SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 49
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 1
เอกสารประกอบการสอน
เรื่องที่ 1 “การประเมินทางจิตเวช (Psychiatric
assessment)”
เรียบเรียงโดย พ.ต.ท.หญิง ดร. กัญญ์ฐิตา ศรีภา
กลุ่มงานอาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
วิทยาลัยพยาบาลตารวจ
หัวข้อการเรียนรู้
 ความรู้เบื้องต้นในการประเมินทางจิตเวช (Basic
knowledge of psychiatric assessment)
 วัตถุประสงค์ของการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Objectives
of psychiatric assessment)
 เทคนิคเบื้องต้นในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยจิตเวช (Interviewing
technique)
 องค์ประกอบสาคัญของการประเมินทางจิตเวช
4.1 ประวัติทางจิตเวช (Psychiatric history)
4.2 การประเมินสภาพจิต (Mental status examination)
4.3 การตรวจร่างกาย (Physical examination)
4.4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory
investigation)
4.5 การทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological testing)
 การวิเคราะห์และประมวลผลกรณีที่ศึกษา (Case analysis
and formulation)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดการเรียนรู้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 2
1. อธิบายแนวทางการประเมินปัญหาสุขภาพจิตได้
2. สัมภาษณ์ประวัติ รวบรวมข้อมูล
และประเมินสภาพจิตกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมายได้อย่างถูกต้องและ
ครบถ้วน
3.
สามารถวิเคราะห์และประมวลผลกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมายได้ถูกต้
องและสอดคล้องกับข้อมูลที่รวบรวมได้
กิจกรรมการเรียนรู้
1.
แจ้งวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้และสร้างข้อตกลงร่วมกันในการแลกเป
ลี่ยนเรียนรู้
2.
ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงจรรยาบรรณหรือการพิทักษ์สิทธิ์ผู้ป่วยก่
อนฝึกปฏิบัติประเมินผู้ป่วยจิตเวช
3.
ประเมินและทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช
ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปบทเรียน
4.
ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการสัมภาษณ์ประวัติและประเมินสภาพจิตกรณีศึก
ษาที่ได้รับมอบหมาย
5. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสะท้อนคิด (Reflection)
เกี่ยวกับการสัมภาษณ์ประวัติผู้ป่วยและการประเมินสภาพจิต (MSE)
เช่น ความรู้สึกเกี่ยวกับตนเอง ความรู้สึกเกี่ยวกับผู้ป่วย เป็นต้น
6.
ให้ผู้เรียนอภิปรายและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหาห
รือสถานการณ์สาคัญในขั้นตอนของการสัมภาษณ์ประวัติและการประ
เมินสภาพจิต
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 3
7.
ผู้เรียนบันทึกการรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยและการประเมินสภาพจิตบันทึก
ในรายงานการวางแผนการพยาบาล
8.
ผู้สอนตรวจสอบรายงานในประเด็นการรวบรวมข้อมูลและการประเมิน
สภาพจิต
เพื่อให้ข้อมูลป้อนกลับและนาประเด็นสาคัญมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกั
น
9. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปบทเรียน
10.
ผู้เรียนประมวลผลกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมายและบันทึกในรายงาน
กรณีศึกษาผู้ป่วยจิตเวช (Case study)
สื่อการเรียนรู้
- ผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรณีศึกษา
- แฟ้มข้อมูลผู้ป่วย
การประเมินผลการเรียนรู้
1. การอภิปรายและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. การซักถาม
3. การฝึกปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช
4.
บันทึกการรวบรวมข้อมูลและการประเมินสภาพจิตผู้ป่วยทางจิตเวช
5. รายงานการวางแผนการพยาบาลและกรณีศึกษา
บทนาก่อนการเรียนรู้
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผู้ ป่ ว ย จิ ต เ ว ช
เป็นบทบาทสาคัญอย่างหนึ่งของการพยาบาลในการทาความเข้าใจผู้
ป่ ว ย
เพื่อการวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยาบาลต่อไป
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 4
องค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สาคั ญ ข อ งก าร ป ร ะ เมิ น ท างจิต เวช ไ ด้ แ ก่
การรวบรวมประวัติทางจิตเวชทั้งจากการศึกษาเอกสารผู้ป่วยและการ
สั ม ภ า ษ ณ์ ป ร ะ วั ติ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต
การรวบรวมผลการตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
แ ล ะ ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ ท า ง จิ ต วิ ท ย า
ซึ่งพยาบาลจะต้องทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วยจากข้อมูล
ต่างๆ ที่รวบรวมได้ เพื่อให้ได้ปัจจัยสาเหตุของการเกิดอาการทางจิต
อันจะเป็นข้อมูลสาคัญในการสังเคราะห์ปัญหาทั้งหมดของผู้ป่วย
เพื่อการกาหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยา
บ า ล ผู้ ป่ ว ย ต่ อ ไ ป ทั้ ง นี้
พยาบาลต้องตระหนักถึงการดาเนินตามบทบาทของพยาบาลจิตเวชที่เ
ห ม า ะ ส ม
การประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะที่ถูกต้องเหมาะสมในการสัมภาษณ์ป
ร ะ วั ติ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผู้ ป่ ว ย จิ ต เ ว ช
รวมถึงตระหนักถึงจรรยาบรรณวิชาชีพและการพิทักษ์สิทธิ์ผู้ป่วยก่อน
ฝึกปฏิบัติเพื่อประเมินผู้ป่วยจิตเวช
 ความรู้เบื้องต้นในการประเมินทางจิตเวช (Basic knowledge of
psychiatric assessment)
การประเมินทางจิตเวช (Psychiatric assessment) หมายถึง
การประเมินและวิเคราะห์สาเหตุของโรคหรือปัญหาทางจิตเวชของผู้ป่
วย โดยการรวบรวมข้อมูลประวัติ (History) การประเมินสภาพจิต
( Mental Status Examination, M S E )
ข้ อ มู ล เกี่ ย ว กั บ ก า ร ต ร ว จ ร่ าง ก า ย (Physical examination)
ก า ร ต ร ว จ ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร (Laboratory investigation)
และการทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological testing) เข้าไว้ด้วยกัน
หลัก การสาคัญ คือก ารฟังเรื่องราวข องผู้ป่วย ท าค วามเข้าใ จ
แ ล ะ บั น ทึ ก ใ ห้ ผู้ อื่ น ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้
เพื่ อ ป ร ะ เมิ น ใ ห้ ไ ด้ ว่ าเพ ร าะ อ ะ ไ ร ผู้ ป่ ว ย (th is p e rs o n )
ถึงรู้สึกทุกข์ทรมาน (suffering) กับปัญหาที่ประสบ (this problem)
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 5
อยู่ในขณะนั้น (at this time) เพื่อนาไปสู่การวินิจฉัยที่ถูกต้อง ทั้งนี้
ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ไ ม่ จ า เป็ น ต้ อ ง ร ะ บุ ใ ห้ ไ ด้ ใ น ค รั้ ง แ ร ก
โดยเริ่มจากการรวบรวมการวินิจฉัยที่ใกล้เคียงกันหลายๆ อย่าง
จากนั้นจึงแยกแยะข้อวินิจฉัยที่ไม่ใช่ออกไปจนเหลือข้อวินิจฉัยที่ถูกต้
องที่สุด
บทบาทสาคัญของพยาบาลจิตเวชในการประเมินผู้ป่วยทางจิตเว
ช คื อ เ พื่ อ ส า ร ว จ ปั ญ ห า ห า ส า เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห า
ให้การวินิจฉัยทางการพยาบาลเพื่อวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยอย่างเ
หมาะสม โดยขั้นตอนเบื้องต้นในการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวชนั้น
พยาบาลต้องสร้างสัมพันธภาพและให้การยอมรับผู้ป่วยให้เกิดความไ
ว้ ว า ง ใ จ ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น
เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดเผยสิ่งที่ไม่สบายใจหรือปมขัดแย้งภายในจิตใจ ทั้งนี้
พยาบาลมีหน้าที่รับฟังและซักถามเพื่อจะได้ข้อมูลที่ทาให้เข้าใจปัญห
าข องผู้ป่ วยไ ด้ อย่าง ค ร อบ ค ลุมแล ะชั ด เจ น อย่างไ ร ก็ต าม
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต ข อ ง ผู้ ป่ ว ย จิ ต เ ว ช นั้ น
เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต ใ จ โ ด ย อ้ อ ม
เนื่องจาก ยังไม่มีเค รื่องมือที่จ ะตร วจ สอบ ท างจิต ได้โด ยต ร ง
การ ปร ะเมินจึงเป็น ไป โด ยอนุมาน จ าก คาบ อกเล่าข องผู้ป่วย
แ ล ะ ก า ร สั ง เ ก ต อ า ร ม ณ์ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง เข า
ซึ่งหากได้ข้อมูลที่ครบถ้วนก็จะทาให้การวินิจฉัยปัญหาและสาเหตุขอ
ง ปั ญ ห า ผู้ ป่ ว ย ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง
อันจะนาไปสู่การวางแผนการพยาบาลและการบาบัดที่เหมาะสมต่อไป
ได้
 วัตถุประสงค์ของการประเมินทางจิตเวช (Objectives of
psychiatric assessment)
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผู้ ป่ ว ย ท า ง จิ ต เ ว ช
มิใ ช่ เพี ยงแค่ ก าร วินิ จ ฉั ย อาก าร ท างจิต ข องผู้ป่ วยเท่ านั้ น
แต่มีวัตถุประสงค์ที่ครอบคลุมประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 6
1) เ พื่ อ ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค ข อ ง ผู้ ป่ ว ย
เป็นการสรุปผลจากการประเมินว่าผู้ป่วยเป็นโรคทางจิตชนิดใดตามเก
ณ ฑ์ ก า ร จ า แ น ก โ ร ค ท า ง จิ ต เ ว ช
โดยเกณ ฑ์การจาแนกโรค ทางจิตเวชที่เป็น ที่ยอมรับกัน ได้แก่
ระ บ บ ก ารจ าแน ก โร ค ICD-10 (International Classification of
Diseases) หรือเกณฑ์การจาแนกโรคตาม DSM-IV (Diagnostic
and Statistical Manual) ซึ่งในปัจจุบันเริ่มนาเกณฑ์การจาแนกโรค
DSM-V มาใช้ สาหรับการจาแนกโรคตามเกณ ฑ์ของ DSM-IV
นั้ น มี ก า ร วิ นิ จ ฉั ย อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
ซึ่งหากข้อมูลจากการตรวจสอบหรือรวบรวมได้ยังไม่เพียงพ อ
ควรให้ข้อสรุปแต่เพียงเบื้องต้น และให้การวินิจฉัยแยก โรคไว้
จากนั้นควรวางแผนดาเนินการหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อการวินิจฉัยต่อไป
2) เพื่อ ท าค วามเข้าใ จ ค วามเป็น มาข องปัญ ห าผู้ป่ว ย
ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ แ ล ะ ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ
เกี่ยวกับ ผู้ป่วยทั้งใน อดีต และปัจจุบัน ป ระวัติชีวิต ในวัยต่างๆ
ของผู้ป่วย ประวัติครอบครัว ประวัติการบาบัดรักษา และประวัติอื่นๆ
ที่ เกี่ ย วข้ อ ง ร วมถึ งอ าก าร สาคั ญ ที่ น าผู้ ป่ วย มาพ บ แ พ ท ย์
ย่อมช่วยให้ผู้บาบัดที่มีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับโรคจิตเวชและปัญหาสุ
ข ภ า พ จิ ต ข อ ง ผู้ ป่ ว ย
ทฤษฎีพัฒนาการบุคลิกภาพและท ฤษฎีการเกิดจิตพยาธิสภาพ
เข้าใจและสามารถอธิบายบุคลิกภาพของผู้ป่วย การใช้กลไกทางจิต
แ ล ะ ค ว า ม ล้ ม เ ห ล ว ใ น ก า ร ป รั บ ตั ว ข อ ง ผู้ ป่ ว ย
ต ล อ ด จ น ส ม ร ร ถ ภ า พ ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ไ ด้
ซึ่ ง จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร ใ ห้ ก า ร บ า บั ด รั ก ษ า
การประเมินผลการบาบัดรักษา และการพยากรณ์โรคต่อไป
3) เพื่อสร้างความเข้าใจกับผู้ป่วยเกี่ยวกับอาการทางจิต
การที่ผู้ป่วยได้มีโอกาสพูดคุยและสร้างสัมพันธภาพกับผู้ประเมิน
ก า ร มี ผู้ รั บ ฟั ง ปั ญ ห า แ ล ะ แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม เข้ า ใ จ เข า
แ ล ะ ก าร ไ ด้ รั บ ท ร าบ ข้ อ ส รุ ป ส าเห ตุ ข อ ง ปั ญ ห าข อ ง เข า
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 7
เห ล่ า นี้ ย่ อ ม ท า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย มี ค ว า ม เข้ า ใ จ ต น เอ ง ม า ก ขึ้ น
เข้ า ใ จ ว่ า อ า ก า ร ข อ ง เข า นั้ น มี ส า เห ตุ ม า จ า ก จิ ต ใ จ
ซึ่งเป็น สิ่งสาคัญ มาก ที่จ ะน าไป สู่ ก าร เข้าใจ ปัญ ห าที่แท้จ ริง
และให้ความร่วมมือในการบาบัดรักษา
4) เพื่อวางแผนการบาบัดรักษา การบาบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวช
ขึ้ น อ ยู่ กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย
นอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับศักยภาพของผู้ป่วยที่จะรับและสนองตอบต่อก
า ร บ า บั ด รั ก ษ า ช นิ ด ต่ า ง ๆ อี ก ด้ ว ย
การเข้าใจผู้ป่วยโดยละเอียดจะทาให้ผู้บาบัดเลือกวิธีการบาบัดรักษาที่
เหมาะสมกับโรคหรืออาการทางจิต และสอดคล้องกับบริบทของผู้ป่วย
อันจะนาไปสู่การบาบัดรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป
5) เพื่ อ ส ร้ า ง สัม พั น ธ ภ า พ ที่ ดี ใ น ก า ร บ า บั ด รั ก ษ า
องค์ประกอบสาคัญของการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับผู้บาบัด
รั ก ษ า คื อ
การยอมรับและความเข้าอกเข้าใจจากผู้บาบัดรักษาระหว่างการประเมิ
น และ วินิ จ ฉั ย ซึ่ งจ ะ น าไ ป สู่ค วาม ไ ว้วางใ จ ซึ่ งกั น แล ะ กั น
อั น เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ข อ ง สั ม พั น ธภ าพ ที่ ดี ร ะ ห ว่ า งกั น แ ล ะ
พื้นฐานที่ดีในการบาบัดรักษาผู้ป่วยต่อไป
 เทคนิคเบื้องต้นในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยจิตเวช (Interviewing
technique)
3.1 ก า ร พ บ ผู้ ป่ ว ย ค รั้ ง แ ร ก ( The Initial interview)
ผู้ประเมินหรือผู้ให้สัมภาษณ์ควรคานึงถึงประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้
- ส ถ า น ที่
ซึ่งปัจจัยทางกายภาพของสถานที่สัมภาษณ์มีผลอย่ามากต่อความสาเร็
จ ข อ ง ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ ผู้ ป่ ว ย
โดยผู้ป่วยและผู้สัมภาษณ์ ค วรอยู่ใน สถ าน ภาพ ที่ผ่อน ค ลาย
สถ าน ที่ สัมภาษณ์ ควรมีค วามเป็น ส่วน ตัว เงียบ แต่ไม่ลับ ต า
เพื่อความสะดวกใจในการเล่าข้อมูลส่วนตัวและความลับของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 8
- แ ร ก พ บ ผู้ ป่ ว ย
เป็ น เ รื่ อ ง ป ก ติ ที่ ผู้ ป่ ว ย จ ะ กั ง ว ล บ้ า ง ใ น ค รั้ ง แ ร ก
ผู้ป่วยบางคนอาจรู้สึกอายหรือประหม่าที่จะเล่าเรื่องหรืออาการส่วนตัว
กั บ ค น ที่ ไ ม่ เ ค ย รู้ จั ก กั น ม า ก่ อ น
ผู้ป่วยอาจกังวลว่าผู้สัมภาษณ์จะถามหรือประเมินตนเองอย่างไร
ใ น ก าร พ บ กั น ค รั้ งแ ร ก จึ ง ค ว ร ใ ส่ ใ จ กั บ ป ร ะ เด็ น เห ล่ า นี้
โด ยผู้สัมภาษณ์ ค วรแน ะน าตัว บอก ชื่อ และต าแห น่งห น้าที่
ค ว ร เรี ย ก ผู้ ป่ ว ย ด้ ว ย ชื่ อ จ ริ ง เช่ น “คุ ณ ส ม ห ญิ ง ”
เพื่อเป็นการเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพ
- เวลา (time) ควรชี้แจงผู้ป่วยถึงระยะเวลาที่จะพูดคุย
แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ เ ว ล า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย อ า ทิ
กรณีผู้ป่วยวุ่นวายอาจให้ความร่วมมือในการสัมภาษณ์ได้สั้นๆ
ผู้ ป่ ว ย บ า ง ค น จ ะ ม า ก่ อ น เ ว ล า นั ด เ ป็ น ชั่ ว โ ม ง
หรือผู้ป่วยบางคนอาจมาสายสม่าเสมอซึ่งอาจบ่งบอกได้ว่าผู้ป่วยอาจมี
ความรู้คับข้องใจต่อการมาพบผู้ให้สัมภาษณ์ แต่ไม่ได้พูดออกมาตรงๆ
เช่น ไม่พ อผู้ให้สัมภาษณ์ ซึ่งห าก ผู้ป่วยมาสายแล้วข อโท ษ
ไ ม่ ค ว ร ป ล อ บ ใ จ ง่ า ย ๆ ว่ า ไ ม่ เ ป็ น ไ ร
แ ต่ ค ว ร ใ ช้ โอ ก า ส ใ น ก า ร ส า ร ว จ ค ว า ม รู้ สึ ก ข อ ง ผู้ ป่ ว ย
และยังคงจบกระบวนการสัมภาษณ์ตามเวลา
- สัมพันธภาพ (Rapport) เป็นสิ่งสาคัญในการดูแลผู้ป่วย
สั ม พั น ธ ภ า พ ที่ ดี ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม ไ ว้ ว า ง ใ จ
ความเข้าอกเข้าใจกันระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ป่วย
3.2 การเริ่มต้นสัมภาษณ์ (Opening interview)
- ทั ก ท า ย แ ล ะ ส ร้ า ง ค ว า ม คุ้ น เ ค ย
ก่ อ น ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ จ ริ ง ผู้ สั ม ภ า ษ ณ์ ค ว ร พู ด จ า ทั ก ท า ย
สร้างความคุ้นเคยในเบื้องต้นกับผู้ป่วยก่อน เช่น “คุณชื่อ...ใช่ไหมคะ”
“มารอนานหรือยังคะ” เป็นต้น
- แนะนาตนเองและขั้นตอน (Introduction : who, why)
โ ด ย ค ว ร แ น ะ น า ชื่ อ ข อ ง ตั ว เ อ ง
อาจบอกว่าจะมีเวลาคุยกับผู้ป่วยนานแค่ไหน
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 9
- มี ท่ า ที ผ่ อ น ค ล า ย ( Self comfort)
โ ด ย ค ว ร นั่ ง ล ง คุ ย กั บ ผู้ ป่ ว ย
ซึ่งการนั่งคุยเป็นการสื่อกับผู้ป่วยว่าผู้ให้สัมภาษณ์พร้อมและมีเวลาที่จ
ะ รั บ ฟั ง ก า ร ยื น คุ ย ห รื อ ก า ร มี ท่ า ที รี บ ร้ อ น
ห รื อ ท า ง า น อื่ น ไ ป ด้ ว ย ข ณ ะ สั ม ภ า ษ ณ์
อาจ ท าใ ห้ผู้ ป่วยรู้สึก ว่าผู้ ใ ห้ สัมภ าษ ณ์ ไ ม่พ ร้อมที่ จ ะรับ ฟั ง
ใ น ก ร ณี ที่ ผู้ ป่ ว ย น อ น อ ยู่ บ น เ ตี ย ง
ผู้ให้สัมภาษณ์ควรนั่งบนเก้าอี้เพื่อคุยในระดับเดียวกันกับผู้ป่วย
- ใส่ใจต่อความสุขสบายของผู้ป่วย (Attends to patient’s
comfort) โ ด ย ทั่ ว ไ ป ค ว ร ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย นั่ ง ใ น ท่ า ที่ ส บ า ย
นั่งในมุมที่สามารถสบตาและละสายตาจากผู้ให้สัมภาษณ์ถ้าผู้ป่วยต้อง
การได้ เช่น นั่งเป็นมุมทแยงกับผู้ป่วย
- ส อ บ ถ า ม ค ว า ม เข้ า ใ จ ผู้ ป่ ว ย ( Seeks patient’s
understanding)
เบื้องต้นควรสารวจความเข้าใจของผู้ป่วยในการมาโรงพยาบาล
ว่าเกิ ด จ าก อ ะ ไ ร มี ค ว าม จ าเป็ น อ ะ ไ ร จึ งม าโ ร ง พ ย าบ า ล
ผู้ป่วยรู้สึกอย่างไรกับการมาพบผู้ให้สัมภาษณ์
- ใ ห้ ค วาม มั่ น ใ จ ใ น ก าร เก็ บ ข้ อ มู ล เป็ น ค วาม ลั บ
( Confidentiality)
การย้าให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าข้อมูลที่จะสนทนากันจะเป็นความลับ
ของผู้ป่วย โดยจะไม่บอกผู้อื่นถ้าผู้ป่วยไม่รับทราบและอนุญาต
3.3 เทคนิคให้การสัมภาษณ์เป็นไปอย่างราบรื่น (Allow the
interview to flow freely)
- ใ ห้ ผู้ ป่ วยเล่ าห รืออ ธิบ าย ต าม ที่ ผู้ ป่วย อย าก เล่ า
และพยายามใช้คาถามให้ผู้ป่วยพูดหรือเล่าถึงอาการหรือสิ่งที่ผู้ป่วยกั
งวลและให้ความสาคัญ เช่น “อะไรทาให้คุณตัดสินใจมาโรงพยาบาล”
เป็นต้น
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 10
-
คาถามในช่วงแรกควรเป็นคาถามที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถเล่าเ
รื่ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง เ ช่ น
“คุณ....เล่าว่าคุณรู้สึกไม่สบายใจตั้งแต่คุณแม่ต้องเข้าโรงพยาบาล
บอกดิฉันเพิ่มเติมได้ไหมคะว่าคุณรู้สึกอย่างไร”
- ถามถึงอาการสาคัญ (Exploring the chief compliant)
โดยเน้นให้ผู้ป่วยเล่าถึงที่มา
ของอาการ เช่น “อะไรทาให้คุณตัดสินใจมาโรงพยาบาล”
- จั ด ล า ดั บ ค ว า ม ส า คั ญ ( Negotiates priorities)
โดยควรช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเล่าถึงอาการตามลาดับความสาคัญ
ถ าม ผู้ ป่ วยที ล ะ ป ร ะ เด็ น ไ ม่เป ลี่ ยน ค าถ ามก ลั บ ไ ป ก ลับ ม า
โ ด ย ถ า ม ต า ม ป ร ะ เด็ น ที่ ผู้ ป่ ว ย ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ก่ อ น
ไ ม่ ค ว ร ถ า ม ต า ม ที่ ผู้ ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ ก า ห น ด ม า
เนื่องจากจะทาให้ผู้ป่วยรู้สึกเหมือนผู้สัมภาษณ์ไม่รับฟังและไม่เข้าใจผู้
ป่วย
- พ ยายามห ลี ก เลี่ ยงค าก าก วมห รือ ค าแสลง เช่ น
ห า ก ผู้ ป่ ว ย บ อ ก ว่ า ต น เ อ ง เ ป็ น “ บ้ า ”
ค ว ร ท า ค ว า ม เข้ า ใ จ กั บ ผู้ ป่ ว ย ใ ห้ ก ร ะ จ่ า ง เช่ น ถ า ม ว่ า
“ช่วยบอกดิฉันได้ไหมคะว่าคาว่าบ้าของคุณหมายถึงอะไร”
- ห ลี ก เลี่ ย งก าร ใ ช้ ค าถ าม น า (Leading question)
หรือคาถามปลายปิด (Close question) เช่น คาว่า “ใช่ไหมคะ”
“คุ ณ บ อก ว่ารู้สึก เศร้าๆ ช่ วยเล่าให้ ฟั งได้ไห มค ะ” เป็น ต้ น
แ ต่ ค ว ร ใ ห้ ค า ถ า ม ป ล า ย เ ปิ ด เ ช่ น
“ช่วยเล่าเกี่ยวกับความรู้สึกเศร้าของคุณให้ฟังหน่อย”
- ติดตามเรื่องราวอย่างต่อเนื่อง (Maintains a narrative
thread) โ ด ย ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย เล่ า เรื่ อ ง ร า ว อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง
เพื่ อ ใ ห้ เข้ า ใ จ แ ล ะ เห็ น ภ า พ ปั ญ ห า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย เช่ น
“ เ มื่ อ สั ก ค รู่ คุ ณ พู ด ว่ า ท้ อ แ ท้ ไ ม่ อ ย า ก ท า อ ะ ไ ร
คุณลองยกตัวอย่างให้เห็นภาพได้ไหมว่าคุณเบื่อขนาดไหน”
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 11
- ส า ร ว จ ล ง ลึ ก ( Uses cone format)
ถ้ า พ บ ว่ า ป ร ะ เด็ น ที่ ผู้ ป่ ว ย เล่ า นั้ น มี ค ว า ม ส า คั ญ เช่ น
ถ้ า ผู้ ป่ ว ย ต อ บ ว่ า เค ย คิ ด อ ย า ก ต า ย ค ว ร ถ า ม ต่ อ ว่ า
“คุณเคยคิดจะทาร้ายตัวเองด้วยวิธีไหน”
- ค ว ร ส รุป แ ล น าสู่ ป ร ะ เด็ น (Summarization and
transition of topic) โ ด ย ก่ อ น จ ะ เป ลี่ ย น ไ ป ถ า ม เรื่ อ ง อื่ น
ควร สรุป ป ระ เด็น ที่ไ ด้คุยไป กับ ผู้ป่วยแล้วสั้น ๆ ใ ห้ผู้ป่วยฟั ง
เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าผู้ให้สัมภาษณ์ได้เห็นและเข้าใจปัญหาของเขา
แล้วจึงค่อยเริ่มไปถามในประเด็นอื่น เช่น “เมื่อสักครู่คุณเล่าให้ฟังว่า
คุณ รู้สึก เบื่อห น่ าย ท้ อแ ท้ น อน ไม่ห ลับ ไม่ อยาก กิ น อะ ไร
โ ด ย มี อ า ก า ร ม า 2-3 เ ดื อ น แ ล้ ว ” ( summarization)
“ตอนนี้ดิฉันอยากทราบว่าปกติคุณดื่มเหล่าบ้างหรือไม่” (transition of
topic)
3.4 การจบการสัมภาษณ์ (Closing an interview)
- เปิ ด โอ ก า ส ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ถ าม (Asks for questions)
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถสอบถามถึงสิ่งที่ผู้ป่วยยังไม่กระจ่างหรือสงสัย
เช่น “ยังมีเวลาอีก 2-3 นาที คุณมีอะไรสงสัยอยากจะถามไหมคะ”
เป็นต้น
- แ ส ด ง ค ว า ม ชื่ น ช ม ( Shows appreciation)
ถ้ า ผู้ ป่ ว ย ดู แ ล ตั ว เ อ ง ไ ด้ ดี เ ช่ น
“ดิ ฉั น ดี ใ จ ที่ คุ ณ ...ดู แ ล ตั ว เอ ง ไ ด้ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ
ข อ ใ ห้ คุ ณ . . . ท า อ ย่ า ง นี้ ต่ อ ไ ป
ถ้ามีอะไรไม่มั่นใจก็มาคุยหรือถามดิฉันได้นะคะ” เป็นต้น
- ค ว ร บ อ ก เ ว ล า นั ด ห ม า ย ใ น ค รั้ ง ต่ อ ไ ป
และให้เหตุผลที่เหมาะสมในการนัดผู้ป่วยอีก
 องค์ประกอบสาคัญของการประเมินทางจิตเวช
องค์ประกอบสาคัญของการประเมินทางจิตเวช ประกอบด้วย
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 12
4.1 ประวัติทางจิตเวช (Psychiatric history)
1) ข้อมูลพื้นฐาน (Background information)
ได้แก่ ชื่อ อายุ เพศ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา การศึกษา
สถานภาพสมรส ภูมิลาเนา
เดิม ที่อยู่ปัจจุบัน อาชีพ รายได้ วัน ที่รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
และข้อมูลที่กล่าวถึงที่มาของการมา โรงพยาบาล ในครั้งนี้
(อาจมาด้วยความสมัครใจ หรือถูกนาส่งมา) ตัวอย่างเช่น
“V inc e nt ถู ก น าส่งโด ยตาร วจม าที่ โร งพ ย าบ าล
ต อ น เ ช้ า ข อ ง วั น ที่ 2 4 ธั น ว า ค ม 1 8 8 8
เ ห ตุ เ กิ ด เ มื่ อ คื น โ ด ย เ ข า ใ ช้ มี ด ขู่ ท า ร้ า ย เ พื่ อ น
และเอะอะโวยวายเรียกหาหญิ งข ายบริก ารคนหนึ่งชื่อราเชล
เข าต้ องก าร มอบ ใบหู ข องเข าให้ กับ ร าเชล และบ อก เธอว่า
“ ใ ห้ ดู แ ล ใ บ หู นี้ ใ ห้ ดี ” จ า ก นั้ น ก็ จ า ก ไ ป
ต า ร ว จ เห็ น ร อ ย เลื อ ด อ ยู่ บ ริ เว ณ บั น ไ ด ใ น บ้ า น เ ข า
แ ล ะ พ บ เ ข า น อ น ห ม ด ส ติ อ ยู่ บ น เ ตี ย ง
มีเลือดไหลบริเวณใบหูจึงนาส่งโรงพยาบาล”
2) อาการสาคัญของผู้ป่วย (Chief complaint)
อ า ก า ร ส า คั ญ คื อ
อาการที่ผู้ป่วยคิดว่าเป็นปัญหาสาคัญที่ทาให้ต้องมารับการรักษาพยา
บ า ล โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ
ค า พู ด จ า ก ก า ร บ อ ก ก ล่ า ว ข อ ง ผู้ ป่ ว ย โ ด ย ต ร ง
เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ที่ แ ท้ จ ริ ง จ า ก ผู้ ป่ ว ย
ไม่ใช่ข้อมูลที่ได้จากการตีความของผู้ประเมินซึ่งอาจตีความผิดพลาด
คาถามที่ใช้ควรเป็นคาถามปลายเปิดที่จะช่วยให้ผู้ป่วยเล่าถึงอาการห
รือสาเหตุที่ทาให้ผู้ป่วยเดือดร้อนหรือทุกข์ใจ เช่น
“เพราะอะไรคุณถึงมาโรงพยาบาล/อะไรทาให้คุณมาโรงพยาบาล
”
“ ช่ ว ย เ ล่ า ใ ห้ ดิ ฉั น ฟั ง สิ ค ะ ว่ า
คุณมีอาการอย่างไรถึงมาโรงพยาบาล”
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 13
การบันทึกอาการสาคัญให้บันทึกอาการสาคัญที่นาผู้ป่วยม
ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้
อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลั ก ก า ร
ซึ่ ง แ ม้ จ ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ค า บ อ ก เล่ า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย
แต่ไม่ควรบันทึกคาบอกเล่าที่ไม่แน่นอนของผู้ป่วยและไม่บันทึกอาการ
ที่เป็นชื่อโรค ซึ่งหากผู้ป่วยไม่สามารถบอกอาการสาคัญของตนเองได้
อ า จ อ นุ โ ล ม ใ ห้ บั น ทึ ก จ า ก ค า บ อ ก เล่ า ข อ ง ญ า ติ
โดยการบันทึกอาการต้องระบุถึง อาการที่นาผู้ป่วยมาโรงพยาบาล
เ ป็ น อ า ก า ร ที่ ผู้ ป่ ว ย รู้ สึ ก ร บ ก ว น เ ข า ม า ก ที่ สุ ด
โดยบรรยายลักษณะอาการโดยย่อพร้อมระยะเวลาตั้งแต่เกิดอาการดัง
กล่าว จนถึงขณะเวลาที่ซักประวัติผู้ป่วย
3 ) ป ร ะ วัติค ว ามเจ็บ ป่ว ยใ น ปัจ จุบัน (History of
presenting complaint)
บรรยายถึงลาดับขั้นตอนความเจ็บป่วยที่ทาให้ผู้ป่วยมาโร
งพยาบาลในครั้งนี้ โดยประเมิน
จ า ก ปั ญ ห า ที่ ผู้ ป่ ว ย บ อ ก ก ล่ า ว ใ ช้ N O T E P A D
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมดังนี้
N = Nature of ploblem ลักษณะ/รูปแบบของปัญหา เช่น
ความกังวล อารมณ์ คิด
ห ล ง ผิ ด ป ร ะ ส า ท ห ล อ น ปั ญ ห า ก า ร ป รั บ ตั ว ห รื อ
อาการเจ็บป่วยทางกาย เป็นต้น
O = Onset ระยะเวลาที่เริ่มเกิดอาการ
T = Triggers สิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการ
E = E x a c e r b a tin g / r e le v in g f a c t o r s
สิ่งที่ทาให้อาการแย่ลงหรือดีขึ้น
P = Progression (improving, worsening or staying
the same; intermittent or
con tinu ou s) การ เป ลี่ยน แปลงข องอาก าร เช่น ดีขึ้น แย่ลง
หรือยังคงเดิม เป็นครั้งคราวหรือต่อเนื่อง
A = Associated symtoms อาการอื่นร่วมด้วย
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 14
D = D is a b ility ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต
(การไร้ความสามารถ/ไร้สมรรถภาพ)
ก่อนจะสิ้นสุดข้อมูลในประเด็นนี้ ให้ถามผู้ป่วยเพิ่มเติมว่า
“ มี อ ะ ไ ร อี ก ไ ห ม ค ะ ที่ คุ ณ จ ะ เ ล่ า ใ ห้ ฟั ง
หรือที่ดิฉันควรจะทราบเกี่ยวกับคุณ”
ตัวอย่างการบันทึกประวัติความเจ็บป่วยในปัจจุบัน เช่น
“ วิ น เ ซ็ น ต์ เ ล่ า ว่ า เ มื่ อ 4
สัปด าห์ ที่ ผ่าน มาเข ารู้สึก ว่าพ ร ะ เจ้ าก าลังลงโท ษ เข า
เขาปฏิเสธว่า
เ ข า ไ ม่ ไ ด้ ยิ น เ สี ย ง พ ร ะ เ จ้ า
แ ต่ เข า รู้ สึ ก ไ ด้ ว่ า พ ร ะ เ จ้ า ก า ลั ง สื่ อ ส า ร กั บ เข า อ ยู่
ซึ่ ง มี เ พี ย ง เ ข า ค น เ ดี ย ว ที่ จ ะ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้
เ ข า ไ ม่ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ บ อ ก ไ ด้ ว่ า มั น คื อ อ ะ ไ ร
เข าเล่าว่าเข ามีความคิด สับสนเช่นนี้มากว่า 3-4 สัปด าห์แล้ว
และความคิดนี้มันถี่ขึ้นเรื่อยๆ จนเสียง ในหัวนี้ทาให้เขาทนไม่ไหว
เขาบอก ด้วยว่า เข าไม่อยากกินอะไร นอนหลับเพียงแค่ 2 -3
ชม.ในคืนหนึ่ง และเอาแต่วาดรูปเพื่อให้พระเจ้าพึงพอใจในตัวเขา
วินเซ็นต์ไม่ได้บอกว่าอารมณ์เขามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
แ ต่ เ ข า พู ด ว่ า อ า ร ม ณ์ เ ข า ขึ้ น ๆ ล ง ๆ
เปลี่ยนอารมณ์ เปลี่ยน แปลงเร็วไปพ ร้อมๆ กับความคิ ด เข า
และเป็นอย่างนี้มากว่าเดือนแล้ว
วินเซ็นต์ไม่สามารถบอกได้ว่าอะไรเป็นสาเหตุของอาการของเข
า ใ น ค รั้ ง นี้ แ ต่ จ า ก เห ตุ ก า ร ณ์ ที่ เข า ขู่ ท า ร้ า ย เพื่ อ น
เขาไม่ได้บอกว่าทาไปเพราะอะไร ทาไมถึงต้องตัดใบหูตนเอง
เขาเพียงแต่บอกว่า “มันเป็นเรื่อง ส่วนตัวที่เขาบอกใครไม่ได้”
4) ประวัติความเจ็บป่วยทางจิต
ถามถึงประวัติการรักษาทางจิตเวช ประวัติอาการทางจิต
หรือประวัติเกี่ยวกับความเครียด
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 15
แ ล ะ อ า ก า ร ซึ ม เศ ร้ า ที่ เค ย มี แ ต่ ไ ม่ เค ย ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า
คาถามที่มักใช้ได้แก่
“คุณเคยมีอาการเช่นนี้เกิดขึ้นก่อนหน้านี้หรือเปล่า”
“คุณเคยมีอาการเครียดหรือปัญหาสุขภาพจิตมาก่อนหน้า
นี้หรือเปล่า”
ห า ก มี ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ท า ง จิ ต
ให้ถามเกี่ยวกับระยะเวลาที่เป็น หรือระยะเวลาที่เข้า
รั บ ก า ร รั ก ษ า ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า
อ าก า ร ห รื อ ภ าว ะ เสี่ ย งที่ เค ย เกิ ด ขึ้ น ข ณ ะ มี อ า ก าร เช่ น
การทาร้ายตนเอง การคิด ฆ่าตัวตาย หรือพฤติกรรมรุนแรง เป็นต้น
5) ประวัติความเจ็บป่วยทางกาย
ถามถึงประวัติความเจ็บป่วยทางกายที่อาจส่งผลต่ออาการทางจิ
ต หรือประวัติความเจ็บป่วยทางกาย ที่ต้องเฝ้าระวังในการดูแลรักษา
6) ประวัติการใช้ยาและแพ้ยา
ถามถึงยาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันทั้งยาที่แพทย์เคยสั่งให้กับผู้ป่
วยและยาที่ผู้ป่วยซื้อทานเอง
รวมทั้งประวัติการแพ้ยา
7) ประวัติครอบครัว
สร้างแผนภาพ Genogram แสดงโครงสร้างครอบครัว (3
ช่วงชั้น) นอกจากนั้นถามถึง
ประวัติ ครอบครัวที่ใกล้ชิดตามแผนภาพ ได้แก่ ชื่อ อายุ อาชีพ
ป ร ะ วัติ ก าร เจ็บ ป่ วยท างจิต ป ร ะ วัติค วาม เจ็บ ป่วยท างก าย
หากถึงแก่ชีวิต ให้ถามถึงสาเหตุการเสียชีวิตและอายุขณะเสียชีวิต
คาถามที่ใช้ เช่น
“มีใครในครอบครัวเคยมีอาการเครียดหรือเคยพบแพทย์เกี่
ยวกับอาการทางจิตหรือเปล่า”
นอกจากนั้นให้ถามถึงลักษณะนิสัยของบุคคลในครอบครัว
สัมพัน ธภาพ ใน ค รอบค รัว ลัก ษณ ะก ารสื่อสารใน ค รอบค รัว
รู ป แ บ บ ก า ร เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า ค ร อ บ ค รั ว
การค วบ คุมพ ฤติกร รมสมาชิกใน ค รอบ ค รัว สภาพ เศรษฐกิจ
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 16
และ สภาพ แวด ล้อมต่ าง ๆ รวม ทั้งร ะ บุข้ อมูล เกี่ ยวกับ ญ าติ
หรือบุคคลที่มีความสาคัญต่อผู้ป่วย คาถามที่ใช้ เช่น
“ช่วยเล่าชีวิตครอบครัวของคุณให้หน่อยสิคะ”
“พ่ อ แ ม่ ห รื อ พี่ น้ อ ง คุ ณ มี นิ สั ย อ ย่ า ง ไ ร บ้ า ง
ช่วยเล่าให้ฟังหน่อยสิคะ”
8) ประวัติส่วนตัว
ถามเกี่ยวกับเรื่องราวชีวิตของผู้ป่วย ให้ได้ข้อมูลมากที่สุด
8 . 1 ก า ร ตั้ ง ค ร ร ภ์ ก า ร ค ล อ ด
และพัฒนาการในวัยทารก
ถามถึงประวัติการตั้งค รรภ์และการคลอด เช่น
การคลอดก่อนกาหนด อาการ
แทรกซ้อนขณ ะคลอด ลักษณ ะการคลอด (คลอดเองหรือผ่าตัด)
ปัญหาหลังคลอด และประวัติพัฒนาการตั้งแต่วัยทารก
8.2 ภูมิหลังครอบครัวและชีวิตในวัยเด็ก
ถ า ม ถึ ง ชี วิ ต ใ น วั ย เ ด็ ก
รวมถึงสัมพันธภาพในวัยเด็กกับครอบครัว เช่น พ่อแม่
แ ย ก กั น ก า ร ถู ก ท า รุ ณ ก ร ร ม
ถามถึงความคิดความรู้สึกต่อตนเองในวัยเด็ก คาถามที่ใช้ เช่น
“ชี วิ ต ใ น วั ย เ ด็ ก ข อ ง คุ ณ เป็ น อ ย่ า ง ไ ร
ช่วยเล่าให้ฟังหน่อยสิคะ”
8.3 การศึกษา
ประวัติการศึกษาจะบ่งบอกถึงระดับสติปัญญ า
บุคลิกภาพและความสามารถในการเข้าสังคม รวมถึงระดับสติปัญญา
โดยถามถึงผลการเรียนหรือปัญหาการเรียน คาถามที่ใช้ เช่น
“ช่วยเล่าเกี่ยวกับปัญหาในวัยเรียนของคุณให้ฟังหน่อย”
“คุณชอบเรียนอะไร เพราะอะไร”
“เพื่อนที่โรงเรียนเป็นอย่างไร”
“คุณเป็นคนขี้อายหรือชอบแสดงออก”
“ความสัมพันธ์ของคุณกับเพื่อนและกับครูเป็นอย่างไรบ้าง”
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 17
“ผลการเรียนของคุณเป็นอย่างไร”
8.4 อาชีพการงาน
ถามถึงอาชีพการงานของผู้ป่วย ระยะเวลาที่ทางาน
ห รื อ ก า ร อ อ ก จ า ก ง า น ด้ ว ย เ ห ตุ ผ ล อ ะ ไ ร
ถามถึงความคิดความรู้สึกต่องานที่ทา เช่น ชอบงานที่ท าไห ม
หน้าที่ความรับผิดชอบในงาน และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
8.5 ความสัมพันธ์ทางเพศ/ชีวิตสมรส
ถามถึงประวัติความสัมพันธ์ทางเพศตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ชี วิต สม ร ส ห าก มีป ร ะ วัติ ก าร เลิก ร า ข ณ ะ มี ค วามสั มพั น ธ์
ก า ร แ ย ก กั น อ ยู่ ห รื อ ห ย่ า ร้ า ง ใ ห้ ถ า ม ถึ ง เห ตุ ผ ล
เพื่อให้ทราบถึงรูปแบบความสัมพันธ์ ทางเพศของผู้ป่วย
8.6 วัยต่อและวัยชรา
ใ ห้ เ ล่ า ป ร ะ วั ติ ชี วิ ต ใ น วั ย ดั ง ก ล่ า ว
(หากผู้ป่วยยังไม่ถึงวัยดังกล่าว ไม่ต้องถาม)
9) การใช้สารเสพติด
ถ ามถึงป ร ะวัติก ารใ ช้สาร เสพ ติด เช่น เห ล้า บุห รี่
ห รื อ ส า ร เส พ ติ ด ช นิ ด อื่ น ตั้ ง แ ต่ เริ่ ม ใ ช้ จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น
หรือเมื่อหยุดใช้ด้วยสาเหตุใด หรือประวัติการรักษาการติดสารเสพติด
รวมทั้งอาการข้างเคียงจากการใช้ สารเสพติดที่เคยเกิดขึ้น เช่น
ตับอักเสบ หรืออาการขาดยา เป็นต้น
10) ประวัติอาชญากรรม
ถามถึงประวัติหรือพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกระทาผิดกฏหม
ายในลักษณ ะต่างๆ โดยเจตนาหรือไม่เจตนา ผลตัดสินความผิด
ระบุใ ห้ชั ด เจ น ว่าเห ตุก าร ณ์ เกิด ขึ้ น ใ น ก่อน มีอาก าร ท างจิต
ห รื อ ร ะ ห ว่ า ง ที่ ป่ ว ย ห รื อ มี อ า ก า ร ท า ง จิ ต
หากเกิดในขณะที่มีอาการทางจิตให้ระบุให้ชัดเจนว่าอาการลักษณะใ
ด ที่ เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร ก ร ะ ท า ผิ ด ก ฏ ห ม า ย เ ช่ น
ท า ร้ า ย ผู้ อื่ น จ า ก ภ า ว ะ ห ว า ด ร ะ แ ว ง
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 18
หรือขโมยของเนื่องจากมีอาการอยากยา เป็นต้น คาถามที่ใช้ เช่น
“คุณเคยมีเรื่องราวที่ทาให้ต้องขึ้นโรงพักไหม”
11) บุคลิกภาพ/ลักษณะนิสัย
ระบุถึงลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพของผู้ป่วยก่อนที่จะมีอาการท
างจิต เช่น ผู้ป่วยเป็นคนก้าวร้าว มักทาร้ายร่างกายภรรยาบ่อยๆ
หรือตอนเด็กๆ ผู้ป่วยชอบทาตัวเป็นอันธพาล ต่อยตีกับเพื่อนๆ บ่อย
เป็นต้น คาถามที่ใช้เช่น
“ก่อนที่จะป่วย คุณคิดว่าคุณเป็นคนอย่างไร”
“เพื่อนๆ คุณมองว่าคุณเป็นคนอย่างไร”
“เวลามีปัญหาคุณมักจะหาทางแก้ปัญหาอย่างไร”
นอกจากนั้นให้ระบุจุดเด่นและข้อดีของผู้ป่วยสั้นๆ เช่น
ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เศ ษ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร รั ก ษ า
ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการบาบัดรักษาผู้ป่วยต่อไป
12) ลักษณะทางจิตวิญญาณ
อธิบายถึงความคิด ความเชื่อ และค่านิยมของผู้ป่วย
คาถามเช่น
“คุณมีความเชื่ออย่างไรเกี่ยวกับความผิดชอบชั่วดี” หรือ
“คุณมีความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาอย่างไร”
13) ประวัติทางสังคมแวดล้อม
อ ธิ บ า ย ถึ ง ส ภ า พ สั ง ค ม แ ว ด ล้ อ ม ผู้ ป่ ว ย
แบบแผนการดาเนินชีวิตในสังคมในปัจจุบัน เช่น ลักษณะที่อยู่อาศัย
ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว งานอดิเรกหรือกิจกรรมที่สนใจ
ภาระที่ต้องดูแล เครือข่ายทางสังคมในลักษณะต่างๆ
จ า ก ก า ร ซั ก ป ร ะ วั ติ ทั้ ง ห ม ด
ควรตรวจสอบว่าข้อมูลที่ได้เพียงพอหรือยังจากการใช้คาถาม
เช่น
“ เ ร า คุ ย กั น ม า ม า ก ม า ย วั น นี้
มีเรื่องอะไรที่คุณคิดว่าควรจะเล่าให้ดิฉันฟังอีกไหมคะ”
“ยังมีเรื่องอะไรที่พยาบาลควรจะทราบเกี่ยวกับตัวคุณอีกไหมคะ”
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 19
14) ประวัติจากคนใกล้ชิด
ข้ อ มู ล จ า ก ค น ใ ก ล้ ชิ ด ผู้ ป่ ว ย
เป็นอีกแหล่งข้อมูลที่สาคัญและมีประโยชน์ในการวินิจฉัยและรักษาพ
ย า บ า ล
โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถบอกเล่าเรื่องราวได้หรือไม่อยา
ก บ อ ก เ ล่ า เ รื่ อ ง ร า ว
อย่างไรก็ตามไม่ควรตัดสินว่าประวัติจากคนใกล้ชิดผู้ป่วยจะถูกต้องเส
มอไป
4.2 การประเมินสภาพจิต (Mental Status Examination)
1) รู ป ร่ า ง ลั ก ษ ณ ะ ( Ap p e ar a n c e )
และพฤติกรรมการแสดงออก (Behavior)
1.1) ลักษณะทั่วไป (General appearance)
เริ่มจากอายุ เพศ โครงสร้างร่างกาย และเชื้อชาติ
ทรงผม การแต่งหน้า เสื้อผ้าที่สวมใส่ ความผิดปกติทางร่างกาย เช่น
ใช้เครื่องช่วยฟัง อัมพาตครึ่งซีก มีภาวะผอมโซขาดน้าแผลเป็น
รอยสัก การเจาะหู แผลเย็บ การดูแลตนเอง เช่น สะอาด เรียบร้อย
หรือไม่สนใจตัวเอง ไม่เรียบร้อย ผมยุ่งเหยิง เสื้อผ้ามีรอยเปื้อน
กลิ่นที่ผิดปกติ เช่น กลิ่นตัว กลิ่นปัสสาวะ หรือกลิ่นสุรา
1.2) ภาษากาย (Body language)
ก าร แ สด งสีห น้ า เช่ น ยิ้ม ห น้ านิ่ วคิ้ วข มว ด
หน้าตาตื่นตระหนก
- การสบ สายต า เช่น สบ ตาเห มาะสม มองจ้อง
(Staring) หลบตาต่า (Downcast) หลีกเลี่ยงการสบตา/ไม่สบตา
( A v o i d a n t ) ห รื อ ม อ ง ต า ม สิ่ ง เ ร้ า ร อ บ ข้ า ง
ถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้ารอบข้างได้ง่าย (Distracted)
- ลักษณะท่าทาง เช่น ผู้ป่วยซึมเศร้าที่นั่งไหล่ตก
- ระดับการตื่นตัว เช่น ตื่นตัวมาก หรือเชื่องช้า
- ก ารก ระท าห รือพ ฤติก รร มใ น ข ณ ะนั้น เช่ น
เดินวนไปมารอบห้อง หรือควบคุมตัวเองไม่ได้ (ถอดเสื้อผ้าออก)
เดินช้า พูดรัวเร็ว เป็นต้น
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 20
- ลักษณะสัมพันธภาพ เช่น แยกตัว ห่างเหิน เย็นชา
สุภาพ เป็นมิตร หยาบคาย หวาดระแวง ระวังตัว
- ลั ก ษ ณ ะ อื่ น ๆ ที่ แ ส ด งถึ งก าร รับ รู้ ผิ ด ป ก ติ
ห รื อ ป ร ะ ส า ท ห ล อ น เ ช่ น พู ด พึ ม พ า ค น เ ดี ย ว
ม อ ง ไ ป ที่ ใ ด ที่ ห นึ่ ง โ ด ย ไ ม่ มี อ ะ ไ ร อ ยู่
หรือเหมือนพูดโต้ตอบกับใครที่ไม่มีตัวตน
1.3) พฤติกรรมการเคลื่อนไหว (Motorbehavior)
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว เช่น
P s y c h o m o t o r a g i t a t i o n
ความคิดและการเคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้นจากความกดดันภายในใจ
ทาให้อยู่เฉยไม่ได้ วุ่นวาย กระสับกระส่าย
Psychomotorretardation ความคิด การเคลื่อนไหว
และการพูดจาช้าลง ไม่ค่อยมีน้าเสียง และมักจะอยู่เฉยๆ นิ่งๆ
S te re o ty p e y ก า ร ก ร ะ ท า ห รื อ พู ด ซ้ า ๆ
เห มือน เดิมอยู่ต ลอด โด ยไม่มีจุด มุ่งห มาย เช่น โยก ตัวไป มา
เอามือถูศีรษะตลอดเวลา
M a n n e ris m ก า ร ก ร ะ ท า ห รื อ พู ด ซ้ า ๆ
แต่มีจุดมุ่งหมาย เช่น เอามือปัดผมออก
C a t a t o n i a
ก า ร เค ลื่ อ น ไ ห ว ผิ ด ป ก ติ โ ด ย ไ ม่ มี ส าเห ตุ ท า ง ก า ย เช่ น
Catatonicexcitem ent (วุ่นวาย เคลื่อนไหวมาก ไร้จุดหมาย)
C a ta to n ic s tu p o r (เค ลื่ อ น ไ ห ว ล ด ล ง ม า ก อ ยู่ นิ่ ง เฉ ย
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม) Catatonicposturing (อยู่ในท่าแปลกๆ นานๆ
ไม่เปลี่ยนท่า)
Co m p ulsion การก ระทาห รือพ ฤติกรรมซ้าๆ
ที่ ผู้ ป่ ว ย ต้ อ ง ก า ร ที่ จ ะ ท า พ ฤ ติ ก ร ร ม เดิ ม ๆ อ ยู่ เรื่ อ ย ๆ
โด ยไ ม่อาจ หัก ห้ามใจ ได้ (แม้รู้ว่าเป็นก ารก ระทาที่ไร้เหตุผล
แต่ก็ไม่สามารถยับยั้งใจไม่ให้ทาได้)
ลักษณะการเคลื่อนไหวผิดปกติเนื่องจากฤทธิ์ข้างเคีย
งของยาต้านโรคจิต (Extrapyramidal sideeffect, EPS) ได้แก่
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 21
A k a th is ia ไ ม่ ส บ า ย ไ ม่ ว่ าจ ะ อ ยู่ ใ น ท่ า ใ ด
มีอาการผุดลุกผุดนั่ง
P a rk in s o n is m อาก าร สั่น (tre m o r) ห รื อ
pillrollingtremor เดินลากเท้า (shufflinggait) เคลื่อนไหวช้าลง
(slowedmovements) หรือ ร่างกายแข็งเกร็ง (rigidity)
Tardivedyskinesia ขมุบขมิบปากหรือดูดริมฝีปาก
ลิ้น สั่น เมื่อแลบ ลิ้น ห รือลิ้น ก ระด ก ไ ป ข้างห น้าห รือข้างห ลัง
ลิ้น ม้ วน ไ ป ม าใ น ป าก ห รือดุน แก้ มห รือ จุก บ ริเวณ ริมฝีป าก
มีการข ยับ ข องข ากรรไ กรทั้ง 2 ข้าง มีอาการ ขยับนิ้ว บีบมือ
คอบิดเอียง
2) อารมณ์ (Mood)
A ffe c t ห ม า ย ถึ ง อ า ร ม ณ์ ที่ แ ส ด ง อ อ ก ม า
บุคคลภายนอกรับรู้และสังเกตเห็นจากสีหน้าท่าทาง
M oo d ห มายถึง อารมณ์ ที่ อยู่ภายใ น จิต ใ จบุค ค ล
เป็ น ภ าว ะ ที่ ค ง อ ยู่ น า น เกิ ด จ า ก ก าร รั บ รู้ ป ร ะ ส บ ก าร ณ์
และมักส่งผลต่อบุคลิกภาพหรือพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลนั้น
เที ยบ เคียงกับ ก ารโยน หิน ไ ป ใ น ท ะ เล สาป M o o d
เ ป รี ย บ เ ห มื อ น ท ะ เ ล ส า ป เ มื่ อ เ ร า โ ย น หิ น ไ ป
น้าจะกระเพื่อมให้เห็นซึ่งก็คือ Affect นั่นเอง
Affect แบ่งเป็น
ขอบเขตและความมากน้อยของอารมณ์
Restrictedaffect การแสดงออกของอารมณ์ลด ลง
สังเกตเห็นได้ชัด
Flat/Bluntedaffect ไม่แสดงออกทางอารมณ์ เฉยเมย
น้ า เสี ย ง ร า บ เรี ย บ (เห มื อ น โ ย น หิ น ล ง ไ ป ใ น ท ะ เล ส า ป
แต่ไม่มีการกระเพื่อมของน้าเลย)
ความคงอยู่ของอารมณ์
L a b ile a ff e c t อ า ร ม ณ์ เป ลี่ ย น ไ ป ม า ง่ า ย
มีการควบคุมการแสดงออกของอารมณ์น้อย เช่น กาลังเสียใจอยู่
แต่พอได้ยินเรื่องตลกก็หัวเราะขึ้นมาทันที
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 22
ความเหมาะสมของอารมณ์ที่แสดงออก
A p p r o p r i a t e a f f e c t
ก า ร แ ส ด งอ อ ก ข อ งอ า ร ม ณ์ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เนื้ อ ห าที่ พู ด
หรือความคิดในขณะนั้น
In a p p r o p r ia t e / I n c o n g r u e n t a f f e c t
ก าร แ สด ง ออ ก ข อ งอ าร ม ณ์ ไ ม่ ส อ ด ค ล้อ งกั บ เนื้ อ ห า ที่ พู ด
ห รื อ ค ว า ม คิ ด ใ น ข ณ ะ นั้ น อ ย่ า ง เห็ น ไ ด้ ชั ด เช่ น
ผู้ป่วยอมยิ้มขณะเล่าเรื่องที่แม่เสียชีวิต
** การบันทึกอารมณ์ของผู้ป่วย บันทึกทั้งในลักษณะที่เป็น
S u b j e c t i v e คื อ อ า ร ม ณ์ ที่ ผู้ ป่ ว ย บ อ ก
โดยบันทึกเป็นคาพูดที่ผู้ป่วยพูดออกมา และการบันทึกในลักษณะ
O b je c tiv e คื อ ก าร บั น ทึ ก อ าร มณ์ จ าก ที่ สั งเก ต เห็ น เช่ น
อารมณ์หงุดหงิด เศร้า อารมณ์ดี กังวล ยุ่งยากใจ เป็นต้น
Mood
Dysphoricmood ความรู้สึกทุกข์ทรมาน ไม่สบายใจ เช่น
ซึมเศร้า วิตกกังวล
Euthymicmood อารมณ์อยู่ในขอบเขตปกติ ไม่ซึมเศร้า
หรือครื้นเครงผิดปกติ
Ele v a te d m o o d มีค วามสุข รื่น เริงขึ้ น ก ว่าป ก ติ
แต่ไม่จาเป็นต้องผิดปกติเสมอไป
E u p h o r i c m o o d มี ค ว า ม สุ ข
รู้ สึ ก ส บ า ย ม า ก เ กิ น ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง
เป็นภาวะที่แสดงถึงความผิดปกติทางอารมณ์
Irritablemood อารมณ์ขุ่นเคือง หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย
อาการอื่นๆ
A n x i e t y ค ว า ม รู้ สึ ก วิ ต ก กั ง ว ล
ห วั่น เก ร งว่าจ ะ เกิ ด เรื่องร้ายขึ้ น กับ ต น เองห รือ ค น ใ ก ล้ ชิ ด
มักเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือสิ่งที่ทาให้ไม่สบายใจ
F r e e -f l o a t i n g a n x i e t y
เป็นความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นมาโดยไม่มีสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเ
ป็นพิเศษ
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 23
P a n i c a t t a c k
ความวิตกกังวลหรือตื่นตระหนกที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงในทันทีทันใด
ร่วมไปกับอาการต่างๆ ทางร่างกาย เช่น ใจสั่น หายใจขัด
Apathy เป็นภาวะที่หมดความรู้สึกความสนใจต่อสิ่งต่างๆ
ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ท า ง อ า ร ม ณ์ อ า จ ล ด ล ง มั ก จ ะ เฉื่ อ ย ช า
ขาดความกระตือรือร้น และผู้ป่วยไม่ตระหนักถึงความผิดปกติของตน
A n h e d o n ia ผู้ ป่ ว ย ไ ม่ ส าม าร ถ ที่ จ ะ มี ค ว าม สุ ข
ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ เห มื อ น อ ย่ า ง เค ย
ผู้ป่วยรับรู้ต่อการเปลี่ยนไปของตนเอง
A m b i v a l e n t
มีความรู้สึกสองอย่างที่ตรงข้ามกันต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในขณะเดียวกัน
3) การพูดและการใช้ภาษา (Speech and language)
กระแสคาพูดกับความคิดเป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ออก
ก ร ะ แส ค าพู ด เป็ น ห น้ าต่ างที่ เปิ ด ไ ป สู่ค วาม คิ ด ข องบุ ค ค ล
เปรียบกระแสคาพูดเหมือนรถไฟ ความคิดจะเป็นผู้โดยสารในรถไฟ
แล ะ เส้ น ท า งข อ งร ถ ไ ฟ จ า ก ส ถ านี ห นึ่ งไ ป อีก ส ถ านี ห นึ่ ง
คือการเปลี่ยนแปลงหรือการขับเคลื่อนของความคิด
P r e s s u r e o f s p e e c h
เปรียบเหมือนรถไฟที่ขับเร็วมากและเต็มไปด้วยผู้โดยสาร กล่าวคือ
ผู้ป่วยจะพูดเร็ว เต็มไปด้วยเนื้อหาความคิด (Pressure of thought)
ไม่มีโอกาสขัดจังห วะ บางทีแม้จะขัดจังห วะผู้ป่วยก็ยังพูดต่อ
มักพูดเสียงดังเต็มไปด้วยอารมณ์ มักพบในผู้ป่วย mania
P o v e r t y o f s p e e c h
เ ห มื อ น ร ถ ไ ฟ ที่ ขั บ ช้ า ไ ม่ ค่ อ ย มี ผู้ โ ด ย ส า ร
ไม่ไ ด้อัด แน่น ด้วยเนื้อห าค วามคิ ด (Po v e rty o f th o u g h t)
ปริมาณคาพูดมีน้อย ตอบแค่ที่ถาม คาตอบสั้นๆ ไม่ได้รายละเอียด
ต้องถามอยู่เรื่อยๆ มักพบในผู้ป่วยซึมเศร้า
T h o u g h t b lo c k เห มื อ น ร ถ ไ ฟ ที่ ขั บ อ ยู่ ดี ๆ
ก็หยุดโดยไม่มีสัญญาณเตือน และปล่อยผู้โดยสารลงหมด หมายถึง
ค ว า ม คิ ด ห ยุ ด ช ะ งั ก ผู้ ป่ ว ย จ ะ ห ยุ ด ช ะ งั ก ก่ อ น พู ด จ บ
ห ลั ง จ า ก เ งี ย บ ไ ป ชั่ ว ค รู่
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 24
ผู้ป่วยจะบอกว่าจาไม่ได้ว่าพูดอะไรไปหรือตั้งใจจะพูดเรื่องอะไร
จะพบบ้างในผู้ป่วยจิตเภท
Circum stantial speech เหมือนรถไฟความเร็วปกติ
จ า น ว น ผู้ โ ด ย ส า ร ป ก ติ
แต่ขับใช้ระยะเวลาในการลดเลี้ยวแวะเวียนหลายๆ สถานีย่อย
จนในที่สุดก็ไปถึงสถานีที่ต้องการ ผู้ป่วยจะพูดอ้อมค้อมไม่ตรงจุด
เพิ่ ม เติ ม ร า ย ล ะ เอี ย ด ห รื อ สิ่ ง ที่ ไ ม่ ต ร ง ป ร ะ เด็ น ล ง ไ ป
แต่ในตอนท้ายก็กลับมาที่จุดหมายได้
F l i g h t o f i d e a s
เห มื อ น ร ถ ไ ฟ ที่ แ ล่ น เ ร็ ว เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ผู้ โ ด ย ส า ร
แ ต่ มั ก แ ว ะ โ น่ น นี่ อ ย่ า ง ก ร ะ ทั น หั น
แวะหลายสถานีย่อยโดยใช้เวลาไม่นานก็เปลี่ยนเส้นทางหรือเปลี่ยนไ
ป อี ก ส ถ า นี โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ ว า ง แ ผ น ม า ก่ อ น
แต่ก็เป็นที่เข้าใจได้ในการแวะเข้าไป ผู้ป่วยจะมีความคิดหลายๆ
อ ย่ า ง เ กิ ด ขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
บางค วามคิดเกิดขึ้น เพ ราะสิ่งเร้าที่เข้ามารบ กวน ข ณ ะพูด คุย
(d is tra c te d ) แ สด งออ ก ม าโด ย ก าร พู ด มา ก แล ะ พู ด เร็ ว
พู ด เ รื่ อ ง ห นึ่ ง ไ ม่ ทั น จ บ ก็ เป ลี่ ย น ไ ป อี ก เรื่ อ ง ห นึ่ ง
แต่เรื่องราวมีส่วนต่อเนื่องกัน สามารถเข้าใจได้
Loosening of association รถไฟที่ขับไปนอกทิศทาง
แ ล ะ ไ ป อี ก ส ถ า นี ห นึ่ ง ที่ ไ ม่ ใ ช้ ส ถ า นี ที่ ต้ อ ง ก า ร ไ ป
ผู้ป่วยจะขาดความต่อเนื่องของความคิด พูดไม่เป็นเหตุเป็นผลกัน
ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้
เปลี่ยนเรื่องหนึ่งไปอีกเรื่องหนึ่งโดยไม่เกี่ยวข้องกันเลยหรืออาจเกี่ยวเ
ล็ก น้ อ ย โด ยที่ ผู้ พู ด ไ ม่ไ ด้ ต ร ะ ห นั ก ว่าเป็ น ค น ละ เรื่ อง กั น
มักพบในผู้ป่วยจิตเภท
Perseveration เหมือนรถไฟที่ต้องแล่นจากสถานี B
ไ ป ส ถ านี C แ ต่ต้ องห ยุด แค่ ที่ สถ านี B ผู้ป่ วยจ ะพู ด ซ้ าค า
ห รื อ เ รื่ อ ง เ ดิ ม อ ยู่ ด้ ว ย ๆ
มัก พ บใน ผู้ป่วยที่มีอาการท างจิตจ ากปัจจัยท างชีวภาพ เช่น
สมองเสื่อม (Dementia) ตัวอย่างเช่น
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 25
พยาบาล : คุณชื่ออะไรคะ
ผู้ป่วย : เอลวิส
พยาบาล : อายุเท่าไรคะ
ผู้ป่วย : เอลวิส
C l a n g i n g
เป็นการพูดที่มุ่งเน้นถึงการมีสัมผัสสอดคล้องกันมากกว่าการมีความห
มายต่อเนื่องกัน ทาให้บางครั้งมีคาเกินมาหรือขาดหายไป
N e o l o g i s m s
เป็น คาใหม่ที่ผู้ป่วยสร้างขึ้นมาเองห รือเป็นค าที่ใช้กัน อยู่แล้ว
แ ต่ ผู้ ป่ ว ย น า ม า ใ ช้ ใ น ค ว า ม ห ม า ย ใ ห ม่ ที่ ฟั ง แ ป ล ก
ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายใดเลย
Illo gicality ผู้ป่วยแสด งความคิด เห็น จาก ข้อมูลที่มี
โด ยที่ค วามเห็น นั้น ไม่ เป็น เห ตุผลซึ่งกัน และ กัน ฟั งดูแป ลก
ไม่ไปด้วยกัน
การบันทึกกระแสคาพูดควรบันทึกสิ่งต่อไปนี้
- อัตราเร็วเช่นเร็วหรือช้าหรือปกติ
-
ความดังเช่นเสียงดังค่อยหรือปกติตะโกนหรือกระซิบเป็นต้น
-
โทนเสียงหรือการแสดงอารมณ์ขณะพูดเช่นพูดเสียดสีโกรธหดหู่
สงบเนือยๆ
ปกติเครียดเน้นเสียงหรือน้าเสียงราบเรียบเป็นต้น
-
ความต่อเนื่องของกระแสคาพูด/กระแสความคิดเช่นพูดขึ้นเองอ
ย่างฉับพลันทันที
ลังเลขณะพูดหรือหยุดคิดนานก่อนจะตอบพูดมากจนขัดจังหวะไม่ได้
อื่นๆได้แก่การบกพร่องทางการพูด/พูดไม่ชัด/พูดลาบากเนื่
องจากการควบคุม
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 26
กล้ามเนื้อในการพูดผิดปกติ (Dysarthria) ความบกพร่องทางภาษา
(Dysphasia)
4) ความคิดและ การคิด (Thought and thinking)
การประเมินความคิดและการคิดทาได้โดยการฟังสิ่งที่ผู้ป่วยพูด
น อ ก จ า ก ก า ร ฟั ง ค ว ร ถ า ม ถึ ง ค ว า ม คิ ด
และความรู้สึกของผู้ป่วยต่อสิ่งที่คิดหรือพูดออกมา ความคิดมี 2
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ต้ อ ง ป ร ะ เมิ น ไ ด้ แ ก่ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด
หรือรูปแบบของการคิด (process or form) และเนื้อหาความคิด
(content) ผู้สัมภาษณ์ต้องประเมินทั้ง 2 องค์ประกอบไปพร้อมๆ
4.1) กระบวนการหรือรูปแบบของความคิด (Thought
process or thought form)
สิ่งสาคัญที่ผู้ประเมินต้องประเมินคือกระแสของความคิด (stream of
thought) ซึ่งป ระเมิน จ าก ค วามต่อเนื่องและค วามสัมพัน ธ์กัน
( association) ร ะ ห ว่ า ง เ รื่ อ ง ที่ พู ด ค า พู ด
และการพูดของผู้ป่วยจะเป็นตัวสะท้อนกระบวนการหรือรูปแบบความ
คิ ด แ ม้ จ ะ มี ก า ร ป ร ะ เมิ น เรื่ อ ง ข อ ง ก า ร พู ด ไ ป แ ล้ ว
แต่ใน ส่วน นั้น เราป ระเมิน ลัก ษณ ะข องการพูด มาก กว่า เช่ น
น้าเสียงค วามเร็วค วาม ดัง ก าร พู ด เยอ ะ ห รือน้ อย เป็น ต้ น
นอกจากนี้การประเมินเรื่องการพูดยังเป็นการเป็นการแสดงถึงความผิ
ด ป ก ติ ท างก ร ะ บ วน ก าร คิ ด ห รือรู ป แบ บ ข อ งก าร คิ ด เช่ น
ก า ร พู ด ที่ มี เนื้ อ ห า น้ อ ย ( poverty of content of speech)
ก า ร พู ด แ บ บ เ ฉี ย ด ๆ ( tangentially)
การพูดหรือตอบแบบไม่ตรงคาถาม (irrelevant) เป็นต้น
ตัวอย่างความผิดปกติเกี่ยวกับรูปแบบความคิดมีดังนี้
- Circumstantialities ก า ร พู ด อ้ อ ม ค้ อ ม
วกวนไม่ตรงจุด ใช้ถ้อยคาจานวนมากและจับประเด็นได้ยาก
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 27
- Loosening of association
ความคิด ไม่ป ะติด ป ะต่อ แสด งออก โด ยก ารพู ดที่ไ ม่ต่อเนื่อง
เป ลี่ ยน แ น ว คิ ด แ บ บ ไ ม่ สั ม พั น ธ์ กั น เลย ผู้ ฟั ง จ ะ ไ ม่ เข้ าใ จ
จับใจความได้เพียงเล็กน้อยหรือแทบไม่ได้
- Incoherence ( word salad)
เป็ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค ว า ม คิ ด ที่ ไ ม่ ป ะ ติ ด ป ะ ต่ อ เช่ น กั น
แ ส ด ง อ อ ก โ ด ย ก า ร พู ด ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ เข้ า ใ จ ไ ด้ เล ย
ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ประโยคหรือคาที่ไม่สัมพันธ์กัน มักพบร่วมกับ
loosening of association
- Flight of idea ค ว า ม คิ ด แ ล่ น เ ร็ ว
แสดงออกโดยการพูดเร็วเหมือนการมีแรงผลักดันที่ต้องพูดออกมา
(pressure of speech) ผู้ ป่ ว ย จ ะ พู ด ม า ก ก ว่ า ป ก ติ พู ด เร็ ว
และ ยาก ที่จ ะ ขัด จังห วะ ไ ด้ ค วามแต ก ต่างจ าก loosening of
association คือ flight of idea ยังมีความต่อเนื่องของความคิดอยู่
เรื่ อ ง ที่ พู ด อ า จ เป ลี่ ย น เร็ ว แ ต่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น
อย่างไรก็ตามรายที่อาการรุนแรงอาจพูดคนเดียวโดยไม่สนใจคนฟัง
หรือพูดเร็วจนมี loose association ได้บ้าง
- Neologism
การที่ผู้ป่วยใช้คาแปลกที่สร้างหรือบัญญัติขึ้นเองมีความหมายเฉพาะ
สาหรับผู้ป่วยเท่านั้น
- Clanging ก าร พู ด โยใ ช้ค าสั มผัสค ล้ องจ อ ง
โดยที่คาเหล่านั้นไม่สัมพันธ์กันเลยไม่สมเหตุสมผล
4 .2 ) เนื้ อ ห า ค ว า ม คิ ด ( Thought content)
เป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องถามเนื้อหาความคิดซ้าอีกครั้งแม้ว่าข้อมูลส่วนที่
อ า จ ไ ด้ ม า บ้ า ง แ ล้ ว ร ะ ห ว่ า ง สั ม ภ า ษ ณ์
เพราะบางครั้งข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับความคิดอาจจะมาจากหลายช่วง
นอกจากนี้การเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนที่เป็นเนื้อหาความคิดจะช่วยให้กา
ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล มี ค ว า ม เ ป็ น ร ะ บ บ ม า ก ขึ้ น
การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 28
การ ตรวจเนื้อห าค วามคิด นั้น ให้สังเก ต ว่าถูก ต้อง มีเห ตุมีผล
แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ห รื อ ไ ม่
ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยส่วนใหญ่จ
ะบอกถึงความผิดปกติได้จากพ่อแม่ ญาติ เพื่อนฝูงหรือคนใกล้ชิดอื่นๆ
ของผู้ป่วยด้วย คาถามที่ใช้ควรหลีกเลี่ยงลักษณะขอคาถามปลายปิด
เช่ น “เมื่ อ คื น นี้ คุ ณ ค ง น อ น ไ ม่ ห ลั บ ใ ช่ ไ ห ม ค ะ ”
น อ ก จ า ก นี้ ค ว ร ห ลี ก เลี่ ย ง ค า ถ า ม ชั ก น า ผู้ ป่ ว ย เช่ น
“คุ ณ ไ ม่ ช อ บ เ พื่ อ น ข อ ง คุ ณ ใ ช่ ไ ห ม ค ะ ”
คาถามเพื่อประเมินความคิดจึงควรเป็นคาถามปลายเปิดกว้างๆ
ซึ่งผู้ป่วยจะได้อธิบายความคิดของตัวผู้ป่วย
ระดับของเนื้อหาความคิดสามารถแบ่งได้ดังนี้
- Ideation คือ สิ่งที่คิด อาจ เป็น ได้ทั้งแน วคิด
ความคิด ความเชื่อ มุมมอง ความเห็น ซึ่งบุคคลอาจมีต่างๆ กัน
สามาร ถ เป ลี่ยน แป ลงได้ต ามเวลา และ สถ าน ก ารณ์ สิ่งที่ คิด
และความเชื่อนี้เป็นสิ่งที่เป็นเหตุเป็นผล พบได้ตามปกติทั่วๆ ไป
- Preoccupation คื อ ก า ร ห ม ก มุ่ น ห ม าย ถึ ง
มีความคิดหมกมุ่นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มักสัมพันธ์กับความวิตกกังวล
เช่น การหมกมุ่นกับความเจ็บป่วย การหมกมุ่นกับปัญหาที่เผชิญ เช่น
ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร ย้ า คิ ด ย้ า ท า
น อก จ าก นี้ อาจ เป็ น ก าร ห มก มุ่น ใ น ก าร วางแ ผน ก าร เช่ น
การวางแผนฆ่าตัวตาย การทาร้ายผู้อื่น การฆาตกรรม
- Delusion คื อ ก า ร ห ล ง ผิ ด ห ม า ย ถึ ง
การมีความเชื่อแบบผิดๆ ซึ่งไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (fixed false
belief)
และความเชื่อดังกล่าวต้องไม่ใช่ความเชื่อที่พบได้ตามปกติในสังคมหรื
อวัฒนธรรมของผู้ป่วย ควรแยกอาการหลงผิดออกจากความเชื่อทั่วไป
ห รื อ ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ อ า จ ไ ม่ เ ป็ น เ ห ตุ เ ป็ น ผ ล
แต่ยังไม่ยึดติดจนกระทั่งไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งน่าจะเข้าได้กับ
overvalued idea มากกว่า
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีVorawut Wongumpornpinit
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWC Triumph
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว Terapong Piriyapan
 

Mais procurados (20)

คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 

Destaque

แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Delusions theories
Delusions   theoriesDelusions   theories
Delusions theoriesLyn Georgy
 
การเขียน Reflection ของผม2
การเขียน Reflection ของผม2การเขียน Reflection ของผม2
การเขียน Reflection ของผม2Benz Lovestory
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia Utai Sukviwatsirikul
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
Refrigerantes, Codigo de Colores
Refrigerantes, Codigo de ColoresRefrigerantes, Codigo de Colores
Refrigerantes, Codigo de ColoresGildardo Yañez
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Destaque (19)

Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Delusions theories
Delusions   theoriesDelusions   theories
Delusions theories
 
การเขียน Reflection ของผม2
การเขียน Reflection ของผม2การเขียน Reflection ของผม2
การเขียน Reflection ของผม2
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Treatment of psychosis
Treatment of psychosisTreatment of psychosis
Treatment of psychosis
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Refrigerantes, Codigo de Colores
Refrigerantes, Codigo de ColoresRefrigerantes, Codigo de Colores
Refrigerantes, Codigo de Colores
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Semelhante a เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช

PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canadasoftganz
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and ertaem
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009DMS Library
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60Suthee Saritsiri
 

Semelhante a เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช (20)

PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
Research process
Research processResearch process
Research process
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Basic communicationskills2554
Basic communicationskills2554Basic communicationskills2554
Basic communicationskills2554
 
Basic communication skills
Basic communication skillsBasic communication skills
Basic communication skills
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
Book club 2
Book club 2Book club 2
Book club 2
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
SN203 Unit8
SN203 Unit8SN203 Unit8
SN203 Unit8
 

เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช

  • 1. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 1 เอกสารประกอบการสอน เรื่องที่ 1 “การประเมินทางจิตเวช (Psychiatric assessment)” เรียบเรียงโดย พ.ต.ท.หญิง ดร. กัญญ์ฐิตา ศรีภา กลุ่มงานอาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลตารวจ หัวข้อการเรียนรู้  ความรู้เบื้องต้นในการประเมินทางจิตเวช (Basic knowledge of psychiatric assessment)  วัตถุประสงค์ของการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Objectives of psychiatric assessment)  เทคนิคเบื้องต้นในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยจิตเวช (Interviewing technique)  องค์ประกอบสาคัญของการประเมินทางจิตเวช 4.1 ประวัติทางจิตเวช (Psychiatric history) 4.2 การประเมินสภาพจิต (Mental status examination) 4.3 การตรวจร่างกาย (Physical examination) 4.4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory investigation) 4.5 การทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological testing)  การวิเคราะห์และประมวลผลกรณีที่ศึกษา (Case analysis and formulation) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดการเรียนรู้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
  • 2. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 2 1. อธิบายแนวทางการประเมินปัญหาสุขภาพจิตได้ 2. สัมภาษณ์ประวัติ รวบรวมข้อมูล และประเมินสภาพจิตกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมายได้อย่างถูกต้องและ ครบถ้วน 3. สามารถวิเคราะห์และประมวลผลกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมายได้ถูกต้ องและสอดคล้องกับข้อมูลที่รวบรวมได้ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. แจ้งวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้และสร้างข้อตกลงร่วมกันในการแลกเป ลี่ยนเรียนรู้ 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงจรรยาบรรณหรือการพิทักษ์สิทธิ์ผู้ป่วยก่ อนฝึกปฏิบัติประเมินผู้ป่วยจิตเวช 3. ประเมินและทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปบทเรียน 4. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการสัมภาษณ์ประวัติและประเมินสภาพจิตกรณีศึก ษาที่ได้รับมอบหมาย 5. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสะท้อนคิด (Reflection) เกี่ยวกับการสัมภาษณ์ประวัติผู้ป่วยและการประเมินสภาพจิต (MSE) เช่น ความรู้สึกเกี่ยวกับตนเอง ความรู้สึกเกี่ยวกับผู้ป่วย เป็นต้น 6. ให้ผู้เรียนอภิปรายและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหาห รือสถานการณ์สาคัญในขั้นตอนของการสัมภาษณ์ประวัติและการประ เมินสภาพจิต
  • 3. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 3 7. ผู้เรียนบันทึกการรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยและการประเมินสภาพจิตบันทึก ในรายงานการวางแผนการพยาบาล 8. ผู้สอนตรวจสอบรายงานในประเด็นการรวบรวมข้อมูลและการประเมิน สภาพจิต เพื่อให้ข้อมูลป้อนกลับและนาประเด็นสาคัญมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกั น 9. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปบทเรียน 10. ผู้เรียนประมวลผลกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมายและบันทึกในรายงาน กรณีศึกษาผู้ป่วยจิตเวช (Case study) สื่อการเรียนรู้ - ผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรณีศึกษา - แฟ้มข้อมูลผู้ป่วย การประเมินผลการเรียนรู้ 1. การอภิปรายและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. การซักถาม 3. การฝึกปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช 4. บันทึกการรวบรวมข้อมูลและการประเมินสภาพจิตผู้ป่วยทางจิตเวช 5. รายงานการวางแผนการพยาบาลและกรณีศึกษา บทนาก่อนการเรียนรู้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผู้ ป่ ว ย จิ ต เ ว ช เป็นบทบาทสาคัญอย่างหนึ่งของการพยาบาลในการทาความเข้าใจผู้ ป่ ว ย เพื่อการวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยาบาลต่อไป
  • 4. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 4 องค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สาคั ญ ข อ งก าร ป ร ะ เมิ น ท างจิต เวช ไ ด้ แ ก่ การรวบรวมประวัติทางจิตเวชทั้งจากการศึกษาเอกสารผู้ป่วยและการ สั ม ภ า ษ ณ์ ป ร ะ วั ติ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต การรวบรวมผลการตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ แ ล ะ ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ ท า ง จิ ต วิ ท ย า ซึ่งพยาบาลจะต้องทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วยจากข้อมูล ต่างๆ ที่รวบรวมได้ เพื่อให้ได้ปัจจัยสาเหตุของการเกิดอาการทางจิต อันจะเป็นข้อมูลสาคัญในการสังเคราะห์ปัญหาทั้งหมดของผู้ป่วย เพื่อการกาหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยา บ า ล ผู้ ป่ ว ย ต่ อ ไ ป ทั้ ง นี้ พยาบาลต้องตระหนักถึงการดาเนินตามบทบาทของพยาบาลจิตเวชที่เ ห ม า ะ ส ม การประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะที่ถูกต้องเหมาะสมในการสัมภาษณ์ป ร ะ วั ติ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผู้ ป่ ว ย จิ ต เ ว ช รวมถึงตระหนักถึงจรรยาบรรณวิชาชีพและการพิทักษ์สิทธิ์ผู้ป่วยก่อน ฝึกปฏิบัติเพื่อประเมินผู้ป่วยจิตเวช  ความรู้เบื้องต้นในการประเมินทางจิตเวช (Basic knowledge of psychiatric assessment) การประเมินทางจิตเวช (Psychiatric assessment) หมายถึง การประเมินและวิเคราะห์สาเหตุของโรคหรือปัญหาทางจิตเวชของผู้ป่ วย โดยการรวบรวมข้อมูลประวัติ (History) การประเมินสภาพจิต ( Mental Status Examination, M S E ) ข้ อ มู ล เกี่ ย ว กั บ ก า ร ต ร ว จ ร่ าง ก า ย (Physical examination) ก า ร ต ร ว จ ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร (Laboratory investigation) และการทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological testing) เข้าไว้ด้วยกัน หลัก การสาคัญ คือก ารฟังเรื่องราวข องผู้ป่วย ท าค วามเข้าใ จ แ ล ะ บั น ทึ ก ใ ห้ ผู้ อื่ น ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้ เพื่ อ ป ร ะ เมิ น ใ ห้ ไ ด้ ว่ าเพ ร าะ อ ะ ไ ร ผู้ ป่ ว ย (th is p e rs o n ) ถึงรู้สึกทุกข์ทรมาน (suffering) กับปัญหาที่ประสบ (this problem)
  • 5. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 5 อยู่ในขณะนั้น (at this time) เพื่อนาไปสู่การวินิจฉัยที่ถูกต้อง ทั้งนี้ ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ไ ม่ จ า เป็ น ต้ อ ง ร ะ บุ ใ ห้ ไ ด้ ใ น ค รั้ ง แ ร ก โดยเริ่มจากการรวบรวมการวินิจฉัยที่ใกล้เคียงกันหลายๆ อย่าง จากนั้นจึงแยกแยะข้อวินิจฉัยที่ไม่ใช่ออกไปจนเหลือข้อวินิจฉัยที่ถูกต้ องที่สุด บทบาทสาคัญของพยาบาลจิตเวชในการประเมินผู้ป่วยทางจิตเว ช คื อ เ พื่ อ ส า ร ว จ ปั ญ ห า ห า ส า เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห า ให้การวินิจฉัยทางการพยาบาลเพื่อวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยอย่างเ หมาะสม โดยขั้นตอนเบื้องต้นในการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวชนั้น พยาบาลต้องสร้างสัมพันธภาพและให้การยอมรับผู้ป่วยให้เกิดความไ ว้ ว า ง ใ จ ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดเผยสิ่งที่ไม่สบายใจหรือปมขัดแย้งภายในจิตใจ ทั้งนี้ พยาบาลมีหน้าที่รับฟังและซักถามเพื่อจะได้ข้อมูลที่ทาให้เข้าใจปัญห าข องผู้ป่ วยไ ด้ อย่าง ค ร อบ ค ลุมแล ะชั ด เจ น อย่างไ ร ก็ต าม ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต ข อ ง ผู้ ป่ ว ย จิ ต เ ว ช นั้ น เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ จิ ต ใ จ โ ด ย อ้ อ ม เนื่องจาก ยังไม่มีเค รื่องมือที่จ ะตร วจ สอบ ท างจิต ได้โด ยต ร ง การ ปร ะเมินจึงเป็น ไป โด ยอนุมาน จ าก คาบ อกเล่าข องผู้ป่วย แ ล ะ ก า ร สั ง เ ก ต อ า ร ม ณ์ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง เข า ซึ่งหากได้ข้อมูลที่ครบถ้วนก็จะทาให้การวินิจฉัยปัญหาและสาเหตุขอ ง ปั ญ ห า ผู้ ป่ ว ย ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง อันจะนาไปสู่การวางแผนการพยาบาลและการบาบัดที่เหมาะสมต่อไป ได้  วัตถุประสงค์ของการประเมินทางจิตเวช (Objectives of psychiatric assessment) ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผู้ ป่ ว ย ท า ง จิ ต เ ว ช มิใ ช่ เพี ยงแค่ ก าร วินิ จ ฉั ย อาก าร ท างจิต ข องผู้ป่ วยเท่ านั้ น แต่มีวัตถุประสงค์ที่ครอบคลุมประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้
  • 6. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 6 1) เ พื่ อ ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค ข อ ง ผู้ ป่ ว ย เป็นการสรุปผลจากการประเมินว่าผู้ป่วยเป็นโรคทางจิตชนิดใดตามเก ณ ฑ์ ก า ร จ า แ น ก โ ร ค ท า ง จิ ต เ ว ช โดยเกณ ฑ์การจาแนกโรค ทางจิตเวชที่เป็น ที่ยอมรับกัน ได้แก่ ระ บ บ ก ารจ าแน ก โร ค ICD-10 (International Classification of Diseases) หรือเกณฑ์การจาแนกโรคตาม DSM-IV (Diagnostic and Statistical Manual) ซึ่งในปัจจุบันเริ่มนาเกณฑ์การจาแนกโรค DSM-V มาใช้ สาหรับการจาแนกโรคตามเกณ ฑ์ของ DSM-IV นั้ น มี ก า ร วิ นิ จ ฉั ย อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ ซึ่งหากข้อมูลจากการตรวจสอบหรือรวบรวมได้ยังไม่เพียงพ อ ควรให้ข้อสรุปแต่เพียงเบื้องต้น และให้การวินิจฉัยแยก โรคไว้ จากนั้นควรวางแผนดาเนินการหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อการวินิจฉัยต่อไป 2) เพื่อ ท าค วามเข้าใ จ ค วามเป็น มาข องปัญ ห าผู้ป่ว ย ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ แ ล ะ ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เกี่ยวกับ ผู้ป่วยทั้งใน อดีต และปัจจุบัน ป ระวัติชีวิต ในวัยต่างๆ ของผู้ป่วย ประวัติครอบครัว ประวัติการบาบัดรักษา และประวัติอื่นๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง ร วมถึ งอ าก าร สาคั ญ ที่ น าผู้ ป่ วย มาพ บ แ พ ท ย์ ย่อมช่วยให้ผู้บาบัดที่มีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับโรคจิตเวชและปัญหาสุ ข ภ า พ จิ ต ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ทฤษฎีพัฒนาการบุคลิกภาพและท ฤษฎีการเกิดจิตพยาธิสภาพ เข้าใจและสามารถอธิบายบุคลิกภาพของผู้ป่วย การใช้กลไกทางจิต แ ล ะ ค ว า ม ล้ ม เ ห ล ว ใ น ก า ร ป รั บ ตั ว ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ต ล อ ด จ น ส ม ร ร ถ ภ า พ ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ไ ด้ ซึ่ ง จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร ใ ห้ ก า ร บ า บั ด รั ก ษ า การประเมินผลการบาบัดรักษา และการพยากรณ์โรคต่อไป 3) เพื่อสร้างความเข้าใจกับผู้ป่วยเกี่ยวกับอาการทางจิต การที่ผู้ป่วยได้มีโอกาสพูดคุยและสร้างสัมพันธภาพกับผู้ประเมิน ก า ร มี ผู้ รั บ ฟั ง ปั ญ ห า แ ล ะ แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม เข้ า ใ จ เข า แ ล ะ ก าร ไ ด้ รั บ ท ร าบ ข้ อ ส รุ ป ส าเห ตุ ข อ ง ปั ญ ห าข อ ง เข า
  • 7. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 7 เห ล่ า นี้ ย่ อ ม ท า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย มี ค ว า ม เข้ า ใ จ ต น เอ ง ม า ก ขึ้ น เข้ า ใ จ ว่ า อ า ก า ร ข อ ง เข า นั้ น มี ส า เห ตุ ม า จ า ก จิ ต ใ จ ซึ่งเป็น สิ่งสาคัญ มาก ที่จ ะน าไป สู่ ก าร เข้าใจ ปัญ ห าที่แท้จ ริง และให้ความร่วมมือในการบาบัดรักษา 4) เพื่อวางแผนการบาบัดรักษา การบาบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวช ขึ้ น อ ยู่ กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย นอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับศักยภาพของผู้ป่วยที่จะรับและสนองตอบต่อก า ร บ า บั ด รั ก ษ า ช นิ ด ต่ า ง ๆ อี ก ด้ ว ย การเข้าใจผู้ป่วยโดยละเอียดจะทาให้ผู้บาบัดเลือกวิธีการบาบัดรักษาที่ เหมาะสมกับโรคหรืออาการทางจิต และสอดคล้องกับบริบทของผู้ป่วย อันจะนาไปสู่การบาบัดรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป 5) เพื่ อ ส ร้ า ง สัม พั น ธ ภ า พ ที่ ดี ใ น ก า ร บ า บั ด รั ก ษ า องค์ประกอบสาคัญของการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับผู้บาบัด รั ก ษ า คื อ การยอมรับและความเข้าอกเข้าใจจากผู้บาบัดรักษาระหว่างการประเมิ น และ วินิ จ ฉั ย ซึ่ งจ ะ น าไ ป สู่ค วาม ไ ว้วางใ จ ซึ่ งกั น แล ะ กั น อั น เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ข อ ง สั ม พั น ธภ าพ ที่ ดี ร ะ ห ว่ า งกั น แ ล ะ พื้นฐานที่ดีในการบาบัดรักษาผู้ป่วยต่อไป  เทคนิคเบื้องต้นในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยจิตเวช (Interviewing technique) 3.1 ก า ร พ บ ผู้ ป่ ว ย ค รั้ ง แ ร ก ( The Initial interview) ผู้ประเมินหรือผู้ให้สัมภาษณ์ควรคานึงถึงประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้ - ส ถ า น ที่ ซึ่งปัจจัยทางกายภาพของสถานที่สัมภาษณ์มีผลอย่ามากต่อความสาเร็ จ ข อ ง ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ ผู้ ป่ ว ย โดยผู้ป่วยและผู้สัมภาษณ์ ค วรอยู่ใน สถ าน ภาพ ที่ผ่อน ค ลาย สถ าน ที่ สัมภาษณ์ ควรมีค วามเป็น ส่วน ตัว เงียบ แต่ไม่ลับ ต า เพื่อความสะดวกใจในการเล่าข้อมูลส่วนตัวและความลับของผู้ป่วย
  • 8. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 8 - แ ร ก พ บ ผู้ ป่ ว ย เป็ น เ รื่ อ ง ป ก ติ ที่ ผู้ ป่ ว ย จ ะ กั ง ว ล บ้ า ง ใ น ค รั้ ง แ ร ก ผู้ป่วยบางคนอาจรู้สึกอายหรือประหม่าที่จะเล่าเรื่องหรืออาการส่วนตัว กั บ ค น ที่ ไ ม่ เ ค ย รู้ จั ก กั น ม า ก่ อ น ผู้ป่วยอาจกังวลว่าผู้สัมภาษณ์จะถามหรือประเมินตนเองอย่างไร ใ น ก าร พ บ กั น ค รั้ งแ ร ก จึ ง ค ว ร ใ ส่ ใ จ กั บ ป ร ะ เด็ น เห ล่ า นี้ โด ยผู้สัมภาษณ์ ค วรแน ะน าตัว บอก ชื่อ และต าแห น่งห น้าที่ ค ว ร เรี ย ก ผู้ ป่ ว ย ด้ ว ย ชื่ อ จ ริ ง เช่ น “คุ ณ ส ม ห ญิ ง ” เพื่อเป็นการเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพ - เวลา (time) ควรชี้แจงผู้ป่วยถึงระยะเวลาที่จะพูดคุย แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ เ ว ล า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย อ า ทิ กรณีผู้ป่วยวุ่นวายอาจให้ความร่วมมือในการสัมภาษณ์ได้สั้นๆ ผู้ ป่ ว ย บ า ง ค น จ ะ ม า ก่ อ น เ ว ล า นั ด เ ป็ น ชั่ ว โ ม ง หรือผู้ป่วยบางคนอาจมาสายสม่าเสมอซึ่งอาจบ่งบอกได้ว่าผู้ป่วยอาจมี ความรู้คับข้องใจต่อการมาพบผู้ให้สัมภาษณ์ แต่ไม่ได้พูดออกมาตรงๆ เช่น ไม่พ อผู้ให้สัมภาษณ์ ซึ่งห าก ผู้ป่วยมาสายแล้วข อโท ษ ไ ม่ ค ว ร ป ล อ บ ใ จ ง่ า ย ๆ ว่ า ไ ม่ เ ป็ น ไ ร แ ต่ ค ว ร ใ ช้ โอ ก า ส ใ น ก า ร ส า ร ว จ ค ว า ม รู้ สึ ก ข อ ง ผู้ ป่ ว ย และยังคงจบกระบวนการสัมภาษณ์ตามเวลา - สัมพันธภาพ (Rapport) เป็นสิ่งสาคัญในการดูแลผู้ป่วย สั ม พั น ธ ภ า พ ที่ ดี ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม ไ ว้ ว า ง ใ จ ความเข้าอกเข้าใจกันระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ป่วย 3.2 การเริ่มต้นสัมภาษณ์ (Opening interview) - ทั ก ท า ย แ ล ะ ส ร้ า ง ค ว า ม คุ้ น เ ค ย ก่ อ น ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ จ ริ ง ผู้ สั ม ภ า ษ ณ์ ค ว ร พู ด จ า ทั ก ท า ย สร้างความคุ้นเคยในเบื้องต้นกับผู้ป่วยก่อน เช่น “คุณชื่อ...ใช่ไหมคะ” “มารอนานหรือยังคะ” เป็นต้น - แนะนาตนเองและขั้นตอน (Introduction : who, why) โ ด ย ค ว ร แ น ะ น า ชื่ อ ข อ ง ตั ว เ อ ง อาจบอกว่าจะมีเวลาคุยกับผู้ป่วยนานแค่ไหน
  • 9. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 9 - มี ท่ า ที ผ่ อ น ค ล า ย ( Self comfort) โ ด ย ค ว ร นั่ ง ล ง คุ ย กั บ ผู้ ป่ ว ย ซึ่งการนั่งคุยเป็นการสื่อกับผู้ป่วยว่าผู้ให้สัมภาษณ์พร้อมและมีเวลาที่จ ะ รั บ ฟั ง ก า ร ยื น คุ ย ห รื อ ก า ร มี ท่ า ที รี บ ร้ อ น ห รื อ ท า ง า น อื่ น ไ ป ด้ ว ย ข ณ ะ สั ม ภ า ษ ณ์ อาจ ท าใ ห้ผู้ ป่วยรู้สึก ว่าผู้ ใ ห้ สัมภ าษ ณ์ ไ ม่พ ร้อมที่ จ ะรับ ฟั ง ใ น ก ร ณี ที่ ผู้ ป่ ว ย น อ น อ ยู่ บ น เ ตี ย ง ผู้ให้สัมภาษณ์ควรนั่งบนเก้าอี้เพื่อคุยในระดับเดียวกันกับผู้ป่วย - ใส่ใจต่อความสุขสบายของผู้ป่วย (Attends to patient’s comfort) โ ด ย ทั่ ว ไ ป ค ว ร ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย นั่ ง ใ น ท่ า ที่ ส บ า ย นั่งในมุมที่สามารถสบตาและละสายตาจากผู้ให้สัมภาษณ์ถ้าผู้ป่วยต้อง การได้ เช่น นั่งเป็นมุมทแยงกับผู้ป่วย - ส อ บ ถ า ม ค ว า ม เข้ า ใ จ ผู้ ป่ ว ย ( Seeks patient’s understanding) เบื้องต้นควรสารวจความเข้าใจของผู้ป่วยในการมาโรงพยาบาล ว่าเกิ ด จ าก อ ะ ไ ร มี ค ว าม จ าเป็ น อ ะ ไ ร จึ งม าโ ร ง พ ย าบ า ล ผู้ป่วยรู้สึกอย่างไรกับการมาพบผู้ให้สัมภาษณ์ - ใ ห้ ค วาม มั่ น ใ จ ใ น ก าร เก็ บ ข้ อ มู ล เป็ น ค วาม ลั บ ( Confidentiality) การย้าให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าข้อมูลที่จะสนทนากันจะเป็นความลับ ของผู้ป่วย โดยจะไม่บอกผู้อื่นถ้าผู้ป่วยไม่รับทราบและอนุญาต 3.3 เทคนิคให้การสัมภาษณ์เป็นไปอย่างราบรื่น (Allow the interview to flow freely) - ใ ห้ ผู้ ป่ วยเล่ าห รืออ ธิบ าย ต าม ที่ ผู้ ป่วย อย าก เล่ า และพยายามใช้คาถามให้ผู้ป่วยพูดหรือเล่าถึงอาการหรือสิ่งที่ผู้ป่วยกั งวลและให้ความสาคัญ เช่น “อะไรทาให้คุณตัดสินใจมาโรงพยาบาล” เป็นต้น
  • 10. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 10 - คาถามในช่วงแรกควรเป็นคาถามที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถเล่าเ รื่ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง เ ช่ น “คุณ....เล่าว่าคุณรู้สึกไม่สบายใจตั้งแต่คุณแม่ต้องเข้าโรงพยาบาล บอกดิฉันเพิ่มเติมได้ไหมคะว่าคุณรู้สึกอย่างไร” - ถามถึงอาการสาคัญ (Exploring the chief compliant) โดยเน้นให้ผู้ป่วยเล่าถึงที่มา ของอาการ เช่น “อะไรทาให้คุณตัดสินใจมาโรงพยาบาล” - จั ด ล า ดั บ ค ว า ม ส า คั ญ ( Negotiates priorities) โดยควรช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเล่าถึงอาการตามลาดับความสาคัญ ถ าม ผู้ ป่ วยที ล ะ ป ร ะ เด็ น ไ ม่เป ลี่ ยน ค าถ ามก ลั บ ไ ป ก ลับ ม า โ ด ย ถ า ม ต า ม ป ร ะ เด็ น ที่ ผู้ ป่ ว ย ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ก่ อ น ไ ม่ ค ว ร ถ า ม ต า ม ที่ ผู้ ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ ก า ห น ด ม า เนื่องจากจะทาให้ผู้ป่วยรู้สึกเหมือนผู้สัมภาษณ์ไม่รับฟังและไม่เข้าใจผู้ ป่วย - พ ยายามห ลี ก เลี่ ยงค าก าก วมห รือ ค าแสลง เช่ น ห า ก ผู้ ป่ ว ย บ อ ก ว่ า ต น เ อ ง เ ป็ น “ บ้ า ” ค ว ร ท า ค ว า ม เข้ า ใ จ กั บ ผู้ ป่ ว ย ใ ห้ ก ร ะ จ่ า ง เช่ น ถ า ม ว่ า “ช่วยบอกดิฉันได้ไหมคะว่าคาว่าบ้าของคุณหมายถึงอะไร” - ห ลี ก เลี่ ย งก าร ใ ช้ ค าถ าม น า (Leading question) หรือคาถามปลายปิด (Close question) เช่น คาว่า “ใช่ไหมคะ” “คุ ณ บ อก ว่ารู้สึก เศร้าๆ ช่ วยเล่าให้ ฟั งได้ไห มค ะ” เป็น ต้ น แ ต่ ค ว ร ใ ห้ ค า ถ า ม ป ล า ย เ ปิ ด เ ช่ น “ช่วยเล่าเกี่ยวกับความรู้สึกเศร้าของคุณให้ฟังหน่อย” - ติดตามเรื่องราวอย่างต่อเนื่อง (Maintains a narrative thread) โ ด ย ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย เล่ า เรื่ อ ง ร า ว อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ใ ห้ เข้ า ใ จ แ ล ะ เห็ น ภ า พ ปั ญ ห า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย เช่ น “ เ มื่ อ สั ก ค รู่ คุ ณ พู ด ว่ า ท้ อ แ ท้ ไ ม่ อ ย า ก ท า อ ะ ไ ร คุณลองยกตัวอย่างให้เห็นภาพได้ไหมว่าคุณเบื่อขนาดไหน”
  • 11. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 11 - ส า ร ว จ ล ง ลึ ก ( Uses cone format) ถ้ า พ บ ว่ า ป ร ะ เด็ น ที่ ผู้ ป่ ว ย เล่ า นั้ น มี ค ว า ม ส า คั ญ เช่ น ถ้ า ผู้ ป่ ว ย ต อ บ ว่ า เค ย คิ ด อ ย า ก ต า ย ค ว ร ถ า ม ต่ อ ว่ า “คุณเคยคิดจะทาร้ายตัวเองด้วยวิธีไหน” - ค ว ร ส รุป แ ล น าสู่ ป ร ะ เด็ น (Summarization and transition of topic) โ ด ย ก่ อ น จ ะ เป ลี่ ย น ไ ป ถ า ม เรื่ อ ง อื่ น ควร สรุป ป ระ เด็น ที่ไ ด้คุยไป กับ ผู้ป่วยแล้วสั้น ๆ ใ ห้ผู้ป่วยฟั ง เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าผู้ให้สัมภาษณ์ได้เห็นและเข้าใจปัญหาของเขา แล้วจึงค่อยเริ่มไปถามในประเด็นอื่น เช่น “เมื่อสักครู่คุณเล่าให้ฟังว่า คุณ รู้สึก เบื่อห น่ าย ท้ อแ ท้ น อน ไม่ห ลับ ไม่ อยาก กิ น อะ ไร โ ด ย มี อ า ก า ร ม า 2-3 เ ดื อ น แ ล้ ว ” ( summarization) “ตอนนี้ดิฉันอยากทราบว่าปกติคุณดื่มเหล่าบ้างหรือไม่” (transition of topic) 3.4 การจบการสัมภาษณ์ (Closing an interview) - เปิ ด โอ ก า ส ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ถ าม (Asks for questions) เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถสอบถามถึงสิ่งที่ผู้ป่วยยังไม่กระจ่างหรือสงสัย เช่น “ยังมีเวลาอีก 2-3 นาที คุณมีอะไรสงสัยอยากจะถามไหมคะ” เป็นต้น - แ ส ด ง ค ว า ม ชื่ น ช ม ( Shows appreciation) ถ้ า ผู้ ป่ ว ย ดู แ ล ตั ว เ อ ง ไ ด้ ดี เ ช่ น “ดิ ฉั น ดี ใ จ ที่ คุ ณ ...ดู แ ล ตั ว เอ ง ไ ด้ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ใ ห้ คุ ณ . . . ท า อ ย่ า ง นี้ ต่ อ ไ ป ถ้ามีอะไรไม่มั่นใจก็มาคุยหรือถามดิฉันได้นะคะ” เป็นต้น - ค ว ร บ อ ก เ ว ล า นั ด ห ม า ย ใ น ค รั้ ง ต่ อ ไ ป และให้เหตุผลที่เหมาะสมในการนัดผู้ป่วยอีก  องค์ประกอบสาคัญของการประเมินทางจิตเวช องค์ประกอบสาคัญของการประเมินทางจิตเวช ประกอบด้วย
  • 12. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 12 4.1 ประวัติทางจิตเวช (Psychiatric history) 1) ข้อมูลพื้นฐาน (Background information) ได้แก่ ชื่อ อายุ เพศ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา การศึกษา สถานภาพสมรส ภูมิลาเนา เดิม ที่อยู่ปัจจุบัน อาชีพ รายได้ วัน ที่รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล และข้อมูลที่กล่าวถึงที่มาของการมา โรงพยาบาล ในครั้งนี้ (อาจมาด้วยความสมัครใจ หรือถูกนาส่งมา) ตัวอย่างเช่น “V inc e nt ถู ก น าส่งโด ยตาร วจม าที่ โร งพ ย าบ าล ต อ น เ ช้ า ข อ ง วั น ที่ 2 4 ธั น ว า ค ม 1 8 8 8 เ ห ตุ เ กิ ด เ มื่ อ คื น โ ด ย เ ข า ใ ช้ มี ด ขู่ ท า ร้ า ย เ พื่ อ น และเอะอะโวยวายเรียกหาหญิ งข ายบริก ารคนหนึ่งชื่อราเชล เข าต้ องก าร มอบ ใบหู ข องเข าให้ กับ ร าเชล และบ อก เธอว่า “ ใ ห้ ดู แ ล ใ บ หู นี้ ใ ห้ ดี ” จ า ก นั้ น ก็ จ า ก ไ ป ต า ร ว จ เห็ น ร อ ย เลื อ ด อ ยู่ บ ริ เว ณ บั น ไ ด ใ น บ้ า น เ ข า แ ล ะ พ บ เ ข า น อ น ห ม ด ส ติ อ ยู่ บ น เ ตี ย ง มีเลือดไหลบริเวณใบหูจึงนาส่งโรงพยาบาล” 2) อาการสาคัญของผู้ป่วย (Chief complaint) อ า ก า ร ส า คั ญ คื อ อาการที่ผู้ป่วยคิดว่าเป็นปัญหาสาคัญที่ทาให้ต้องมารับการรักษาพยา บ า ล โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ค า พู ด จ า ก ก า ร บ อ ก ก ล่ า ว ข อ ง ผู้ ป่ ว ย โ ด ย ต ร ง เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ที่ แ ท้ จ ริ ง จ า ก ผู้ ป่ ว ย ไม่ใช่ข้อมูลที่ได้จากการตีความของผู้ประเมินซึ่งอาจตีความผิดพลาด คาถามที่ใช้ควรเป็นคาถามปลายเปิดที่จะช่วยให้ผู้ป่วยเล่าถึงอาการห รือสาเหตุที่ทาให้ผู้ป่วยเดือดร้อนหรือทุกข์ใจ เช่น “เพราะอะไรคุณถึงมาโรงพยาบาล/อะไรทาให้คุณมาโรงพยาบาล ” “ ช่ ว ย เ ล่ า ใ ห้ ดิ ฉั น ฟั ง สิ ค ะ ว่ า คุณมีอาการอย่างไรถึงมาโรงพยาบาล”
  • 13. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 13 การบันทึกอาการสาคัญให้บันทึกอาการสาคัญที่นาผู้ป่วยม ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลั ก ก า ร ซึ่ ง แ ม้ จ ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ค า บ อ ก เล่ า ข อ ง ผู้ ป่ ว ย แต่ไม่ควรบันทึกคาบอกเล่าที่ไม่แน่นอนของผู้ป่วยและไม่บันทึกอาการ ที่เป็นชื่อโรค ซึ่งหากผู้ป่วยไม่สามารถบอกอาการสาคัญของตนเองได้ อ า จ อ นุ โ ล ม ใ ห้ บั น ทึ ก จ า ก ค า บ อ ก เล่ า ข อ ง ญ า ติ โดยการบันทึกอาการต้องระบุถึง อาการที่นาผู้ป่วยมาโรงพยาบาล เ ป็ น อ า ก า ร ที่ ผู้ ป่ ว ย รู้ สึ ก ร บ ก ว น เ ข า ม า ก ที่ สุ ด โดยบรรยายลักษณะอาการโดยย่อพร้อมระยะเวลาตั้งแต่เกิดอาการดัง กล่าว จนถึงขณะเวลาที่ซักประวัติผู้ป่วย 3 ) ป ร ะ วัติค ว ามเจ็บ ป่ว ยใ น ปัจ จุบัน (History of presenting complaint) บรรยายถึงลาดับขั้นตอนความเจ็บป่วยที่ทาให้ผู้ป่วยมาโร งพยาบาลในครั้งนี้ โดยประเมิน จ า ก ปั ญ ห า ที่ ผู้ ป่ ว ย บ อ ก ก ล่ า ว ใ ช้ N O T E P A D เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมดังนี้ N = Nature of ploblem ลักษณะ/รูปแบบของปัญหา เช่น ความกังวล อารมณ์ คิด ห ล ง ผิ ด ป ร ะ ส า ท ห ล อ น ปั ญ ห า ก า ร ป รั บ ตั ว ห รื อ อาการเจ็บป่วยทางกาย เป็นต้น O = Onset ระยะเวลาที่เริ่มเกิดอาการ T = Triggers สิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการ E = E x a c e r b a tin g / r e le v in g f a c t o r s สิ่งที่ทาให้อาการแย่ลงหรือดีขึ้น P = Progression (improving, worsening or staying the same; intermittent or con tinu ou s) การ เป ลี่ยน แปลงข องอาก าร เช่น ดีขึ้น แย่ลง หรือยังคงเดิม เป็นครั้งคราวหรือต่อเนื่อง A = Associated symtoms อาการอื่นร่วมด้วย
  • 14. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 14 D = D is a b ility ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต (การไร้ความสามารถ/ไร้สมรรถภาพ) ก่อนจะสิ้นสุดข้อมูลในประเด็นนี้ ให้ถามผู้ป่วยเพิ่มเติมว่า “ มี อ ะ ไ ร อี ก ไ ห ม ค ะ ที่ คุ ณ จ ะ เ ล่ า ใ ห้ ฟั ง หรือที่ดิฉันควรจะทราบเกี่ยวกับคุณ” ตัวอย่างการบันทึกประวัติความเจ็บป่วยในปัจจุบัน เช่น “ วิ น เ ซ็ น ต์ เ ล่ า ว่ า เ มื่ อ 4 สัปด าห์ ที่ ผ่าน มาเข ารู้สึก ว่าพ ร ะ เจ้ าก าลังลงโท ษ เข า เขาปฏิเสธว่า เ ข า ไ ม่ ไ ด้ ยิ น เ สี ย ง พ ร ะ เ จ้ า แ ต่ เข า รู้ สึ ก ไ ด้ ว่ า พ ร ะ เ จ้ า ก า ลั ง สื่ อ ส า ร กั บ เข า อ ยู่ ซึ่ ง มี เ พี ย ง เ ข า ค น เ ดี ย ว ที่ จ ะ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้ เ ข า ไ ม่ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ บ อ ก ไ ด้ ว่ า มั น คื อ อ ะ ไ ร เข าเล่าว่าเข ามีความคิด สับสนเช่นนี้มากว่า 3-4 สัปด าห์แล้ว และความคิดนี้มันถี่ขึ้นเรื่อยๆ จนเสียง ในหัวนี้ทาให้เขาทนไม่ไหว เขาบอก ด้วยว่า เข าไม่อยากกินอะไร นอนหลับเพียงแค่ 2 -3 ชม.ในคืนหนึ่ง และเอาแต่วาดรูปเพื่อให้พระเจ้าพึงพอใจในตัวเขา วินเซ็นต์ไม่ได้บอกว่าอารมณ์เขามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร แ ต่ เ ข า พู ด ว่ า อ า ร ม ณ์ เ ข า ขึ้ น ๆ ล ง ๆ เปลี่ยนอารมณ์ เปลี่ยน แปลงเร็วไปพ ร้อมๆ กับความคิ ด เข า และเป็นอย่างนี้มากว่าเดือนแล้ว วินเซ็นต์ไม่สามารถบอกได้ว่าอะไรเป็นสาเหตุของอาการของเข า ใ น ค รั้ ง นี้ แ ต่ จ า ก เห ตุ ก า ร ณ์ ที่ เข า ขู่ ท า ร้ า ย เพื่ อ น เขาไม่ได้บอกว่าทาไปเพราะอะไร ทาไมถึงต้องตัดใบหูตนเอง เขาเพียงแต่บอกว่า “มันเป็นเรื่อง ส่วนตัวที่เขาบอกใครไม่ได้” 4) ประวัติความเจ็บป่วยทางจิต ถามถึงประวัติการรักษาทางจิตเวช ประวัติอาการทางจิต หรือประวัติเกี่ยวกับความเครียด
  • 15. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 15 แ ล ะ อ า ก า ร ซึ ม เศ ร้ า ที่ เค ย มี แ ต่ ไ ม่ เค ย ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า คาถามที่มักใช้ได้แก่ “คุณเคยมีอาการเช่นนี้เกิดขึ้นก่อนหน้านี้หรือเปล่า” “คุณเคยมีอาการเครียดหรือปัญหาสุขภาพจิตมาก่อนหน้า นี้หรือเปล่า” ห า ก มี ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ท า ง จิ ต ให้ถามเกี่ยวกับระยะเวลาที่เป็น หรือระยะเวลาที่เข้า รั บ ก า ร รั ก ษ า ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร ค แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า อ าก า ร ห รื อ ภ าว ะ เสี่ ย งที่ เค ย เกิ ด ขึ้ น ข ณ ะ มี อ า ก าร เช่ น การทาร้ายตนเอง การคิด ฆ่าตัวตาย หรือพฤติกรรมรุนแรง เป็นต้น 5) ประวัติความเจ็บป่วยทางกาย ถามถึงประวัติความเจ็บป่วยทางกายที่อาจส่งผลต่ออาการทางจิ ต หรือประวัติความเจ็บป่วยทางกาย ที่ต้องเฝ้าระวังในการดูแลรักษา 6) ประวัติการใช้ยาและแพ้ยา ถามถึงยาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันทั้งยาที่แพทย์เคยสั่งให้กับผู้ป่ วยและยาที่ผู้ป่วยซื้อทานเอง รวมทั้งประวัติการแพ้ยา 7) ประวัติครอบครัว สร้างแผนภาพ Genogram แสดงโครงสร้างครอบครัว (3 ช่วงชั้น) นอกจากนั้นถามถึง ประวัติ ครอบครัวที่ใกล้ชิดตามแผนภาพ ได้แก่ ชื่อ อายุ อาชีพ ป ร ะ วัติ ก าร เจ็บ ป่ วยท างจิต ป ร ะ วัติค วาม เจ็บ ป่วยท างก าย หากถึงแก่ชีวิต ให้ถามถึงสาเหตุการเสียชีวิตและอายุขณะเสียชีวิต คาถามที่ใช้ เช่น “มีใครในครอบครัวเคยมีอาการเครียดหรือเคยพบแพทย์เกี่ ยวกับอาการทางจิตหรือเปล่า” นอกจากนั้นให้ถามถึงลักษณะนิสัยของบุคคลในครอบครัว สัมพัน ธภาพ ใน ค รอบค รัว ลัก ษณ ะก ารสื่อสารใน ค รอบค รัว รู ป แ บ บ ก า ร เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า ค ร อ บ ค รั ว การค วบ คุมพ ฤติกร รมสมาชิกใน ค รอบ ค รัว สภาพ เศรษฐกิจ
  • 16. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 16 และ สภาพ แวด ล้อมต่ าง ๆ รวม ทั้งร ะ บุข้ อมูล เกี่ ยวกับ ญ าติ หรือบุคคลที่มีความสาคัญต่อผู้ป่วย คาถามที่ใช้ เช่น “ช่วยเล่าชีวิตครอบครัวของคุณให้หน่อยสิคะ” “พ่ อ แ ม่ ห รื อ พี่ น้ อ ง คุ ณ มี นิ สั ย อ ย่ า ง ไ ร บ้ า ง ช่วยเล่าให้ฟังหน่อยสิคะ” 8) ประวัติส่วนตัว ถามเกี่ยวกับเรื่องราวชีวิตของผู้ป่วย ให้ได้ข้อมูลมากที่สุด 8 . 1 ก า ร ตั้ ง ค ร ร ภ์ ก า ร ค ล อ ด และพัฒนาการในวัยทารก ถามถึงประวัติการตั้งค รรภ์และการคลอด เช่น การคลอดก่อนกาหนด อาการ แทรกซ้อนขณ ะคลอด ลักษณ ะการคลอด (คลอดเองหรือผ่าตัด) ปัญหาหลังคลอด และประวัติพัฒนาการตั้งแต่วัยทารก 8.2 ภูมิหลังครอบครัวและชีวิตในวัยเด็ก ถ า ม ถึ ง ชี วิ ต ใ น วั ย เ ด็ ก รวมถึงสัมพันธภาพในวัยเด็กกับครอบครัว เช่น พ่อแม่ แ ย ก กั น ก า ร ถู ก ท า รุ ณ ก ร ร ม ถามถึงความคิดความรู้สึกต่อตนเองในวัยเด็ก คาถามที่ใช้ เช่น “ชี วิ ต ใ น วั ย เ ด็ ก ข อ ง คุ ณ เป็ น อ ย่ า ง ไ ร ช่วยเล่าให้ฟังหน่อยสิคะ” 8.3 การศึกษา ประวัติการศึกษาจะบ่งบอกถึงระดับสติปัญญ า บุคลิกภาพและความสามารถในการเข้าสังคม รวมถึงระดับสติปัญญา โดยถามถึงผลการเรียนหรือปัญหาการเรียน คาถามที่ใช้ เช่น “ช่วยเล่าเกี่ยวกับปัญหาในวัยเรียนของคุณให้ฟังหน่อย” “คุณชอบเรียนอะไร เพราะอะไร” “เพื่อนที่โรงเรียนเป็นอย่างไร” “คุณเป็นคนขี้อายหรือชอบแสดงออก” “ความสัมพันธ์ของคุณกับเพื่อนและกับครูเป็นอย่างไรบ้าง”
  • 17. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 17 “ผลการเรียนของคุณเป็นอย่างไร” 8.4 อาชีพการงาน ถามถึงอาชีพการงานของผู้ป่วย ระยะเวลาที่ทางาน ห รื อ ก า ร อ อ ก จ า ก ง า น ด้ ว ย เ ห ตุ ผ ล อ ะ ไ ร ถามถึงความคิดความรู้สึกต่องานที่ทา เช่น ชอบงานที่ท าไห ม หน้าที่ความรับผิดชอบในงาน และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน 8.5 ความสัมพันธ์ทางเพศ/ชีวิตสมรส ถามถึงประวัติความสัมพันธ์ทางเพศตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ชี วิต สม ร ส ห าก มีป ร ะ วัติ ก าร เลิก ร า ข ณ ะ มี ค วามสั มพั น ธ์ ก า ร แ ย ก กั น อ ยู่ ห รื อ ห ย่ า ร้ า ง ใ ห้ ถ า ม ถึ ง เห ตุ ผ ล เพื่อให้ทราบถึงรูปแบบความสัมพันธ์ ทางเพศของผู้ป่วย 8.6 วัยต่อและวัยชรา ใ ห้ เ ล่ า ป ร ะ วั ติ ชี วิ ต ใ น วั ย ดั ง ก ล่ า ว (หากผู้ป่วยยังไม่ถึงวัยดังกล่าว ไม่ต้องถาม) 9) การใช้สารเสพติด ถ ามถึงป ร ะวัติก ารใ ช้สาร เสพ ติด เช่น เห ล้า บุห รี่ ห รื อ ส า ร เส พ ติ ด ช นิ ด อื่ น ตั้ ง แ ต่ เริ่ ม ใ ช้ จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น หรือเมื่อหยุดใช้ด้วยสาเหตุใด หรือประวัติการรักษาการติดสารเสพติด รวมทั้งอาการข้างเคียงจากการใช้ สารเสพติดที่เคยเกิดขึ้น เช่น ตับอักเสบ หรืออาการขาดยา เป็นต้น 10) ประวัติอาชญากรรม ถามถึงประวัติหรือพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกระทาผิดกฏหม ายในลักษณ ะต่างๆ โดยเจตนาหรือไม่เจตนา ผลตัดสินความผิด ระบุใ ห้ชั ด เจ น ว่าเห ตุก าร ณ์ เกิด ขึ้ น ใ น ก่อน มีอาก าร ท างจิต ห รื อ ร ะ ห ว่ า ง ที่ ป่ ว ย ห รื อ มี อ า ก า ร ท า ง จิ ต หากเกิดในขณะที่มีอาการทางจิตให้ระบุให้ชัดเจนว่าอาการลักษณะใ ด ที่ เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร ก ร ะ ท า ผิ ด ก ฏ ห ม า ย เ ช่ น ท า ร้ า ย ผู้ อื่ น จ า ก ภ า ว ะ ห ว า ด ร ะ แ ว ง
  • 18. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 18 หรือขโมยของเนื่องจากมีอาการอยากยา เป็นต้น คาถามที่ใช้ เช่น “คุณเคยมีเรื่องราวที่ทาให้ต้องขึ้นโรงพักไหม” 11) บุคลิกภาพ/ลักษณะนิสัย ระบุถึงลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพของผู้ป่วยก่อนที่จะมีอาการท างจิต เช่น ผู้ป่วยเป็นคนก้าวร้าว มักทาร้ายร่างกายภรรยาบ่อยๆ หรือตอนเด็กๆ ผู้ป่วยชอบทาตัวเป็นอันธพาล ต่อยตีกับเพื่อนๆ บ่อย เป็นต้น คาถามที่ใช้เช่น “ก่อนที่จะป่วย คุณคิดว่าคุณเป็นคนอย่างไร” “เพื่อนๆ คุณมองว่าคุณเป็นคนอย่างไร” “เวลามีปัญหาคุณมักจะหาทางแก้ปัญหาอย่างไร” นอกจากนั้นให้ระบุจุดเด่นและข้อดีของผู้ป่วยสั้นๆ เช่น ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เศ ษ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร รั ก ษ า ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการบาบัดรักษาผู้ป่วยต่อไป 12) ลักษณะทางจิตวิญญาณ อธิบายถึงความคิด ความเชื่อ และค่านิยมของผู้ป่วย คาถามเช่น “คุณมีความเชื่ออย่างไรเกี่ยวกับความผิดชอบชั่วดี” หรือ “คุณมีความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาอย่างไร” 13) ประวัติทางสังคมแวดล้อม อ ธิ บ า ย ถึ ง ส ภ า พ สั ง ค ม แ ว ด ล้ อ ม ผู้ ป่ ว ย แบบแผนการดาเนินชีวิตในสังคมในปัจจุบัน เช่น ลักษณะที่อยู่อาศัย ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว งานอดิเรกหรือกิจกรรมที่สนใจ ภาระที่ต้องดูแล เครือข่ายทางสังคมในลักษณะต่างๆ จ า ก ก า ร ซั ก ป ร ะ วั ติ ทั้ ง ห ม ด ควรตรวจสอบว่าข้อมูลที่ได้เพียงพอหรือยังจากการใช้คาถาม เช่น “ เ ร า คุ ย กั น ม า ม า ก ม า ย วั น นี้ มีเรื่องอะไรที่คุณคิดว่าควรจะเล่าให้ดิฉันฟังอีกไหมคะ” “ยังมีเรื่องอะไรที่พยาบาลควรจะทราบเกี่ยวกับตัวคุณอีกไหมคะ”
  • 19. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 19 14) ประวัติจากคนใกล้ชิด ข้ อ มู ล จ า ก ค น ใ ก ล้ ชิ ด ผู้ ป่ ว ย เป็นอีกแหล่งข้อมูลที่สาคัญและมีประโยชน์ในการวินิจฉัยและรักษาพ ย า บ า ล โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถบอกเล่าเรื่องราวได้หรือไม่อยา ก บ อ ก เ ล่ า เ รื่ อ ง ร า ว อย่างไรก็ตามไม่ควรตัดสินว่าประวัติจากคนใกล้ชิดผู้ป่วยจะถูกต้องเส มอไป 4.2 การประเมินสภาพจิต (Mental Status Examination) 1) รู ป ร่ า ง ลั ก ษ ณ ะ ( Ap p e ar a n c e ) และพฤติกรรมการแสดงออก (Behavior) 1.1) ลักษณะทั่วไป (General appearance) เริ่มจากอายุ เพศ โครงสร้างร่างกาย และเชื้อชาติ ทรงผม การแต่งหน้า เสื้อผ้าที่สวมใส่ ความผิดปกติทางร่างกาย เช่น ใช้เครื่องช่วยฟัง อัมพาตครึ่งซีก มีภาวะผอมโซขาดน้าแผลเป็น รอยสัก การเจาะหู แผลเย็บ การดูแลตนเอง เช่น สะอาด เรียบร้อย หรือไม่สนใจตัวเอง ไม่เรียบร้อย ผมยุ่งเหยิง เสื้อผ้ามีรอยเปื้อน กลิ่นที่ผิดปกติ เช่น กลิ่นตัว กลิ่นปัสสาวะ หรือกลิ่นสุรา 1.2) ภาษากาย (Body language) ก าร แ สด งสีห น้ า เช่ น ยิ้ม ห น้ านิ่ วคิ้ วข มว ด หน้าตาตื่นตระหนก - การสบ สายต า เช่น สบ ตาเห มาะสม มองจ้อง (Staring) หลบตาต่า (Downcast) หลีกเลี่ยงการสบตา/ไม่สบตา ( A v o i d a n t ) ห รื อ ม อ ง ต า ม สิ่ ง เ ร้ า ร อ บ ข้ า ง ถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้ารอบข้างได้ง่าย (Distracted) - ลักษณะท่าทาง เช่น ผู้ป่วยซึมเศร้าที่นั่งไหล่ตก - ระดับการตื่นตัว เช่น ตื่นตัวมาก หรือเชื่องช้า - ก ารก ระท าห รือพ ฤติก รร มใ น ข ณ ะนั้น เช่ น เดินวนไปมารอบห้อง หรือควบคุมตัวเองไม่ได้ (ถอดเสื้อผ้าออก) เดินช้า พูดรัวเร็ว เป็นต้น
  • 20. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 20 - ลักษณะสัมพันธภาพ เช่น แยกตัว ห่างเหิน เย็นชา สุภาพ เป็นมิตร หยาบคาย หวาดระแวง ระวังตัว - ลั ก ษ ณ ะ อื่ น ๆ ที่ แ ส ด งถึ งก าร รับ รู้ ผิ ด ป ก ติ ห รื อ ป ร ะ ส า ท ห ล อ น เ ช่ น พู ด พึ ม พ า ค น เ ดี ย ว ม อ ง ไ ป ที่ ใ ด ที่ ห นึ่ ง โ ด ย ไ ม่ มี อ ะ ไ ร อ ยู่ หรือเหมือนพูดโต้ตอบกับใครที่ไม่มีตัวตน 1.3) พฤติกรรมการเคลื่อนไหว (Motorbehavior) ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว เช่น P s y c h o m o t o r a g i t a t i o n ความคิดและการเคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้นจากความกดดันภายในใจ ทาให้อยู่เฉยไม่ได้ วุ่นวาย กระสับกระส่าย Psychomotorretardation ความคิด การเคลื่อนไหว และการพูดจาช้าลง ไม่ค่อยมีน้าเสียง และมักจะอยู่เฉยๆ นิ่งๆ S te re o ty p e y ก า ร ก ร ะ ท า ห รื อ พู ด ซ้ า ๆ เห มือน เดิมอยู่ต ลอด โด ยไม่มีจุด มุ่งห มาย เช่น โยก ตัวไป มา เอามือถูศีรษะตลอดเวลา M a n n e ris m ก า ร ก ร ะ ท า ห รื อ พู ด ซ้ า ๆ แต่มีจุดมุ่งหมาย เช่น เอามือปัดผมออก C a t a t o n i a ก า ร เค ลื่ อ น ไ ห ว ผิ ด ป ก ติ โ ด ย ไ ม่ มี ส าเห ตุ ท า ง ก า ย เช่ น Catatonicexcitem ent (วุ่นวาย เคลื่อนไหวมาก ไร้จุดหมาย) C a ta to n ic s tu p o r (เค ลื่ อ น ไ ห ว ล ด ล ง ม า ก อ ยู่ นิ่ ง เฉ ย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม) Catatonicposturing (อยู่ในท่าแปลกๆ นานๆ ไม่เปลี่ยนท่า) Co m p ulsion การก ระทาห รือพ ฤติกรรมซ้าๆ ที่ ผู้ ป่ ว ย ต้ อ ง ก า ร ที่ จ ะ ท า พ ฤ ติ ก ร ร ม เดิ ม ๆ อ ยู่ เรื่ อ ย ๆ โด ยไ ม่อาจ หัก ห้ามใจ ได้ (แม้รู้ว่าเป็นก ารก ระทาที่ไร้เหตุผล แต่ก็ไม่สามารถยับยั้งใจไม่ให้ทาได้) ลักษณะการเคลื่อนไหวผิดปกติเนื่องจากฤทธิ์ข้างเคีย งของยาต้านโรคจิต (Extrapyramidal sideeffect, EPS) ได้แก่
  • 21. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 21 A k a th is ia ไ ม่ ส บ า ย ไ ม่ ว่ าจ ะ อ ยู่ ใ น ท่ า ใ ด มีอาการผุดลุกผุดนั่ง P a rk in s o n is m อาก าร สั่น (tre m o r) ห รื อ pillrollingtremor เดินลากเท้า (shufflinggait) เคลื่อนไหวช้าลง (slowedmovements) หรือ ร่างกายแข็งเกร็ง (rigidity) Tardivedyskinesia ขมุบขมิบปากหรือดูดริมฝีปาก ลิ้น สั่น เมื่อแลบ ลิ้น ห รือลิ้น ก ระด ก ไ ป ข้างห น้าห รือข้างห ลัง ลิ้น ม้ วน ไ ป ม าใ น ป าก ห รือดุน แก้ มห รือ จุก บ ริเวณ ริมฝีป าก มีการข ยับ ข องข ากรรไ กรทั้ง 2 ข้าง มีอาการ ขยับนิ้ว บีบมือ คอบิดเอียง 2) อารมณ์ (Mood) A ffe c t ห ม า ย ถึ ง อ า ร ม ณ์ ที่ แ ส ด ง อ อ ก ม า บุคคลภายนอกรับรู้และสังเกตเห็นจากสีหน้าท่าทาง M oo d ห มายถึง อารมณ์ ที่ อยู่ภายใ น จิต ใ จบุค ค ล เป็ น ภ าว ะ ที่ ค ง อ ยู่ น า น เกิ ด จ า ก ก าร รั บ รู้ ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ และมักส่งผลต่อบุคลิกภาพหรือพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลนั้น เที ยบ เคียงกับ ก ารโยน หิน ไ ป ใ น ท ะ เล สาป M o o d เ ป รี ย บ เ ห มื อ น ท ะ เ ล ส า ป เ มื่ อ เ ร า โ ย น หิ น ไ ป น้าจะกระเพื่อมให้เห็นซึ่งก็คือ Affect นั่นเอง Affect แบ่งเป็น ขอบเขตและความมากน้อยของอารมณ์ Restrictedaffect การแสดงออกของอารมณ์ลด ลง สังเกตเห็นได้ชัด Flat/Bluntedaffect ไม่แสดงออกทางอารมณ์ เฉยเมย น้ า เสี ย ง ร า บ เรี ย บ (เห มื อ น โ ย น หิ น ล ง ไ ป ใ น ท ะ เล ส า ป แต่ไม่มีการกระเพื่อมของน้าเลย) ความคงอยู่ของอารมณ์ L a b ile a ff e c t อ า ร ม ณ์ เป ลี่ ย น ไ ป ม า ง่ า ย มีการควบคุมการแสดงออกของอารมณ์น้อย เช่น กาลังเสียใจอยู่ แต่พอได้ยินเรื่องตลกก็หัวเราะขึ้นมาทันที
  • 22. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 22 ความเหมาะสมของอารมณ์ที่แสดงออก A p p r o p r i a t e a f f e c t ก า ร แ ส ด งอ อ ก ข อ งอ า ร ม ณ์ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เนื้ อ ห าที่ พู ด หรือความคิดในขณะนั้น In a p p r o p r ia t e / I n c o n g r u e n t a f f e c t ก าร แ สด ง ออ ก ข อ งอ าร ม ณ์ ไ ม่ ส อ ด ค ล้อ งกั บ เนื้ อ ห า ที่ พู ด ห รื อ ค ว า ม คิ ด ใ น ข ณ ะ นั้ น อ ย่ า ง เห็ น ไ ด้ ชั ด เช่ น ผู้ป่วยอมยิ้มขณะเล่าเรื่องที่แม่เสียชีวิต ** การบันทึกอารมณ์ของผู้ป่วย บันทึกทั้งในลักษณะที่เป็น S u b j e c t i v e คื อ อ า ร ม ณ์ ที่ ผู้ ป่ ว ย บ อ ก โดยบันทึกเป็นคาพูดที่ผู้ป่วยพูดออกมา และการบันทึกในลักษณะ O b je c tiv e คื อ ก าร บั น ทึ ก อ าร มณ์ จ าก ที่ สั งเก ต เห็ น เช่ น อารมณ์หงุดหงิด เศร้า อารมณ์ดี กังวล ยุ่งยากใจ เป็นต้น Mood Dysphoricmood ความรู้สึกทุกข์ทรมาน ไม่สบายใจ เช่น ซึมเศร้า วิตกกังวล Euthymicmood อารมณ์อยู่ในขอบเขตปกติ ไม่ซึมเศร้า หรือครื้นเครงผิดปกติ Ele v a te d m o o d มีค วามสุข รื่น เริงขึ้ น ก ว่าป ก ติ แต่ไม่จาเป็นต้องผิดปกติเสมอไป E u p h o r i c m o o d มี ค ว า ม สุ ข รู้ สึ ก ส บ า ย ม า ก เ กิ น ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง เป็นภาวะที่แสดงถึงความผิดปกติทางอารมณ์ Irritablemood อารมณ์ขุ่นเคือง หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย อาการอื่นๆ A n x i e t y ค ว า ม รู้ สึ ก วิ ต ก กั ง ว ล ห วั่น เก ร งว่าจ ะ เกิ ด เรื่องร้ายขึ้ น กับ ต น เองห รือ ค น ใ ก ล้ ชิ ด มักเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือสิ่งที่ทาให้ไม่สบายใจ F r e e -f l o a t i n g a n x i e t y เป็นความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นมาโดยไม่มีสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเ ป็นพิเศษ
  • 23. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 23 P a n i c a t t a c k ความวิตกกังวลหรือตื่นตระหนกที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงในทันทีทันใด ร่วมไปกับอาการต่างๆ ทางร่างกาย เช่น ใจสั่น หายใจขัด Apathy เป็นภาวะที่หมดความรู้สึกความสนใจต่อสิ่งต่างๆ ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ท า ง อ า ร ม ณ์ อ า จ ล ด ล ง มั ก จ ะ เฉื่ อ ย ช า ขาดความกระตือรือร้น และผู้ป่วยไม่ตระหนักถึงความผิดปกติของตน A n h e d o n ia ผู้ ป่ ว ย ไ ม่ ส าม าร ถ ที่ จ ะ มี ค ว าม สุ ข ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ เห มื อ น อ ย่ า ง เค ย ผู้ป่วยรับรู้ต่อการเปลี่ยนไปของตนเอง A m b i v a l e n t มีความรู้สึกสองอย่างที่ตรงข้ามกันต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในขณะเดียวกัน 3) การพูดและการใช้ภาษา (Speech and language) กระแสคาพูดกับความคิดเป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ออก ก ร ะ แส ค าพู ด เป็ น ห น้ าต่ างที่ เปิ ด ไ ป สู่ค วาม คิ ด ข องบุ ค ค ล เปรียบกระแสคาพูดเหมือนรถไฟ ความคิดจะเป็นผู้โดยสารในรถไฟ แล ะ เส้ น ท า งข อ งร ถ ไ ฟ จ า ก ส ถ านี ห นึ่ งไ ป อีก ส ถ านี ห นึ่ ง คือการเปลี่ยนแปลงหรือการขับเคลื่อนของความคิด P r e s s u r e o f s p e e c h เปรียบเหมือนรถไฟที่ขับเร็วมากและเต็มไปด้วยผู้โดยสาร กล่าวคือ ผู้ป่วยจะพูดเร็ว เต็มไปด้วยเนื้อหาความคิด (Pressure of thought) ไม่มีโอกาสขัดจังห วะ บางทีแม้จะขัดจังห วะผู้ป่วยก็ยังพูดต่อ มักพูดเสียงดังเต็มไปด้วยอารมณ์ มักพบในผู้ป่วย mania P o v e r t y o f s p e e c h เ ห มื อ น ร ถ ไ ฟ ที่ ขั บ ช้ า ไ ม่ ค่ อ ย มี ผู้ โ ด ย ส า ร ไม่ไ ด้อัด แน่น ด้วยเนื้อห าค วามคิ ด (Po v e rty o f th o u g h t) ปริมาณคาพูดมีน้อย ตอบแค่ที่ถาม คาตอบสั้นๆ ไม่ได้รายละเอียด ต้องถามอยู่เรื่อยๆ มักพบในผู้ป่วยซึมเศร้า T h o u g h t b lo c k เห มื อ น ร ถ ไ ฟ ที่ ขั บ อ ยู่ ดี ๆ ก็หยุดโดยไม่มีสัญญาณเตือน และปล่อยผู้โดยสารลงหมด หมายถึง ค ว า ม คิ ด ห ยุ ด ช ะ งั ก ผู้ ป่ ว ย จ ะ ห ยุ ด ช ะ งั ก ก่ อ น พู ด จ บ ห ลั ง จ า ก เ งี ย บ ไ ป ชั่ ว ค รู่
  • 24. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 24 ผู้ป่วยจะบอกว่าจาไม่ได้ว่าพูดอะไรไปหรือตั้งใจจะพูดเรื่องอะไร จะพบบ้างในผู้ป่วยจิตเภท Circum stantial speech เหมือนรถไฟความเร็วปกติ จ า น ว น ผู้ โ ด ย ส า ร ป ก ติ แต่ขับใช้ระยะเวลาในการลดเลี้ยวแวะเวียนหลายๆ สถานีย่อย จนในที่สุดก็ไปถึงสถานีที่ต้องการ ผู้ป่วยจะพูดอ้อมค้อมไม่ตรงจุด เพิ่ ม เติ ม ร า ย ล ะ เอี ย ด ห รื อ สิ่ ง ที่ ไ ม่ ต ร ง ป ร ะ เด็ น ล ง ไ ป แต่ในตอนท้ายก็กลับมาที่จุดหมายได้ F l i g h t o f i d e a s เห มื อ น ร ถ ไ ฟ ที่ แ ล่ น เ ร็ ว เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ผู้ โ ด ย ส า ร แ ต่ มั ก แ ว ะ โ น่ น นี่ อ ย่ า ง ก ร ะ ทั น หั น แวะหลายสถานีย่อยโดยใช้เวลาไม่นานก็เปลี่ยนเส้นทางหรือเปลี่ยนไ ป อี ก ส ถ า นี โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ ว า ง แ ผ น ม า ก่ อ น แต่ก็เป็นที่เข้าใจได้ในการแวะเข้าไป ผู้ป่วยจะมีความคิดหลายๆ อ ย่ า ง เ กิ ด ขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว บางค วามคิดเกิดขึ้น เพ ราะสิ่งเร้าที่เข้ามารบ กวน ข ณ ะพูด คุย (d is tra c te d ) แ สด งออ ก ม าโด ย ก าร พู ด มา ก แล ะ พู ด เร็ ว พู ด เ รื่ อ ง ห นึ่ ง ไ ม่ ทั น จ บ ก็ เป ลี่ ย น ไ ป อี ก เรื่ อ ง ห นึ่ ง แต่เรื่องราวมีส่วนต่อเนื่องกัน สามารถเข้าใจได้ Loosening of association รถไฟที่ขับไปนอกทิศทาง แ ล ะ ไ ป อี ก ส ถ า นี ห นึ่ ง ที่ ไ ม่ ใ ช้ ส ถ า นี ที่ ต้ อ ง ก า ร ไ ป ผู้ป่วยจะขาดความต่อเนื่องของความคิด พูดไม่เป็นเหตุเป็นผลกัน ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้ เปลี่ยนเรื่องหนึ่งไปอีกเรื่องหนึ่งโดยไม่เกี่ยวข้องกันเลยหรืออาจเกี่ยวเ ล็ก น้ อ ย โด ยที่ ผู้ พู ด ไ ม่ไ ด้ ต ร ะ ห นั ก ว่าเป็ น ค น ละ เรื่ อง กั น มักพบในผู้ป่วยจิตเภท Perseveration เหมือนรถไฟที่ต้องแล่นจากสถานี B ไ ป ส ถ านี C แ ต่ต้ องห ยุด แค่ ที่ สถ านี B ผู้ป่ วยจ ะพู ด ซ้ าค า ห รื อ เ รื่ อ ง เ ดิ ม อ ยู่ ด้ ว ย ๆ มัก พ บใน ผู้ป่วยที่มีอาการท างจิตจ ากปัจจัยท างชีวภาพ เช่น สมองเสื่อม (Dementia) ตัวอย่างเช่น
  • 25. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 25 พยาบาล : คุณชื่ออะไรคะ ผู้ป่วย : เอลวิส พยาบาล : อายุเท่าไรคะ ผู้ป่วย : เอลวิส C l a n g i n g เป็นการพูดที่มุ่งเน้นถึงการมีสัมผัสสอดคล้องกันมากกว่าการมีความห มายต่อเนื่องกัน ทาให้บางครั้งมีคาเกินมาหรือขาดหายไป N e o l o g i s m s เป็น คาใหม่ที่ผู้ป่วยสร้างขึ้นมาเองห รือเป็นค าที่ใช้กัน อยู่แล้ว แ ต่ ผู้ ป่ ว ย น า ม า ใ ช้ ใ น ค ว า ม ห ม า ย ใ ห ม่ ที่ ฟั ง แ ป ล ก ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายใดเลย Illo gicality ผู้ป่วยแสด งความคิด เห็น จาก ข้อมูลที่มี โด ยที่ค วามเห็น นั้น ไม่ เป็น เห ตุผลซึ่งกัน และ กัน ฟั งดูแป ลก ไม่ไปด้วยกัน การบันทึกกระแสคาพูดควรบันทึกสิ่งต่อไปนี้ - อัตราเร็วเช่นเร็วหรือช้าหรือปกติ - ความดังเช่นเสียงดังค่อยหรือปกติตะโกนหรือกระซิบเป็นต้น - โทนเสียงหรือการแสดงอารมณ์ขณะพูดเช่นพูดเสียดสีโกรธหดหู่ สงบเนือยๆ ปกติเครียดเน้นเสียงหรือน้าเสียงราบเรียบเป็นต้น - ความต่อเนื่องของกระแสคาพูด/กระแสความคิดเช่นพูดขึ้นเองอ ย่างฉับพลันทันที ลังเลขณะพูดหรือหยุดคิดนานก่อนจะตอบพูดมากจนขัดจังหวะไม่ได้ อื่นๆได้แก่การบกพร่องทางการพูด/พูดไม่ชัด/พูดลาบากเนื่ องจากการควบคุม
  • 26. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 26 กล้ามเนื้อในการพูดผิดปกติ (Dysarthria) ความบกพร่องทางภาษา (Dysphasia) 4) ความคิดและ การคิด (Thought and thinking) การประเมินความคิดและการคิดทาได้โดยการฟังสิ่งที่ผู้ป่วยพูด น อ ก จ า ก ก า ร ฟั ง ค ว ร ถ า ม ถึ ง ค ว า ม คิ ด และความรู้สึกของผู้ป่วยต่อสิ่งที่คิดหรือพูดออกมา ความคิดมี 2 อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ต้ อ ง ป ร ะ เมิ น ไ ด้ แ ก่ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด หรือรูปแบบของการคิด (process or form) และเนื้อหาความคิด (content) ผู้สัมภาษณ์ต้องประเมินทั้ง 2 องค์ประกอบไปพร้อมๆ 4.1) กระบวนการหรือรูปแบบของความคิด (Thought process or thought form) สิ่งสาคัญที่ผู้ประเมินต้องประเมินคือกระแสของความคิด (stream of thought) ซึ่งป ระเมิน จ าก ค วามต่อเนื่องและค วามสัมพัน ธ์กัน ( association) ร ะ ห ว่ า ง เ รื่ อ ง ที่ พู ด ค า พู ด และการพูดของผู้ป่วยจะเป็นตัวสะท้อนกระบวนการหรือรูปแบบความ คิ ด แ ม้ จ ะ มี ก า ร ป ร ะ เมิ น เรื่ อ ง ข อ ง ก า ร พู ด ไ ป แ ล้ ว แต่ใน ส่วน นั้น เราป ระเมิน ลัก ษณ ะข องการพูด มาก กว่า เช่ น น้าเสียงค วามเร็วค วาม ดัง ก าร พู ด เยอ ะ ห รือน้ อย เป็น ต้ น นอกจากนี้การประเมินเรื่องการพูดยังเป็นการเป็นการแสดงถึงความผิ ด ป ก ติ ท างก ร ะ บ วน ก าร คิ ด ห รือรู ป แบ บ ข อ งก าร คิ ด เช่ น ก า ร พู ด ที่ มี เนื้ อ ห า น้ อ ย ( poverty of content of speech) ก า ร พู ด แ บ บ เ ฉี ย ด ๆ ( tangentially) การพูดหรือตอบแบบไม่ตรงคาถาม (irrelevant) เป็นต้น ตัวอย่างความผิดปกติเกี่ยวกับรูปแบบความคิดมีดังนี้ - Circumstantialities ก า ร พู ด อ้ อ ม ค้ อ ม วกวนไม่ตรงจุด ใช้ถ้อยคาจานวนมากและจับประเด็นได้ยาก
  • 27. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 27 - Loosening of association ความคิด ไม่ป ะติด ป ะต่อ แสด งออก โด ยก ารพู ดที่ไ ม่ต่อเนื่อง เป ลี่ ยน แ น ว คิ ด แ บ บ ไ ม่ สั ม พั น ธ์ กั น เลย ผู้ ฟั ง จ ะ ไ ม่ เข้ าใ จ จับใจความได้เพียงเล็กน้อยหรือแทบไม่ได้ - Incoherence ( word salad) เป็ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค ว า ม คิ ด ที่ ไ ม่ ป ะ ติ ด ป ะ ต่ อ เช่ น กั น แ ส ด ง อ อ ก โ ด ย ก า ร พู ด ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ เข้ า ใ จ ไ ด้ เล ย ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ประโยคหรือคาที่ไม่สัมพันธ์กัน มักพบร่วมกับ loosening of association - Flight of idea ค ว า ม คิ ด แ ล่ น เ ร็ ว แสดงออกโดยการพูดเร็วเหมือนการมีแรงผลักดันที่ต้องพูดออกมา (pressure of speech) ผู้ ป่ ว ย จ ะ พู ด ม า ก ก ว่ า ป ก ติ พู ด เร็ ว และ ยาก ที่จ ะ ขัด จังห วะ ไ ด้ ค วามแต ก ต่างจ าก loosening of association คือ flight of idea ยังมีความต่อเนื่องของความคิดอยู่ เรื่ อ ง ที่ พู ด อ า จ เป ลี่ ย น เร็ ว แ ต่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น อย่างไรก็ตามรายที่อาการรุนแรงอาจพูดคนเดียวโดยไม่สนใจคนฟัง หรือพูดเร็วจนมี loose association ได้บ้าง - Neologism การที่ผู้ป่วยใช้คาแปลกที่สร้างหรือบัญญัติขึ้นเองมีความหมายเฉพาะ สาหรับผู้ป่วยเท่านั้น - Clanging ก าร พู ด โยใ ช้ค าสั มผัสค ล้ องจ อ ง โดยที่คาเหล่านั้นไม่สัมพันธ์กันเลยไม่สมเหตุสมผล 4 .2 ) เนื้ อ ห า ค ว า ม คิ ด ( Thought content) เป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องถามเนื้อหาความคิดซ้าอีกครั้งแม้ว่าข้อมูลส่วนที่ อ า จ ไ ด้ ม า บ้ า ง แ ล้ ว ร ะ ห ว่ า ง สั ม ภ า ษ ณ์ เพราะบางครั้งข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับความคิดอาจจะมาจากหลายช่วง นอกจากนี้การเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนที่เป็นเนื้อหาความคิดจะช่วยให้กา ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล มี ค ว า ม เ ป็ น ร ะ บ บ ม า ก ขึ้ น
  • 28. การประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช (Psychiatric assessment) 28 การ ตรวจเนื้อห าค วามคิด นั้น ให้สังเก ต ว่าถูก ต้อง มีเห ตุมีผล แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ห รื อ ไ ม่ ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยส่วนใหญ่จ ะบอกถึงความผิดปกติได้จากพ่อแม่ ญาติ เพื่อนฝูงหรือคนใกล้ชิดอื่นๆ ของผู้ป่วยด้วย คาถามที่ใช้ควรหลีกเลี่ยงลักษณะขอคาถามปลายปิด เช่ น “เมื่ อ คื น นี้ คุ ณ ค ง น อ น ไ ม่ ห ลั บ ใ ช่ ไ ห ม ค ะ ” น อ ก จ า ก นี้ ค ว ร ห ลี ก เลี่ ย ง ค า ถ า ม ชั ก น า ผู้ ป่ ว ย เช่ น “คุ ณ ไ ม่ ช อ บ เ พื่ อ น ข อ ง คุ ณ ใ ช่ ไ ห ม ค ะ ” คาถามเพื่อประเมินความคิดจึงควรเป็นคาถามปลายเปิดกว้างๆ ซึ่งผู้ป่วยจะได้อธิบายความคิดของตัวผู้ป่วย ระดับของเนื้อหาความคิดสามารถแบ่งได้ดังนี้ - Ideation คือ สิ่งที่คิด อาจ เป็น ได้ทั้งแน วคิด ความคิด ความเชื่อ มุมมอง ความเห็น ซึ่งบุคคลอาจมีต่างๆ กัน สามาร ถ เป ลี่ยน แป ลงได้ต ามเวลา และ สถ าน ก ารณ์ สิ่งที่ คิด และความเชื่อนี้เป็นสิ่งที่เป็นเหตุเป็นผล พบได้ตามปกติทั่วๆ ไป - Preoccupation คื อ ก า ร ห ม ก มุ่ น ห ม าย ถึ ง มีความคิดหมกมุ่นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มักสัมพันธ์กับความวิตกกังวล เช่น การหมกมุ่นกับความเจ็บป่วย การหมกมุ่นกับปัญหาที่เผชิญ เช่น ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร ย้ า คิ ด ย้ า ท า น อก จ าก นี้ อาจ เป็ น ก าร ห มก มุ่น ใ น ก าร วางแ ผน ก าร เช่ น การวางแผนฆ่าตัวตาย การทาร้ายผู้อื่น การฆาตกรรม - Delusion คื อ ก า ร ห ล ง ผิ ด ห ม า ย ถึ ง การมีความเชื่อแบบผิดๆ ซึ่งไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (fixed false belief) และความเชื่อดังกล่าวต้องไม่ใช่ความเชื่อที่พบได้ตามปกติในสังคมหรื อวัฒนธรรมของผู้ป่วย ควรแยกอาการหลงผิดออกจากความเชื่อทั่วไป ห รื อ ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ อ า จ ไ ม่ เ ป็ น เ ห ตุ เ ป็ น ผ ล แต่ยังไม่ยึดติดจนกระทั่งไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งน่าจะเข้าได้กับ overvalued idea มากกว่า