ อยู่ในดุลพินิจของผู้สอน แต่เวลาที่
ใช้จัดการเรียนรู้รวมทั้งหมด ต้อง ไม่เกินจำานวนชั่วโมงที่กำาหนด
ในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา แล้วตั้งชื่อหน่วยให้น่าสนใจ
สำาหรับผู้เรียน
2. ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่นำามาจัดทำา
เป็นหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วย
การเรียนรู้ โดยเขียนรหัสมาตรฐาน ระดับชั้นและตัวชี้วัดที่นำามา
จัดทำาหน่วยฯ ทั้งหมด
17
random-150817064115-lva1-app6892.doc
3. กำาหนดสาระสำาคัญสำาหรับแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เป็น
ข้อความที่ระบุว่าผู้เรียนรู้อะไร
มีทักษะอะไร (อาจจะมีคุณลักษณะอย่างไรด้วย) และหน่วยนี้มี
คุณค่าต่อผู้เรียนอย่างไรในระยะสั้นและระยะยาวโดยร้อยเรียง
ข้อมูลของทุกตัวชี้วัด และเขียนเป็น Concept ภาพรวมของ
หน่วยฯ ที่ต้องการให้เป็นองค์ความรู้ เป็นความเข้าใจที่ฝังติดตัวผู้
เรียนไปเป็นเวลานาน และสามารถนำามาใช้ได้เมื่อต้องการ ซึ่งมีวิธี
เขียน 4 แนวทาง ได้แก่
3.1 เขียนลักษณะหลักเกณฑ์ หรือหลักการ เช่น
“พืชตอบสนองต่อแสง เสียง และ
การสัมผัส ”ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมภายนอก “การบวก คือการนำา
จำานวนตั้งแต่สองจำานวนขึ้นไปมารวมกัน จำานวนที่ได้จากการรวม
จำานวนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เรียกว่า ผลรวม หรือ ผลบวก และใช้
เครื่องหมาย + ”เป็นสัญลักษณ์แสดงการบวก
3.2 เขียนลักษณะความคิดรวบยอด เช่น “พืช
และสัตว์ต้องการอาหาร นำ้าและอากาศ
เพื่อการดำารงชีวิต ”และการเจริญเติบโต หรือเขียนแบบความ
เข้าใจที่คงทน “เช่น ความเข้าใจจำานวนนับ สัญลักษณ์ที่ใช้ใน
สมการ การบวกลบคูณหารจำานวนนับ และความเท่ากัน ทำาให้
สามารถแก้ปัญหาภายใต้ข้อจำากัดต่าง ๆ ”ในชีวิตประจำาวันได้
“การดำารงชีวิตท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงโดยประยุกต์ใช้แนวคิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำาให้ชีวิตมีความสุข”
3.3 เขียนลักษณะกระบวนการ(กรณีที่ภาพรวม
ของหน่วยฯ เน้นกระบวนการ) เช่น
หน่วยฯ นี้เน้นกระบวนการแก้ปัญหา เขียนสาระสำาคัญได้ คือ
“การวิเคราะห์สาเหตุ ของปัญหาอย่างกว้างขวางหลายมิติ กำาหนด
ทางเลือกในการแก้สาเหตุของปัญหาอย่างหลากหลาย เลือกทาง
เลือก ในการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม ดำาเนินการแก้ปัญหาตาม
ทางเลือกที่กำาหนด ประเมินและปรับปรุง การแก้ปัญหาอย่าง
รอบคอบเป็นระยะ ๆ ช่วยให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ”
3.4 เขียนลักษณะความสัมพันธ์ เช่น “วิธีการ
ดำารงชีวิตของมนุษย์ มีผลกระทบต่อ
ระบบนิเวศในสายนำ้า”
4. กำาหนดระยะเวลา(จำานวนชั่วโมง)สำาหรับแต่ละหน่วย
การเรียนรู้ รวมทุกหน่วยฯ แล้ว
18
random-150817064115-lva1-app6892.doc
มีจำานวนชั่วโมงเท่ากับจำานวนชั่วโมงของรายวิชา
5. กำาหนดนำ้าหนักคะแนนของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ตาม
ความสำาคัญของแต่ละหน่วยฯ
เพื่อการกำาหนดคะแนนสำาหรับการประเมินผลการเรียนรู้ของแต่ละ
หน่วยฯ ให้เหมาะสมตามความสำาคัญของแต่ละหน่วยฯ
การจัดทำาโครงสร้างรายวิชา อาจจะใช้แบบฟอร์มในการ
บันทึก ดังต่อไปนี้
การจัดทำาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา................................................ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้..........................................
ชั้น.................................. เวลา..............ชั่วโมง
จำานวน............หน่วยกิต ภาคเรียนที่.....................
ท
ีี
ี่
ชื่อหน่วยการ
เรียนรู้
มฐ. ตัวชี้
วัด
สาระสำาคัญ เวลา(
ชั่วโม
ง)
นำ้า
หนัก
คะแ
นน
รวมตลอดปี/ภาค
การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้
การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป็นหน่วยการเรียน
รู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายของหน่วยฯ ขั้น
ตอนนี้ เป็นขั้นตอนสำาคัญที่สุดของการใช้หลักสูตรสถานศึกษา
เป็นการนำามาตรฐานการเรียนรู้สู่การปฏิบัติในการจัดการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผู้เรียน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ สพฐ.แนะนำา คือ ออกแบบ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค Backward Design ซึ่งมี 3 ขั้น
ตอนใหญ่ ๆ ได้แก่
1. กำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้
19
random-150817064115-lva1-app6892.doc
2. กำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้า
หมายการเรียนรู้ที่กำาหนด
3. ออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้
ตามเป้าหมายที่กำาหนด
ขั้นที่ 1 กำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ จากที่เป็นหน่วย
การเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป้าหมาย
การเรียนรู้ของหน่วยฯ ได้แก่
ชื่อหน่วย....................................................
เป้าหมายการเรียนรู้
สาระสำาคัญ ........................(นำามาจากโครงสร้าง
รายวิชา).................................
ตัวชี้วัด...........(นำามาจากโครงสร้างรายวิชาเขียนรหัสและราย
ละเอียดของแต่ละตัวชี้วัด)..................
คุณลักษณะ...(นำามาจากตารางการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทำา
คำาอธิบายรายวิชา หรืออาจจะเลือกคุณลักษณะที่สำาคัญและเด่น
กำาหนดเป็นคุณลักษณะของหน่วยฯ)..................
ขั้นที่ 2 กำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้
เรียน เป็นการนำาเป้าหมายทุกเป้าหมาย(สาระสำาคัญ ตัวชี้วัดทุก
ตัวชี้วัด และคุณลักษณะ) มากำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้
ของผู้เรียน อาจจะใช้ตาราง ดังนี้
เป้าหมาย หลักฐานที่เป็นผลการเรียน
รุ้
สาระสำาคัญ
.......................................
............................
(ผลงาน/ชิ้นงาน/ภารเงาน)
.......................................
...................................
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ป.1/1.......................
.....................................
(ผลงาน/ชิ้นงาน/ภารเงาน)
.......................................
....................................
คุณลักษณะ
.......................................
....................................
(ผลงาน/ชิ้นงาน/ภารเงาน)
………………………………
………………..
การกำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ เป็นการประเมินผล
การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการออกแบบการประเมินผลการเรียนรู้
ให้เหมาะสม ซึ่งโดยทั่วไปได้กำาหนดเป็น 6 เทคนิคของการ
ประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี้
20
random-150817064115-lva1-app6892.doc
1. Selected Response หมายถึง ข้อสอบปรนัยเลือก
ตอบ จับคู่ ถูกผิด
2. Constructed Response หมายถึง ข้อสอบเติมคำา
หรือเติมข้อความ หรือเขียน Mind map
3. Essay หมายถึง เขียนบรรยาย เขียนเรียงความ เขียน
เล่าเรื่อง เขียนรายงาน
4. School Product/Performance หมายถึง การแสดง
หรือการปฏิบัติในสถานศึกษา เช่น โต้วาที พูดสนทนาภาษา
อังกฤษ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ อ่าน... แสดงบทบาท
สมมุติ(Role play)… ประกอบอาหาร.. สืบค้นข้อมูล......(โดยใช้
internet ในโรงเรียน)
5. Contextual Product/Performance หมายถึง การแสดง
ในสถานการณ์จริง หรือสภาพชีวิต
จริงนอกสถานศึกษา เช่น “สำารวจราคาพืชผักในตลาด สรุป และนำา
”เสนอผลการสำารวจ “สำารวจสินค้า OTOP สรุป และนำาเสนอผลการ
”สำารวจ “สัมภาษณ์ชาวต่างประเทศ แล้วเขียนรายงานส่ง หรือนำามา
”เล่าให้เพื่อนนักเรียนฟังในชั่วโมง
6. On-going Tools หมายถึง เป็นหลักฐานแสดงการ
เรียนรู้ของผู้เรียน ที่มีการประเมินผู้เรียนตลอดเวลา ทุกวัน เช่น ผู้
เรียนบันทึกพฤติกรรม........ หรือการสังเกตพฤติกรรม......ของผู้
เรียนตลอดเวลา ตั้งแต่ตื่น จนหลับนอนทุกวัน
ใน 1 เป้าหมายการเรียนรู้ อาจจะมีหลักฐาน(ผลงาน/ชิ้น
งาน/ภาระงาน)มากกว่า 1 อย่างก็ได้ เพื่อเป็นการยืนยัน สร้าง
ความมั่นใจให้กับครูผู้สอนว่า ผู้เรียนมีความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ
จริง และหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ 1 อย่าง อาจจะตอบได้
หลายเป้าหมายก็เป็นได้ ก็เขียนซำ้ากันหลายเป้าหมายได้ เนื่องจาก
เป็นหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจน
ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ แนวดำาเนินการ
ดังนี้
1. จัดลำาดับหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ โดยนำาหลักฐานที่
เป็นผลการเรียนรู้ทั้งหมด
ที่ระบุในในขั้นที่ 2 (หลักฐานที่ซำ้ากัน ให้นำามาจัดลำาดับครั้งเดียว)
ตามลำาดับที่ครูผู้สอนจะทำาการสอนผู้เรียน ให้เป็นลำาดับให้เหมาะ
สม
2. กำาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยนำาหลักฐานที่เป็น
ผลการเรียนรู้เป็นหลักในการ
21
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนทำาภาระกิจ หรือผลิตผล
งาน/ชิ้นงานได้ตามที่กำาหนดใน ขั้นที่ 2 ด้วยตัวของผู้เรียนเอง
โดยครูเป็นคนกำาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง
เข้าใจ แล้วทำางานได้บรรลุเป้าหมายการจัดการเรียนรู้ของหน่วยฯ
ที่กำาหนด โดยอาจจะออกแบบตารางบันทึก ดังนี้
หลักฐาน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
อุปกรณ์
ชั่วโ
มง
1................
.................
2................
................
กิจกรรมที่ 1(เขียน
กิจกรรมหลัก ๆ)
1................................
............................
2................................
............................
3................
................
กิจกรรมที่ 2
1................................
..............................
2................................
..............................
ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1 ชุดของกิจกรรม อาจจะ
สามารถทำาให้ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงาน/ ทำาภาระงานได้ตามหลัก
ฐานที่กำาหนดหลายหลักฐานก็ได้ หรือ 1 หลักฐาน ต่อ 1 ชุดของ
กิจกรรมก็ได้ อยู่ในดุลพินิจของผู้สอน และขณะออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ ครูควรออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาสมรรถนะ
5 สมรรถนะตามที่กำาหนดในหลักสูตรแกนกลางฯให้แก่ผู้เรียน
ด้วย
เมื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้ครบทุกหลักฐานแล้ว ให้
นำาข้อมูลทั้งหมดตั้งแต่เริ่มกำาหนดหน่วยฯ มาเขียนรายละเอียด
ลักษณะเดียวกับแผนการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่แนะนำา คือเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ใหญ่ 1 แผนฯ ต่อ 1
หน่วยการเรียนรู้ โดยในขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ให้แยกกิจกรรม 1
ช่วง(นำาเข้าสู่บทเรียน-สอน-สรุปประเมิน) ให้ตรงกับจำานวนชั่วโมง
ในตารางสอน โดยอาจจะให้มีองค์ประกอบ ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่...
กลุ่มสาระการเรียน
รู้....................................................................รายวิชา
..........................................
22
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ชั้น..........................ภาคเรียนที่.............................ปี
การศึกษา..........................................................
ชื่อหน่วยการเรียน
รู้................................................................................
.................เวลา.........ชั่วโมง
มาตรฐานการเรียนรู้
..........................................................................
...................................................................
ตัวชี้วัด
..........................................................................
..................................................................
สาระสำาคัญ
..........................................................................
....................................................................
สาระการเรียนรู้(วิเคราะห์จากตัวชี้วัดทั้งหมดของหน่วยฯ)
ความรู้
..........................................................................
.................................................................
ทักษะ/กระบวนการ
..........................................................................
..................................................................
คุณลักษณะ
..........................................................................
.................................................................
กิจกรรมการเรียนรู้
..........................................................................
................................................................
สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
..........................................................................
................................................................
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมาย หลักฐาน วิธีวัด เครื่องมือวัด
สาระสำาคัญ
..................
...............
..................
..................
..................
.................
..................
................
23
random-150817064115-lva1-app6892.doc
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ป.1/1 ..................
.................
..................
.................
..................
...............
ว 1.1 ป.1/2 ..................
................
..................
................
..................
...............
คุณลักษณะ
..................
.................
..................
................
..................
.................
..................
................
จากนี้ ครูผู้สอนต้องสร้างเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนตามที่กำาหนดข้างบนให้ครบ
การประเมินหน่วยการเรียนรู้
เมื่อครูผู้สอนออกแบบการจัดการเรียนรู้เรียบร้อยแล้ว ควร
ให้ผู้เชี่ยวชาญ(ครูสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน)อย่างน้อย
3 คน ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสมของหน่วยการ
จัดการเรียนรู้ที่จะนำาไปจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยอาจจะใช้
แบบประเมิน ดังนี้
แบบประเมินการจัดทำาหน่วยการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้................................................ชื่อหน่วยการ
จัดการเรียนรู้....................................
ชั้น............................เวลา..........................ครูผู้
สอน....................................................................
คำาชี้แจง โปรดทำาเครื่องหมาย ลงในชื่อที่ตรงกับความคิดเห็น
ของท่าน
4 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 3 หมายถึง เหมาะ
สมมาก
2 หมายถึง เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง เหมาะ
สมน้อยที่สุด
รายการ ความเหมาะ
สม
4 3 2 1
24
random-150817064115-lva1-app6892.doc
1.ชื่อหน่วยฯ กระทัดรัด ชัดเจน ครอบคลุม
เนื้อหาสาระ น่าสนใจ
2.มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดมีความเชื่อม
โยงกันอย่างเหมาะสม
3.ความสอดคล้องของสาระสำาคัญ กับมาตรฐาน
การเรียนรู้ และตัวชี้วัด
4.ความครอบคลุมของสาระสำาคัญกับตัวชี้วัด
ทั้งหมดของหน่วยฯ
5.ความเหมาะสมของจำานวนชั่วโมง
6.ความครบถ้วนของสาระการเรียนรู้กับตัวชี้วัด
7.ความครบถ้วนของทักษะ/กระบวนการกับตัวชี้
วัด
8.ความครบถ้วนของคุณลักษณะกับตัวชี้วัด
9.ความเหมาะสมของผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน
เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้ รวบยอดของ
หน่วยฯ
10.กิจกรรมการเรียนรู้ สามารถทำาให้ผู้เรียนมี
ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะ
ครบตามตัวชี้วัดของหน่วยฯ และเน้นสมรรถนะ
สำาคัญที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด
11.ความเหมาะสมของสื่อ อุปกรณ์ และแหล่ง
การเรียนรู้
12.ความเหมาะสมของวิธีการวัด และประเมินผล
การเรียนรู้
13.ความเหมาะสมของเครื่องมือวัด และประเมิน
ผลการเรียนรู้
14.ความเหมาะสมของเกณฑ์การวัด และ
ประเมินผลการเรียนรู้
15.หน่วยการเรียนรู้สามารถนำาไปจัดการเรียนรู้
ให้กับผู้เรียนได้จริง
รวมคะแนน/สรุปผลการประเมิน
หรือ คะแนนเฉลี่ย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของหน่วยการเรียนรู้
25
random-150817064115-lva1-app6892.doc
กรณีใช้คะแนนรวม
คะแนน 15-30 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 31-40
หมายถึง พอใช้
คะแนน 41-50 หมายถึง ดี คะแนน 51-60
หมายถึง ดีมาก
กรณีใช้คะแนนเฉลี่ย
คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.75 หมายถึง ปรับปรุง
คะแนนเฉลี่ย 1.76-2.50 หมายถึง พอใช้
คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.25 หมายถึง ดี คะแนน
เฉลี่ย 3.26-4.00 หมายถึง ดีมาก
เมื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบมีคุณภาพผ่านเกณฑ์การ
ประเมินแล้ว ครูผู้สอนจึงนำาไปจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้
เรียนมีความรู้ความสามารถตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำาหนด
และมีคุณภาพตามที่ สพท.ได้มุ่งหมายไว้
.................................................................................
.....................
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551.
กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด
26

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตyaowarat Lertpipatkul
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1วีระยศ เพชรภักดี
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 

Mais procurados (20)

พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 

Semelhante a การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 

Semelhante a การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (20)

การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 

Mais de คน ขี้เล่า

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยคน ขี้เล่า
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนคน ขี้เล่า
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน คน ขี้เล่า
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนคน ขี้เล่า
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาคน ขี้เล่า
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2คน ขี้เล่า
 
30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _คน ขี้เล่า
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1คน ขี้เล่า
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆคน ขี้เล่า
 
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐเตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐคน ขี้เล่า
 

Mais de คน ขี้เล่า (20)

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
 
พรบ การศึกษา
พรบ การศึกษาพรบ การศึกษา
พรบ การศึกษา
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3
 
ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2
 
30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐเตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
 

การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

  • 1. random-150817064115-lva1-app6892.doc การใช้หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สำานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 293/2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 กำาหนดให้ สถานศึกษา ในสังกัด จัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) 1. โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรและโรงเรียนที่มีความ พร้อมตามรายชื่อที่กระทรวง ศึกษาธิการประกาศ ใช้หลักสูตรฯ ดังนี้ 1.1 ปีการศึกษา 2552 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 1.2 ปีการศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 1.3 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป ให้ใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกชั้นเรียน 2. โรงเรียนทั่วไป ให้ใช้หลักสูตรฯ ดังนี้ 2.1 ปีการศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 2.2 ปีการศึกษา 2554 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 2.3 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป ให้ใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกชั้นเรียน สถานศึกษา ที่ต้องใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน พุทธศักราช 2551 ตามกำาหนดเวลาดังกล่าว ควรศึกษา เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรแกนกลางฯ และเตรียมการจัดทำา สิ่งต่าง ๆ ให้พร้อมก่อนที่จะถึงกำาหนดเวลาตามคำาสั่งของกระทรวง 1
  • 2. random-150817064115-lva1-app6892.doc ศึกษาธิการดังกล่าวแล้ว เอกสารเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางฯ สถานศึกษา สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.curriculum51.net และกระทรวงศึกษาธิการจะทะยอยส่งเอกสารเป็นรูปเล่มให้สถาน ศึกษาที่ต้องใช้หลักสูตรแกนกลางฯ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 ตั้งแต่เดือนมกราคม เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ มีดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียน รู้.............ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จำานวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๆ ละ 1 เล่ม เอกสารประกอบหลักสูตรฯ แกนกลาง มี 3 เล่ม ดังนี้ 1. แนวทางการบริหารหลักสูตร 2. แนวทางการจัดการเรียนรู้ 3. แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ นอกจากนี้ สถานศึกษา ที่สนใจสามารถขอยืมได้จากผู้ที่ได้ รับการอบรมเป็นวิทยากร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุก เขตพื้นที่การศึกษา ผู้ผ่านการอบรมอย่างน้อยเป็นศึกษานิเทศก์ จำานวน 7 คน และครูโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรฯ จำานวน 3 คน เมื่อได้เอกสารแล้ว ฝ่ายวิชาการและคณะครูของสถานศึกษา ควรศึกษารายละเอียดในเอกสารให้เข้าใจ โดยเฉพาะ หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำาหนด “ ”วิสัยทัศน์ “ ”หลักการ “ ”จุดหมาย “ ”สมรรถนะสำาคัญ “ ”คุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มาตรฐานการเรียนรู้(รวมทั้งตัวชี้ วัด)” “ ”กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน “ ”โครงสร้างเวลาเรียน และศึกษา เอกสาร แนวทางการบริหารหลักสูตร อย่างละเอียดจะทำาให้ ทราบว่าสถานศึกษาจะต้องดำาเนินการใช้หลักสูตรฯ อย่างไร เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ จะให้แนวการจัดการเรียนรู้ที่มี มาตรฐานเป็นเป้าหมาย สื่อการจัดการเรียนรู้ การจัดทำาคำาอธิบาย รายวิชา การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ส่วนเอกสารแนวปฏิบัติการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ แนะนำาการบริหารจัดการงานวัดผลของ สถานศึกษา การจัดทำาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ 2
  • 3. random-150817064115-lva1-app6892.doc เรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน ตลอดจนเอกสารหลักฐานการศึกษาที่ต้องใช้ การจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แบ่งการ ศึกษาเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1. ระดับประถมศึกษา(ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6) เป็นระดับ การศึกษาที่มุ่งเน้นทักษะ พื้นฐานด้านการอ่านการเขียน การคิดคำานวณ การคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความ เป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้ง ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้น จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) เป็น ระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนได้สำารวจความถนัด และความสนใจของตนเอง ส่งเสริม การพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดอย่างมี วิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำารง ชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการ เรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจน ใช้เป็นพื้นฐาน ในการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อ 3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6) เป็น ระดับการศึกษาที่มุ่งเน้น การเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งด้านวิชาการ และวิชาชีพ มีทักษะ มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนำาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนา ตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้นำา และผู้ให้ บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ กรอบภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีดังนี้ 3
  • 5. random-150817064115-lva1-app6892.doc คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่ อย่างพอ เพียง 6. มุ่งมั่นในการ ทำางาน 7. รักความเป็น ไทย 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำาคัญของผู้ เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ ปัญหา ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็น คุณค่าของตนเอง มีวินัยและ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถือ ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้อันเป็นสากล และมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพ จิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออก กำาลังกาย 4. มีความรักชาติ มี จิตสำานึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำานึกในการ อนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ง แวดล้อม มีจิต สาธารณะที่มุ่งทำาประโยชน์และ สร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วม กันในสังคมอย่างมีความสุข กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ๑.กิจกรรม แนะแนว ๒.กิจกรรม นักเรียน ๓. กิจกรรมเพื่อ สังคมและ สาธารณประโย ชน์ ที่มีความสมดุลทั้งด้าน ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำานึก ในความเป็นพลเมือง ไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครอง ตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระ มหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข มีความรู้และ ทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำาเป็นต่อการ ศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพและการศึกษา ตลอดชีวิต โดยมุ่ง เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ บนพื้นฐานความเชื่อ ว่า ทุกคนสามารถ เรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้เต็มตาม ศักยภาพ 5 มาตรฐานการ เรียนรู้และตัว ชี้วัด 8 กลุ่ม สาระการเรียน รู้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและ พลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงาน คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 6. random-150817064115-lva1-app6892.doc แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ได้กำาหนด องค์ความรู้ ทักษะสำาคัญและคุณลักษณะที่สำาคัญ ที่เป็นจุดเน้นใน การพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ 6 เทคโนโลยี 8. ภาษาต่าง ประเทศ องค์ความรู้ ทักษะ สำาคัญ และคุณลักษณะ ในหลักสูตรแกน กลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ : การนำาความรู้ และกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และ แก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ การคิดอย่างเป็น เหตุเป็นผล คิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และ จิตวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันในสังคม ไทยและสังคมโลกอย่าง สันติสุข การเป็น พลเมืองดี ศรัทธาใน หลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของ ทรัพยากรและสิ่ง แวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจในความเป็น ไทย ศิลปะ : ความรู้ และทักษะในการ คิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์งาน ศิลปะ สุนทรียภาพและ การเห็นคุณค่าทาง ศิลปะ ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ และวัฒนธรรมการ ใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่า ภูมิปัญญา ไทย และ ภูมิใจในภาษาประจำา ชาติภาษาต่างประเทศ : ความรู้ทักษะ เจตคติ และ วัฒนธรรม การใช้ ภาษา ต่างประเทศใน การสื่อสาร การ แสวงหาความรู้ และการประกอบ อาชีพการงานอาชีพและ เทคโนโลยี : ความรู้ ทักษะ และ เจตคติในการทำางาน การจัดการ การดำารงชีวิต การ ประกอบอาชีพ และ การใช้เทคโนโลยี สุขศึกษาและ พลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติใน การสร้างเสริมสุขภาพ พลานามัยของตนเอง และผู้อื่น การป้องกัน และปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ อย่างถูกวิธีและทักษะ ในการดำาเนิน ชีวิต คณิตศาสตร์ : การนำาความรู้ทักษะ และกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปใช้ใน การแก้ปัญหา การ ดำาเนินชีวิต และศึกษา ต่อ การมีเหตุมี ผล มีเจตคติที่ดีต่อ คณิตศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็น ระบบและสร้างสรรค์
  • 7. random-150817064115-lva1-app6892.doc การจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน หลักสูตรสถานศึกษาก็เช่นเดียวกัน เป็น หลักสูตรอิงมาตรฐาน กระบวนการจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษาจึง เริ่มจากการศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้หลักสูตรแกนกลางฯ ศึกษาเป้าหมายในการพัฒนาคนใน ระดับท้องถิ่น ที่กำาหนดโดยสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แล้วจึง นำาข้อมูลดังกล่าว มาจัดทำาเป็นหลักสูตรสถานศึกษา การดำาเนินงานของสถานศึกษาในการใช้ หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีดังนี้ การเตรียมการ 1. จัดทำาโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา 2. ครูผู้สอนจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา 3. ครูผู้สอนจัดทำาโครงสร้างรายวิชา 4. ครูผู้สอนจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ และสร้างเครื่องมือวัดผล การเรียนรู้ของผู้เรียน 5. จัดทำาระเบียบการวัดและประเมินผล การดำาเนินการพัฒนาผู้เรียน 6. ครูสอนตามหน่วยฯ และแผนการจัดการเรียนรู้ 7. ครูประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดชั้นปี/ช่วงชั้น 8. สถานศึกษา ตรวจสอบจำานวนหน่วยกิตที่ผู้เรียนเรียนกับ เกณฑ์การจบหลักสูตรฯ 7 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(มาตรฐานการเรียนรู้-โครงสร้างหลักสูตรฯ -กิจกรรมพัฒนาผู้ เรียน-คุณลักษณะอันพึงประสงค์-สมรรถนะสำาคัญ-การประเมินผล หลักสูตรระดับท้องถิ่น(เป้าหมายระดับท้อง ถิ่น กำาหนดโดย สพท.) หลักสูตรสถานศึกษา •วิสัยทัศน์ •คุณลักษณะอันพึงประสงค์ •สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน •โครงสร้างหลักสูตร •คำาอธิบายรายวิชา •เกณฑ์การวัดผลการเรียนรู้ และ การจบหลักสูตร กรรมการสถานศึกษาฯ ให้ความเห็นชอบ นำาไป ใช้
  • 8. random-150817064115-lva1-app6892.doc 9. สถานศึกษาออกหลักฐานการศึกษาให้กับผู้เรียน ต่อไปนี้จะขยายรายละเอียดในส่วนที่จำาเป็น สำาหรับการใช้ หลักสูตรแกนกลางฯ ที่สถานศึกษา และครูผู้สอนควรทราบ ดังนั้น รายการที่ 5 และ รายการที่ 6-9 จึงจะไม่แสดงรายละเอียด เนื่องจากผู้รับผิดชอบมี ความรู้ ความเข้าใจเป็นอย่างดีแล้ว และศึกษาได้จากเอกสารดัง กล่าวข้างต้น การจัดทำาโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา ในการจัดทำาโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพิจารณา ข้อมูลจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป้าหมาย/จุดมุ่งหมายในการพัฒนาผู้เรียน ระดับท้อง ถิ่น(หลักสูตรระดับท้องถิ่น) แล้วจึงดำาเนินการจัดทำาโครงสร้าง หลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้(สำาหรับความเป็นท้องถิ่น สถานศึกษา สามารถสอดแทรกในวิชาพื้นฐาน สอดแทรกหรือจัดทำาเป็น รายวิชาในวิชาเพิ่มเติม และสามารถสอดแทรกในกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน) 1. รายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้องให้ จำานวนหน่วยกิต/ชั่วโมงตามตามที่ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำาหนด การให้ชื่อวิชาในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับ ประถมศึกษาให้ชื่อวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ให้ชื่อวิชาตามกลุ่มสาระ การเรียนรู้ หรือให้ชื่อตามเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น(โครงสร้าง เวลาเรียนกำาหนดในเอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ หน้า 20) ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ สามารถจัดแยกได้มากกว่า 1 รายวิชา(1 รายวิชาต้องมีหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 0.5 หน่วยกิต) แต่รวมจำานวนชั่วโมงของกลุ่มสาระฯ แล้วต้องไม่เกินจำานวนชั่วโมงที่กำาหนดในโครงสร้างเวลาเรียน ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่กำาหนดโดยหลักสูตรแกนกลางฯ การจัดรายวิชา จัดโดย นำาตัวชี้วัดที่กำาหนดใน หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาจัดวางในแต่ละปี(ระดับประถมศึกษา) หรือ ภาคเรียน(ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย) ให้เป็นลำาดับที่ เหมาะสมกับการรับรู้ของผู้เรียน สำาหรับระดับชั้นมัธยมศึกษา ต้อนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้ในโครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรสถานศึกษา 8
  • 9. random-150817064115-lva1-app6892.doc สามารถแยกมากกว่า 1 รายวิชาได้ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา อาจจะแยกเป็น 2 รายวิชา เป็นวิชา สุขศึกษา และวิชาพลศึกษา วิชการงานอาชีพและเทคโนโลยี อาจ จะแยกเป็น 2 รายวิชา คือ วิชาคอมพิวเตอร์ และวิชาการงานและ อาชีพ เป็นต้น แต่จำานวน หน่วยกิต หรือจำานวน ชั่วโมง/ปีของ 2 รายวิชารวมกันแล้ว ต้องไม่เกินจำานวน ชั่วโมงในโครงสร้างเวลาเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น ที่กำาหนดในหลักสูตรแกนกลางฯ 2. รายวิชาเพิ่มเติม 2.1 ระดับประถมศึกษา จัดรายวิชาปีละไม่เกิน 80 ชั่วโมง และมัธยมศึกษาต้อนต้น จัด รายวิชาปีละไม่เกิน 240 ชั่วโมง ให้ชื่อวิชาที่สอดคล้องกับเนื้อหา สาระของรายวิชา 2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดรายวิชาปีละไม่น้อย กว่า 1,680 ชั่วโมง ให้ชื่อวิชาที่ สอดคล้องกับเนื้อหาสาระของรายวิชา รายวิชาเพิ่มเติม ผู้สอนต้องกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ที่ เรียกว่า “ ”ผลการเรียนรู้ เองให้ ชัดเจน เนื่องจากไม่มีตัวชี้วัดรายปี/รายช่วงชั้น และให้ใช้คำาว่า “ ”ผลการเรียนรู้ เท่านั้น ไม่ใช้ คำาว่า ผลการเรียนรู้ที่คาด หวัง การกำาหนดรหัสวิชา มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 4 หลักที่ 5 หลักที่ 6 กลุ่มสาระฯ ระดับ ปีในระดับการศึกษา ประเภท ของรายวิชา ลำาดับของรายวิชา ท 1 0 1 01-99 ค 2 1 2 ว 3 2 ส 3 พ 4 ศ 5 ง 6 9
  • 10. random-150817064115-lva1-app6892.doc ใช้รหัสตัวอักษรตามรายการรหัสตัวอักษรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ใช้ อ ภาษาญี่ปุ่น ใช้ ญ ภาษาจีน ใช้ จ เป็นต้น หลักที่ 1 เป็นรหัสตัวอักษรแสดงกลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ท หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ค หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม พ หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ศ หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ง หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ให้ใช้รหัส ของแต่ละภาษาตามรายการที่กำาหนด คือ ข หมายถึงภาษาเขมร จ หมายถึงภาษาจีน ซ หมายถึงภาษารัสเซีย ญ หมายถึงภาษาญี่ปุ่น ต หมายถึงภาษาเวียตนาม น หมายถึงภาษาลาติน บ หมายถึง ภาษาบาลี ป หมายถึงภาษาสเปน ฝ หมายถึงภาษาฝรั่งเศส ม หมายถึงภาษามลายู ย หมายถึงภาษาเยอรมัน ร หมายถึงภาษา อาหรับ ล หมายถึงภาษาลาว อ หมายถึงภาษาอังกฤษ และ ฮ หมายถึงภาษาฮินดู กรณีที่สถานศึกษาได้จัดรายวิชาภาษาต่างประเทศอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กระทรวงกำาหนดไว้ ให้สถานศึกษาทำาเรื่องเสนอ สพฐ. เพื่อกำาหนดรหัสตัวอักษรกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างประเทศ เพิ่มเติม และประกาศให้สถานศึกษาทั่วประเทศได้รับทราบและใช้ ให้ตรงกัน หลักที่ 2 เป็นรหัสตัวเลขแสดงระดับการศึกษา ได้แก่ 1 หมายถึง รายวิชาระดับประถมศึกษา 2 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักที่ 3 เป็นรหัสตัวเลขแสดงปีที่เรียนของรายวิชา ได้แก่ 0 หมายถึง รายวิชาไม่กำาหนดปีที่เรียน จะเรียนปีใดก็ได้ใน ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย 1 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 1 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย(ป.1 ม.1 และ ม.4) 10
  • 11. random-150817064115-lva1-app6892.doc 2 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 2 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย(ป.2 ม.2 และ ม.5) 3 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 3 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย(ป.3 ม.3 และ ม.6) 4 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 4 ของระดับประถม ศึกษา(ป.4) 5 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 5 ของระดับประถม ศึกษา(ป.5) 6 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปีที่ 6 ของระดับประถม ศึกษา(ป.6) หลักที่ 4 เป็นรหัสตัวเลขแสดงประเภทของรายวิชา ได้แก่ 1 หมายถึง รายวิชาพื้นฐาน 2 หมายถึง รายวิชาเพิ่มเติม หลักที่ 5 และหลักที่ 6 เป็นรหัสตัวเลขแสดงลำาดับของรายวิชา แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในปี/ระดับการศึกษาเดียวกันมีจำานวน ตั้งแต่ 01-99 สำาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ควรกำาหนดรหัสวิชาเป็นช่วง ลำาดับ ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 01-19 รายวิชาในกลุ่มฟิสิกส์ 21-39 รายวิชาในกลุ่มเคมี 41-59 รายวิชาในกลุ่มชีววิทยา 61-79 รายวิชาในกลุ่มโลกและอวกาศ 81-99 รายวิชาในกลุ่มวิทยาศาสตร์อื่น ๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 01-19 รายวิชาในกลุ่มศาสนา 21-39 รายวิชาในกลุ่มหน้าที่พลเมือง 41-59 รายวิชาในกลุ่มเศรษฐศาสตร์ 61-79 รายวิชาในกลุ่มประวัติศาสตร์ 81-99 รายวิชาในกลุ่มภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 01-19 รายวิชาในกลุ่มการดำารงชีวิตและครอบครัว 21-39 รายวิชาในกลุ่มการออกแบบและเทคโนโลยี 11
  • 12. random-150817064115-lva1-app6892.doc 41-59 รายวิชาในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 61-99 รายวิชาในกลุ่มการอาชีพ 3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับประถมศึกษา และ มัธยมศึกษาตอนต้นจัดให้ผู้เรียนปีละ 120 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดให้ผู้เรียนปีละ 360 ชั่วโมง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน (ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชา ทหาร กิจกรรมชุมนุม ชมรม) และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ซึ่งกิจกรรมเพื่อสังคมฯ เป็นกิจกรรมตาม ความสนใจของผู้เรียนที่จะทำาเพื่อบุคคลอื่น สังคม ชุมชน เพื่อ พัฒนาจิตสาธารณ ระดับประถมศึกษา รวม 6 ปี ให้ได้จำานวน 60 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(3 ปี) จำานวน 45 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(3 ปี) จำานวน 60 ชั่วโมง จำานวนชั่วโมงของกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมฯ ที่กำาหนดใน หลักสูตรแกนกลางฯ สถานศึกษาอาจจะจัดเป็นกิจกรรมสอดแทรก ในรายวิชาต่าง ๆ(วิชาพื้นฐาน และวิชาเพิ่มเติม) หรือในกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน หรือจัดนอกเวลาก็ได้ โดยต้องมีหลักฐานการปฏิบัติ กิจกรรมเพื่อสังคมของผู้เรียน ครบจำานวนชั่วโมงตามที่หลักสูตร แกนกลางฯ กำาหนด ซึ่งสถานศึกษาจะจัดให้มีทุกปี หรือทุกภาค เรียน หรือเป็นบางปี บางภาคเรียน ก็ได้ แต่ต้องมีจำานวนชั่วโมง ครบตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด การกำาหนดโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา สถาน ศึกษาสามารถกำาหนดจำานวนชั่วโมงรวมทั้งหมด(วิชาพื้น ฐาน วิชาเพิ่มเติม และกิจกรรม)มากกว่าที่หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำาหนดไว้ ได้ตามความเหมาะสม และบริบทของสถานศึกษา โดย ต้องหมายเหตุ แสดงรายวิชาที่จัดเกินจากที่หลักสูตรแก นกลางฯ กำาหนดพร้อมให้เหตุผลไว้นอกกรอบหลักสูตรแก นกลางฯ ด้วย เมื่อสถานศึกษากำาหนดจำานวนชั่วโมงสำาหรับแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางฯ เรียบร้อยแล้ว จึง ประกาศให้คณะครูทุกคนได้ทราบ และเตรียมวางแผน การ พัฒนาผู้เรียนต่อไป 12
  • 13. random-150817064115-lva1-app6892.doc การจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา มีแนวการดำาเนินการ ดังนี้ ในการจัดทำาคำาอธิบายรายวิชาทุกวิชา ทุกระดับชั้น ต้องนำา เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนของหลักสูตรระดับท้องถิ่นที่กำาหนด โดย สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามาจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ด้วย เนื่องจาก สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีหน้าที่จะต้อง ประเมินคุณภาพของผู้เรียนตามเป้าหมายของหลักสูตรระดับท้อง ถิ่นด้วย ในการจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา มีแนวทางในการดำาเนิน การ ดังนี้ 1. ระดับประถมศึกษา 1.1 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน สอนระดับชั้น เดียวกัน ร่วมกันศึกษาและ วิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามที่ หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด แต่ละตัวชี้วัดว่า มีคำา หรือข้อความ สำาคัญ(Key words)ใดที่เป็น “ความรู้(K)” “ทักษะ/ กระบวนการ(P)” และ “คุณลักษณะ(A)” (เป็นคุณลักษณะของ รายวิชาที่ปรากฏตามตัวชี้วัด อาจจะไม่ตรงกับคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนดก็ได้) จัดแยกไว้เป็นส่วน ๆ วิเคราะห์ให้ครบทุกตัวชี้วัดที่กำาหนดในรายวิชาโดยอาจจะใช้แบบ ฟอร์มข้างล่าง 1.2 นำาข้อความที่วิเคราะห์ไว้(ด้านความรู้ ทักษะ/ กระบวนการ และคุณลักษณะ) มาสังเคราะห์ หรือร้อยเรียงเขียนเป็นคำาอธิบายรายวิชา โดยอาจ จะให้ข้อความทั้ง 3 ส่วนที่วิเคราะห์ไว้ผสมกลมกลืน หรือเขียน แยกส่วนของความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะไว้คนละ ย่อหน้าก็ได้ และย่อหน้าสุดท้ายของคำาอธิบายรายวิชา ต้องระบุ ด้วยว่า วิชานี้มีตัวชี้วัดอะไรบ้าง โดยเขียนเป็นรหัสกำากับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้ด้วย ดังนี้ ว 1.1 ป. 1/2 ป.1/2 หมายถึง ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2.1 ครูที่สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน ระดับชั้น เดียวกัน ศึกษาและวิเคราะห์ 13
  • 14. random-150817064115-lva1-app6892.doc ตัวชี้วัดชั้นปีตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด แล้วช่วยกันจัด วางตัวชี้วัดไว้ในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ตัวชี้วัดที่จัดวาง ในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 อาจจะซำ้ากัน หรือไม่ซำ้ากัน ก็ได้ แล้วแต่ดุลพินิจของผู้สอน ซึ่งต้องคำานึงถึงเวลาที่ใช้สอนใน แต่ละภาคเรียนด้วยว่ามีเพียงพอหรือไม่ และถ้านำาตัวชี้วัดใดไว้ใน ภาคเรียนใด ในภาคเรียนนั้นต้องประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามตัวชี้วัดนั้นด้วยทุกตัวชี้วัด 2.2 ครูผู้สอนวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี และสาระการ เรียนรู้แกนกลางตามที่หลักสูตร แกนกลางฯ กำาหนดสำาหรับภาคเรียนที่ 1 แต่ละตัวชี้วัดว่า มีคำา หรือข้อความสำาคัญ(Key words)ใดที่เป็น “ความรู้(K)” “ทักษะ/ กระบวนการ(P)” และ “คุณลักษณะ(A)” (เป็นคุณลักษณะของ รายวิชาที่ปรากฏตามตัวชี้วัด อาจจะไม่ตรงกับคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด ก็ได้) จัดแยกไว้เป็น ส่วน ๆ ให้ครบทุกตัวชี้วัดของภาคเรียนนั้น โดยอาจจะใช้แบบ ฟอร์มข้างล่าง 2.3 นำาข้อความที่วิเคราะห์ไว้(ด้านความรู้ ทักษะ/ กระบวนการ และคุณลักษณะ) มาสังเคราะห์ หรือร้อยเรียงเขียนเป็นคำาอธิบายรายวิชา โดยอาจ จะให้ข้อความทั้ง 3 ส่วนที่วิเคราะห์ไว้ผสมกลมกลืน หรือเขียน แยกส่วนของความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะไว้คนละ ย่อหน้าก็ได้ และย่อหน้าสุดท้ายของคำาอธิบายรายวิชา ต้องระบุ ด้วยว่า วิชานี้มีตัวชี้วัดอะไรบ้าง โดยเขียนเป็นรหัสกำากับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้ด้วย ดังนี้ ว 1.1 ม. 1/2 ม.1/2 หมายถึง ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องจากหลักสูตรแก นกลางฯ กำาหนดตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น(ม.4-6) ทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ดังนั้น ครูผู้สอนควรดำาเนินการ ดังนี้ 3.1 ครูที่สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน ระดับชั้น เดียวกัน ศึกษาและวิเคราะห์ 14
  • 15. random-150817064115-lva1-app6892.doc ตัวชี้วัดช่วงชั้นตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด แล้วช่วยกันจัด วางตัวชี้วัดไว้ในแต่ละระดับชั้น(ม.4, ม.5, และ ม.6) ในแต่ละ ภาคเรียน(ภาคเรียนที่ 1-6) ตัวชี้วัดที่จัดวางในแต่ละภาคเรียน อาจจะซำ้ากัน หรือไม่ซำ้ากันก็ได้ แล้วแต่ดุลพินิจของผู้สอน ซึ่งต้อง คำานึงถึงเวลาที่ใช้สอนในแต่ละภาคเรียนด้วยว่ามีเพียงพอหรือไม่ และถ้านำาตัวชี้วัดใดไว้ในภาคเรียนใด ในภาคเรียนนั้นต้อง ประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัดนั้นด้วยทุกตัว ชี้วัด 3.2 ครูผู้สอนวิเคราะห์ตัวชี้วัดช่วงชั้น และสาระการ เรียนรู้แกนกลางตามที่หลักสูตร แกนกลางฯ กำาหนดสำาหรับแต่ละภาคเรียน พิจารณาว่า แต่ละตัวชี้ วัด มีคำา หรือข้อความสำาคัญ(Key words)ใดที่เป็น “ความรู้(K)” “ทักษะ/กระบวนการ(P)” และ “คุณลักษณะ(A)” (เป็นคุณลักษณะ ของรายวิชาที่ปรากฏตามตัวชี้วัด อาจจะไม่ตรงกับคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนดก็ได้) จัดแยกไว้เป็น ส่วน ๆ ให้ครบทุกตัวชี้วัดของภาคเรียนนั้น โดยอาจจะใช้แบบ ฟอร์มข้างล่าง 3.3 นำาข้อความที่วิเคราะห์ไว้(ด้านความรู้ ทักษะ/ กระบวนการ คุณลักษณะ) มา สังเคราะห์ หรือร้อยเรียงเขียนเป็นคำาอธิบายรายวิชา โดยอาจจะ ให้ข้อความทั้ง 3 ส่วนที่วิเคราะห์ไว้ผสมกลมกลืน หรือเขียนแยก ส่วนของความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะไว้คนละ ย่อหน้าก็ได้ และย่อหน้าสุดท้ายของคำาอธิบายรายวิชา ต้องระบุ ด้วยว่า วิชานี้มีตัวชี้วัดอะไรบ้าง โดยเขียนเป็นรหัสกำากับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้ด้วย ดังนี้ ว 1.1 ม. 4-6/1 ม.4-6/1 หมายถึง ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย ข้อที่ 1 1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ แบบฟอร์มการเขียนคำาอธิบายรายวิชาอาจจะเป็น ดังนี้ การวิเคราะห์เพื่อจัดทำาคำาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียน รู้............................วิชา.......................... ระดับ ชั้น.............ภาคเรียนที่............... 15
  • 16. random-150817064115-lva1-app6892.doc ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คุณลักษณะฯ ว 1.1 ป.1/ 1 เปรียบเทียบสิ่ง มีชีวิตและสิ่งไม่มี ชีวิต 1.สิ่งมีชีวิต 2.สิ่งใม่มี ชีวิต 1.การสังเกตและ เปรียบเทียบสิ่งมี ชีวิตและสิ่งไม่มี ชีวิต 1.มีความ สนใจสังเกต สิ่งต่าง ๆ ว 1.1 ป.1/ 2 สังเกตและ อธิบายลักษณะ และหน้าที่ของ โครงสร้าง ภายนอกของพืช และสัตว์ 1.ลักษณะ และหน้าที่ ของ โครงสร้าง ภายนอกของ พืช 2.ลักษณะ และหน้าที่ ของ โครงสร้าง ภายนอกของ สัตว์ 1.การสังเกต ลักษณะและ หน้าที่ของ โครงสร้าง ภายนอกของพืช และสัตว์ 1.มีความ สนใจสังเกต สิ่งต่าง ๆ ...................... .............. ................ ............ ..................... .................. ................. ................ แบบฟอร์มการเขียนคำาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้................................................ วิชา..............................................ชั้น.........เวลา เรียน..........ชั่วโมง จำานวน.......หน่วยกิต คำาอธิบายรายวิชา ......................................................................... ................................................................................. ................................................................................. ............................................................. 16
  • 17. random-150817064115-lva1-app6892.doc ................................................................................. .......................................................................... ................................................................................. ......................................................................... รหัส ตัวชี้วัด ......................................................................... ................................................................................. ................................................................................. ............................................................. การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ ในการจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ มีแนวการดำาเนินการ ดังนี้ 1. จัดทำาโครงสร้างรายวิชา 2. กำาหนดเป้าหมายการจัดการเรียนรู้ 3. กำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ตามเป้าหมายที่ กำาหนด(ออกแบบการประเมินผล การเรียนรู้ และกำาหนดผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน) 4. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ความ สามารถตามเป้าหมายที่กำาหนด(โดย ตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้จาก “ ”หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ การจัดทำาโครงสร้างรายวิชา เมื่อได้รายวิชาลงโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เรียบร้อยแล้ว ครูผู้สอนจัดทำา โครงสร้างรายวิชาโดยดำาเนินการ ดังนี้ 1. กำาหนดชื่อหน่วยการเรียนรู้ โดยพิจารณาคำา/ ข้อความสำาคัญ(Key words) หรือเนื้อหา ในตัวชี้วัดของรายวิชามาจัดกลุ่ม โดยนำาตัวชี้วัดที่มีเนื้อหาอยู่ใน กลุ่มเดียวกัน หรือเป็นเรื่องเดียวกัน มารวมกันจัดเป็น 1 หน่วยการ เรียนรู้ ซึ่งใน 1 รายวิชาจะมีหลายหน่วยฯ และแต่ละหน่วยฯ จะมี ตัวชี้วัดซำ้าหรือไม่ซำ้ากันก็ได้ อยู่ในดุลพินิจของผู้สอน แต่เวลาที่ ใช้จัดการเรียนรู้รวมทั้งหมด ต้อง ไม่เกินจำานวนชั่วโมงที่กำาหนด ในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา แล้วตั้งชื่อหน่วยให้น่าสนใจ สำาหรับผู้เรียน 2. ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่นำามาจัดทำา เป็นหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วย การเรียนรู้ โดยเขียนรหัสมาตรฐาน ระดับชั้นและตัวชี้วัดที่นำามา จัดทำาหน่วยฯ ทั้งหมด 17
  • 18. random-150817064115-lva1-app6892.doc 3. กำาหนดสาระสำาคัญสำาหรับแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เป็น ข้อความที่ระบุว่าผู้เรียนรู้อะไร มีทักษะอะไร (อาจจะมีคุณลักษณะอย่างไรด้วย) และหน่วยนี้มี คุณค่าต่อผู้เรียนอย่างไรในระยะสั้นและระยะยาวโดยร้อยเรียง ข้อมูลของทุกตัวชี้วัด และเขียนเป็น Concept ภาพรวมของ หน่วยฯ ที่ต้องการให้เป็นองค์ความรู้ เป็นความเข้าใจที่ฝังติดตัวผู้ เรียนไปเป็นเวลานาน และสามารถนำามาใช้ได้เมื่อต้องการ ซึ่งมีวิธี เขียน 4 แนวทาง ได้แก่ 3.1 เขียนลักษณะหลักเกณฑ์ หรือหลักการ เช่น “พืชตอบสนองต่อแสง เสียง และ การสัมผัส ”ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมภายนอก “การบวก คือการนำา จำานวนตั้งแต่สองจำานวนขึ้นไปมารวมกัน จำานวนที่ได้จากการรวม จำานวนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เรียกว่า ผลรวม หรือ ผลบวก และใช้ เครื่องหมาย + ”เป็นสัญลักษณ์แสดงการบวก 3.2 เขียนลักษณะความคิดรวบยอด เช่น “พืช และสัตว์ต้องการอาหาร นำ้าและอากาศ เพื่อการดำารงชีวิต ”และการเจริญเติบโต หรือเขียนแบบความ เข้าใจที่คงทน “เช่น ความเข้าใจจำานวนนับ สัญลักษณ์ที่ใช้ใน สมการ การบวกลบคูณหารจำานวนนับ และความเท่ากัน ทำาให้ สามารถแก้ปัญหาภายใต้ข้อจำากัดต่าง ๆ ”ในชีวิตประจำาวันได้ “การดำารงชีวิตท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงโดยประยุกต์ใช้แนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำาให้ชีวิตมีความสุข” 3.3 เขียนลักษณะกระบวนการ(กรณีที่ภาพรวม ของหน่วยฯ เน้นกระบวนการ) เช่น หน่วยฯ นี้เน้นกระบวนการแก้ปัญหา เขียนสาระสำาคัญได้ คือ “การวิเคราะห์สาเหตุ ของปัญหาอย่างกว้างขวางหลายมิติ กำาหนด ทางเลือกในการแก้สาเหตุของปัญหาอย่างหลากหลาย เลือกทาง เลือก ในการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม ดำาเนินการแก้ปัญหาตาม ทางเลือกที่กำาหนด ประเมินและปรับปรุง การแก้ปัญหาอย่าง รอบคอบเป็นระยะ ๆ ช่วยให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ” 3.4 เขียนลักษณะความสัมพันธ์ เช่น “วิธีการ ดำารงชีวิตของมนุษย์ มีผลกระทบต่อ ระบบนิเวศในสายนำ้า” 4. กำาหนดระยะเวลา(จำานวนชั่วโมง)สำาหรับแต่ละหน่วย การเรียนรู้ รวมทุกหน่วยฯ แล้ว 18
  • 19. random-150817064115-lva1-app6892.doc มีจำานวนชั่วโมงเท่ากับจำานวนชั่วโมงของรายวิชา 5. กำาหนดนำ้าหนักคะแนนของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ตาม ความสำาคัญของแต่ละหน่วยฯ เพื่อการกำาหนดคะแนนสำาหรับการประเมินผลการเรียนรู้ของแต่ละ หน่วยฯ ให้เหมาะสมตามความสำาคัญของแต่ละหน่วยฯ การจัดทำาโครงสร้างรายวิชา อาจจะใช้แบบฟอร์มในการ บันทึก ดังต่อไปนี้ การจัดทำาโครงสร้างรายวิชา โครงสร้างรายวิชา................................................ กลุ่ม สาระการเรียนรู้.......................................... ชั้น.................................. เวลา..............ชั่วโมง จำานวน............หน่วยกิต ภาคเรียนที่..................... ท ีี ี่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มฐ. ตัวชี้ วัด สาระสำาคัญ เวลา( ชั่วโม ง) นำ้า หนัก คะแ นน รวมตลอดปี/ภาค การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป็นหน่วยการเรียน รู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายของหน่วยฯ ขั้น ตอนนี้ เป็นขั้นตอนสำาคัญที่สุดของการใช้หลักสูตรสถานศึกษา เป็นการนำามาตรฐานการเรียนรู้สู่การปฏิบัติในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน การออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ สพฐ.แนะนำา คือ ออกแบบ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค Backward Design ซึ่งมี 3 ขั้น ตอนใหญ่ ๆ ได้แก่ 1. กำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 19
  • 20. random-150817064115-lva1-app6892.doc 2. กำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้า หมายการเรียนรู้ที่กำาหนด 3. ออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ ตามเป้าหมายที่กำาหนด ขั้นที่ 1 กำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ จากที่เป็นหน่วย การเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป้าหมาย การเรียนรู้ของหน่วยฯ ได้แก่ ชื่อหน่วย.................................................... เป้าหมายการเรียนรู้ สาระสำาคัญ ........................(นำามาจากโครงสร้าง รายวิชา)................................. ตัวชี้วัด...........(นำามาจากโครงสร้างรายวิชาเขียนรหัสและราย ละเอียดของแต่ละตัวชี้วัด).................. คุณลักษณะ...(นำามาจากตารางการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทำา คำาอธิบายรายวิชา หรืออาจจะเลือกคุณลักษณะที่สำาคัญและเด่น กำาหนดเป็นคุณลักษณะของหน่วยฯ).................. ขั้นที่ 2 กำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้ เรียน เป็นการนำาเป้าหมายทุกเป้าหมาย(สาระสำาคัญ ตัวชี้วัดทุก ตัวชี้วัด และคุณลักษณะ) มากำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ ของผู้เรียน อาจจะใช้ตาราง ดังนี้ เป้าหมาย หลักฐานที่เป็นผลการเรียน รุ้ สาระสำาคัญ ....................................... ............................ (ผลงาน/ชิ้นงาน/ภารเงาน) ....................................... ................................... ตัวชี้วัด ว 1.1 ป.1/1....................... ..................................... (ผลงาน/ชิ้นงาน/ภารเงาน) ....................................... .................................... คุณลักษณะ ....................................... .................................... (ผลงาน/ชิ้นงาน/ภารเงาน) ……………………………… ……………….. การกำาหนดหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ เป็นการประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการออกแบบการประเมินผลการเรียนรู้ ให้เหมาะสม ซึ่งโดยทั่วไปได้กำาหนดเป็น 6 เทคนิคของการ ประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี้ 20
  • 21. random-150817064115-lva1-app6892.doc 1. Selected Response หมายถึง ข้อสอบปรนัยเลือก ตอบ จับคู่ ถูกผิด 2. Constructed Response หมายถึง ข้อสอบเติมคำา หรือเติมข้อความ หรือเขียน Mind map 3. Essay หมายถึง เขียนบรรยาย เขียนเรียงความ เขียน เล่าเรื่อง เขียนรายงาน 4. School Product/Performance หมายถึง การแสดง หรือการปฏิบัติในสถานศึกษา เช่น โต้วาที พูดสนทนาภาษา อังกฤษ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ อ่าน... แสดงบทบาท สมมุติ(Role play)… ประกอบอาหาร.. สืบค้นข้อมูล......(โดยใช้ internet ในโรงเรียน) 5. Contextual Product/Performance หมายถึง การแสดง ในสถานการณ์จริง หรือสภาพชีวิต จริงนอกสถานศึกษา เช่น “สำารวจราคาพืชผักในตลาด สรุป และนำา ”เสนอผลการสำารวจ “สำารวจสินค้า OTOP สรุป และนำาเสนอผลการ ”สำารวจ “สัมภาษณ์ชาวต่างประเทศ แล้วเขียนรายงานส่ง หรือนำามา ”เล่าให้เพื่อนนักเรียนฟังในชั่วโมง 6. On-going Tools หมายถึง เป็นหลักฐานแสดงการ เรียนรู้ของผู้เรียน ที่มีการประเมินผู้เรียนตลอดเวลา ทุกวัน เช่น ผู้ เรียนบันทึกพฤติกรรม........ หรือการสังเกตพฤติกรรม......ของผู้ เรียนตลอดเวลา ตั้งแต่ตื่น จนหลับนอนทุกวัน ใน 1 เป้าหมายการเรียนรู้ อาจจะมีหลักฐาน(ผลงาน/ชิ้น งาน/ภาระงาน)มากกว่า 1 อย่างก็ได้ เพื่อเป็นการยืนยัน สร้าง ความมั่นใจให้กับครูผู้สอนว่า ผู้เรียนมีความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ จริง และหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ 1 อย่าง อาจจะตอบได้ หลายเป้าหมายก็เป็นได้ ก็เขียนซำ้ากันหลายเป้าหมายได้ เนื่องจาก เป็นหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจน ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ แนวดำาเนินการ ดังนี้ 1. จัดลำาดับหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ โดยนำาหลักฐานที่ เป็นผลการเรียนรู้ทั้งหมด ที่ระบุในในขั้นที่ 2 (หลักฐานที่ซำ้ากัน ให้นำามาจัดลำาดับครั้งเดียว) ตามลำาดับที่ครูผู้สอนจะทำาการสอนผู้เรียน ให้เป็นลำาดับให้เหมาะ สม 2. กำาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยนำาหลักฐานที่เป็น ผลการเรียนรู้เป็นหลักในการ 21
  • 22. random-150817064115-lva1-app6892.doc ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนทำาภาระกิจ หรือผลิตผล งาน/ชิ้นงานได้ตามที่กำาหนดใน ขั้นที่ 2 ด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยครูเป็นคนกำาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง เข้าใจ แล้วทำางานได้บรรลุเป้าหมายการจัดการเรียนรู้ของหน่วยฯ ที่กำาหนด โดยอาจจะออกแบบตารางบันทึก ดังนี้ หลักฐาน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1................ ................. 2................ ................ กิจกรรมที่ 1(เขียน กิจกรรมหลัก ๆ) 1................................ ............................ 2................................ ............................ 3................ ................ กิจกรรมที่ 2 1................................ .............................. 2................................ .............................. ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1 ชุดของกิจกรรม อาจจะ สามารถทำาให้ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงาน/ ทำาภาระงานได้ตามหลัก ฐานที่กำาหนดหลายหลักฐานก็ได้ หรือ 1 หลักฐาน ต่อ 1 ชุดของ กิจกรรมก็ได้ อยู่ในดุลพินิจของผู้สอน และขณะออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ ครูควรออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาสมรรถนะ 5 สมรรถนะตามที่กำาหนดในหลักสูตรแกนกลางฯให้แก่ผู้เรียน ด้วย เมื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้ครบทุกหลักฐานแล้ว ให้ นำาข้อมูลทั้งหมดตั้งแต่เริ่มกำาหนดหน่วยฯ มาเขียนรายละเอียด ลักษณะเดียวกับแผนการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการ เรียนรู้ที่แนะนำา คือเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ใหญ่ 1 แผนฯ ต่อ 1 หน่วยการเรียนรู้ โดยในขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ให้แยกกิจกรรม 1 ช่วง(นำาเข้าสู่บทเรียน-สอน-สรุปประเมิน) ให้ตรงกับจำานวนชั่วโมง ในตารางสอน โดยอาจจะให้มีองค์ประกอบ ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่... กลุ่มสาระการเรียน รู้....................................................................รายวิชา .......................................... 22
  • 23. random-150817064115-lva1-app6892.doc ชั้น..........................ภาคเรียนที่.............................ปี การศึกษา.......................................................... ชื่อหน่วยการเรียน รู้................................................................................ .................เวลา.........ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ .......................................................................... ................................................................... ตัวชี้วัด .......................................................................... .................................................................. สาระสำาคัญ .......................................................................... .................................................................... สาระการเรียนรู้(วิเคราะห์จากตัวชี้วัดทั้งหมดของหน่วยฯ) ความรู้ .......................................................................... ................................................................. ทักษะ/กระบวนการ .......................................................................... .................................................................. คุณลักษณะ .......................................................................... ................................................................. กิจกรรมการเรียนรู้ .......................................................................... ................................................................ สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ .......................................................................... ................................................................ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป้าหมาย หลักฐาน วิธีวัด เครื่องมือวัด สาระสำาคัญ .................. ............... .................. .................. .................. ................. .................. ................ 23
  • 24. random-150817064115-lva1-app6892.doc ตัวชี้วัด ว 1.1 ป.1/1 .................. ................. .................. ................. .................. ............... ว 1.1 ป.1/2 .................. ................ .................. ................ .................. ............... คุณลักษณะ .................. ................. .................. ................ .................. ................. .................. ................ จากนี้ ครูผู้สอนต้องสร้างเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียนตามที่กำาหนดข้างบนให้ครบ การประเมินหน่วยการเรียนรู้ เมื่อครูผู้สอนออกแบบการจัดการเรียนรู้เรียบร้อยแล้ว ควร ให้ผู้เชี่ยวชาญ(ครูสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน)อย่างน้อย 3 คน ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสมของหน่วยการ จัดการเรียนรู้ที่จะนำาไปจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยอาจจะใช้ แบบประเมิน ดังนี้ แบบประเมินการจัดทำาหน่วยการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้................................................ชื่อหน่วยการ จัดการเรียนรู้.................................... ชั้น............................เวลา..........................ครูผู้ สอน.................................................................... คำาชี้แจง โปรดทำาเครื่องหมาย ลงในชื่อที่ตรงกับความคิดเห็น ของท่าน 4 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 3 หมายถึง เหมาะ สมมาก 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง เหมาะ สมน้อยที่สุด รายการ ความเหมาะ สม 4 3 2 1 24
  • 25. random-150817064115-lva1-app6892.doc 1.ชื่อหน่วยฯ กระทัดรัด ชัดเจน ครอบคลุม เนื้อหาสาระ น่าสนใจ 2.มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดมีความเชื่อม โยงกันอย่างเหมาะสม 3.ความสอดคล้องของสาระสำาคัญ กับมาตรฐาน การเรียนรู้ และตัวชี้วัด 4.ความครอบคลุมของสาระสำาคัญกับตัวชี้วัด ทั้งหมดของหน่วยฯ 5.ความเหมาะสมของจำานวนชั่วโมง 6.ความครบถ้วนของสาระการเรียนรู้กับตัวชี้วัด 7.ความครบถ้วนของทักษะ/กระบวนการกับตัวชี้ วัด 8.ความครบถ้วนของคุณลักษณะกับตัวชี้วัด 9.ความเหมาะสมของผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้ รวบยอดของ หน่วยฯ 10.กิจกรรมการเรียนรู้ สามารถทำาให้ผู้เรียนมี ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะ ครบตามตัวชี้วัดของหน่วยฯ และเน้นสมรรถนะ สำาคัญที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนด 11.ความเหมาะสมของสื่อ อุปกรณ์ และแหล่ง การเรียนรู้ 12.ความเหมาะสมของวิธีการวัด และประเมินผล การเรียนรู้ 13.ความเหมาะสมของเครื่องมือวัด และประเมิน ผลการเรียนรู้ 14.ความเหมาะสมของเกณฑ์การวัด และ ประเมินผลการเรียนรู้ 15.หน่วยการเรียนรู้สามารถนำาไปจัดการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียนได้จริง รวมคะแนน/สรุปผลการประเมิน หรือ คะแนนเฉลี่ย เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของหน่วยการเรียนรู้ 25
  • 26. random-150817064115-lva1-app6892.doc กรณีใช้คะแนนรวม คะแนน 15-30 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 31-40 หมายถึง พอใช้ คะแนน 41-50 หมายถึง ดี คะแนน 51-60 หมายถึง ดีมาก กรณีใช้คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.75 หมายถึง ปรับปรุง คะแนนเฉลี่ย 1.76-2.50 หมายถึง พอใช้ คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.25 หมายถึง ดี คะแนน เฉลี่ย 3.26-4.00 หมายถึง ดีมาก เมื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบมีคุณภาพผ่านเกณฑ์การ ประเมินแล้ว ครูผู้สอนจึงนำาไปจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้ เรียนมีความรู้ความสามารถตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำาหนด และมีคุณภาพตามที่ สพท.ได้มุ่งหมายไว้ ................................................................................. ..................... เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด 26