SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 48
Baixar para ler offline
ไฟฟ้าเคมี
ELECTROCHEMISTRY
เคมี 4 ว30224
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน หรือ
ปฏิกิริยารีดอกซ์ (RedoxReaction)
ผลการเรียนรู้ # 1
1. อธิบายความหมายของปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน ปฏิกิริยารีดอกซ์
2. จาแนกได้ว่าปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่
3. บอกความหมายตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ พร้อมทั้งระบุสารที่เป็นตัวออกซิไดส์ ตัวรีดิซ์
ในปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
4. จัดลาดับความสามารถในการรับหรือให้อิเล็กตรอนของสาร และเปรียบเทียบ
ความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์ หรือตัวรีดิวซ์
5. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์ จากข้อมูล
ที่กาหนดให้
ความรู้พื้นฐานที่จาเป็น
เลขออกซิเดชัน ( Oxidation number )
1. เลขออกซิเดชันของธาตุมีค่าเป็น 0 ; Na , Fe , Cl2 , O2 , P4 …
2. เลขออกซิเดชันของธาตุหมู่ IA ในสารประกอบเป็น +1 , NaCl
เลขออกซิเดชันของธาตุหมู่ IIA ในสารประกอบเป็น +2 , CaO
เลขออกซิเดชันของธาตุหมู่ IIIA ในสารประกอบเป็น +3 , AlCl3
3. เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบเกือบทุกชนิดเป็น -2 , MgO
เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบเปอร์ออกไซด์เป็น -1 , BaO2
เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบซูเปอร์ออกไซด์เป็น -1/2 , KO2
ยกเว้น ใน OF2 เลขออกซิเดชันเป็น +2
ความรู้พื้นฐานที่จาเป็น
เลขออกซิเดชัน ( Oxidation number )
4. เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจนในสารประกอบเป็น +1 ; H2O
ยกเว้นในสารประกอบไฮไดรด์ (Hกับโลหะ) มีค่าเป็น -1 ; NaH
5. เลขออกซิเดชันของแฮโลเจนในสารประกอบเกือบทุกชนิดเป็น -1 ; HF
6. ผลรวมเลขออกซิเดชันของทุกธาตุในโมเลกุลที่เป็นกลางเท่ากับ 0 ,
7. ผลรวมเลขออกซิเดชันของทุกธาตุในไอออนเท่ากับประจุของไอออนนั้น
C6H12O6 ผลรวมเลขออกซิเดชันเป็น 0
SO4
2- ผลรวมเลขออกซิเดชันเป็น -2
แบบฝึกทบทวนความรู้เดิม
จงเขียนเลขออกซิเดชันของอะตอมในสารประกอบต่อไปนี้
1. Pb(NO3)2
2. K2Cr2O7
3. Na2SO4
ไฟฟ้าเคมี
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
ระหว่าง พลังงานไฟฟ้า กับ พลังงานเคมี
ไฟฟ้าเคมี
ปฏิกิริยาเคมีทาให้
เกิดกระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าทาให้
เกิดปฏิกิริยาเคมี
Galvanic Cell
Electrolytic Cell
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน -รีดักชัน
Oxidation half reaction Reduction half reaction
Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s)
โลหะ Zn เป็นตัวรีดิวซ์ ( Reducing agent)
โลหะ Zn ถูกออกซิไดส์ ไปเป็น Zn2+
โลหะ Zn เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Cu2+ ไอออนเป็นตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent)
Cu2+ ไออน ถูกรีดิวซ์ ไปเป็น Cu
Cu2+ ไออน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
โลหะ Zn เสียอิเล็กตรอน Cu2+ ไออน รับอิเล็กตรอน
L = loss , E = electron , O = oxidation G = gain , E = electron , R = reduction
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน
ครึ่ง Oxidation reaction ครึ่ง Reduction reaction
Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s)+
Zn(s) + Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) + Zn2+(aq) + 2e-
Zn(s) + Cu2+(aq) → Cu(s) + Zn2+(aq)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน หรือปฏิกิริยารีดอกซ์ (RedoxReaction)
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน -รีดักชัน
Oxidation half reaction Reduction half reaction
Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e- Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s)
โลหะ Mg เป็นตัวรีดิวซ์ ( Reducing agent)
โลหะ Mg ถูกออกซิไดส์ ไปเป็น Mg2+
โลหะ Mg เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Zn2+ ไอออนเป็นตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent)
Zn2+ ไออน ถูกรีดิวซ์ ไปเป็น Zn
Zn2+ ไออน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
โลหะ Mg เสียอิเล็กตรอน Zn2+ ไออน รับอิเล็กตรอน
L = loss , E = electron , O = oxidation G = gain , E = electron , R = reduction
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน
ครึ่ง Oxidation reaction ครึ่ง Reduction reaction
+
Mg(s) + Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) + Mg2+(aq) + 2e-
Mg(s) + Zn2+(aq) → Zn(s) + Mg2+(aq)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ (RedoxReaction)
Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e- Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s)
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน -รีดักชัน
Oxidation half reaction Reduction half reaction
Sn(s) → Sn2+(aq) + 2e- Fe3+(aq) + 3e- → Fe(s)
โลหะ Sn เป็นตัวรีดิวซ์ ( Reducing agent)
โลหะ Sn ถูกออกซิไดส์ ไปเป็น Sn2+
โลหะ Sn เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Fe3+ ไอออนเป็นตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent)
Fe3+ ไออน ถูกรีดิวซ์ ไปเป็น Fe
Fe3+ ไออน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
โลหะ Sn เสียอิเล็กตรอน Fe3+ ไออน รับอิเล็กตรอน
L = loss , E = electron , O = oxidation G = gain , E = electron , R = reduction
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน
ครึ่ง Oxidation reaction ครึ่ง Reduction reaction
+
3Sn(s) + 2Fe3+(aq) + 6e- → 2Fe(s) + 3Sn2+(aq) + 6e-
3Sn(s) + 2Fe3+(aq) → 2Fe(s) + 3Sn2+(aq)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ (RedoxReaction)
Sn(s) → Sn2+(aq) + 2e- Fe3+(aq) + 3e- → Fe(s)3 x X 2
Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s)+
Zn(s) + Cu2+(aq) → Cu(s) + Zn2+(aq)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ (RedoxReaction)
Mg(s) + Zn2+(aq) → Zn(s) + Mg2+(aq)
Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e- Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s)+
การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันในปฏิกิริยารีดอกซ์
Zn(s) + Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu(s)
Cu2+ ไอออน เลขออกซิเดชัน Cu เปลี่ยนจาก +2 เป็น 0
เลขออกซิเดชัน Zn เปลี่ยนจาก 0 เป็น +2 ใน Zn2+ ไอออน
โลหะ Zn เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ให้ e- ถูกออกซิไดส์ เลขออกซิเดชันเพิ่ม เป็นตัวรีดิวซ์
Cu2+ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน รับ e- ถูกรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันลด เป็นตัวออกซิไดส์
+20 +2 0
การพิจารณาปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชัน (รีดอกซ์)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชัน
เป็นปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการ
ถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากสารหนึ่ง
ไปยังอีกสารหนึ่ง ทาให้ประจุ
ของอะตอมในโมเลกุลหรือ
ไอออนในสารประกอบ
เปลี่ยนแปลง
ซึ่งประจุของอะตอมหรือของ
ไอออนนั้น เรียกว่า
เลขออกซิเดชัน
ปฏิกิริยารีดักชัน รับ e-
เลขออกซิเดชันลด
เป็นตัวออกซิไดส์
ปฏิกิริยาออกซิเดชันให้ e-
เลขออกซิเดชันเพิ่ม
เป็นตัวรีดิวซ์
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชัน (รีดอกซ์)
1. S + O2 → SO2
2. 3Mg + N2 → Mg3N2
3. 2H2(g) + O2(g) → 2H2O(l)
4. 2HgO(s)  2Hg(l) + O2(g)
5. KClO3 → 3KCl + 3O2
6. 2H2O(l) elec 2H2(g) + O2(g)
7. 2Na + 2H2O → 2NaOH + H2
8. Cu + AgNO3 → CuNO3 + 2Ag
9. Cl2 + KBr → KCl + Br2
10. Cl2 + 2OH- → ClO- + Cl- + H2O
Disproportionation
I) ปฏิกิริยาข้อใดต่อไปนี้ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
1. 2H2(g) + O2(g) → 2H2O(l)
2. KClO3 → 3KCl + 3O2
3. Cu + 2AgNO3 → CuNO3 + 2Ag
4. 2NaHCO3 → Na2CO3 + H2O + CO2
5. KMnO4 + H2O2 + H2SO4 → K2SO4 + 2MnSO4 + 8H2O + 5O2
6. HgCl2 + 2KI → HgI2 + KCl
II) จงระบุตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์ของปฏิกิริยาต่อไปนี้
1. 4NH3 + 5O2 → 4NO + 6H2O
2. CrCl3 + Na2O2 + NaOH → Na2CrO4 + NaCl + H2O
3. HgCl2 + 2KI → HgI2 + KCl
การเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์ที่กาหนดให้
1. Cu(s) + 3Ag+(aq) → Cu2+(aq) + 3Ag(s)
Cu(s) + Ag+(aq) → Cu2+(aq) + Ag(s)
Cu(s) → Cu2+(aq)
Ag+(aq) → Ag(s)
+ 2e-
+ e-
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
การเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์ที่กาหนดให้
2. 2Al(s) + 6H+(aq) → 2Al3+(aq) + 3H2(g)
Al(s) + H+(aq) → Al3+(aq) + H2(g)
Al(s) → Al3+ (aq)
2H+(aq) → H2(g)
+ 3e-
+ 2e-
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
III) จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ของปฏิกิริยารีดอกซ์ที่กาหนดให้ พร้อมทั้งระบุตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์
1. 2Cr(s) + 6H+(aq) → 2Cr3+(aq) + 3H2(aq)
2. 2Al(s) + 3Zn2+(aq) → 2Al3+(aq) + 3Zn(s)
3. 2Fe3+(aq) + 2I-(aq) → 2Fe2+(aq) + I2(s)
ตัวอย่างข้อสอบ PAT2 (ก่อนเรียน)
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน เป็นดังนี้
I : 2A(s) + B2+(aq) → 2A+(aq) + B(s)
II : B(s) + D3+(aq) →
III : C(s) + 2A+(aq) → C2+(aq) + 2A(s)
IV : D(s) + A+(aq) →
ข้อความใดถูกต้อง
1. โลหะ A ออกซิไดส์ B2+ ได้ 2. โลหะ C ถูกรีดิวซ์โดย D3+ ได้
3. โลหะ B ใช้ทาภาชนะบรรจุสารละลาย C2+ได้ 4. โลหะ D ถูกออกซิไดส์ได้ง่ายที่สุด
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ กับ สารละลายของโลหะไอออน
อุปกรณ์ ถาดหลุมพลาสติก
ปิเปตต์พลาสติก
สารเคมี สารละลาย CuSO4
สารละลาย ZnSO4
สารละลาย MgSO4
โลหะทองแดง(Cu)
โลหะสังกะสี (Zn)
โลหะแมกนีเซียม (Mg)
1. ใช้ปิเปตต์พลาสติกดูดสารละลาย CuSO4 จากขวดบรรจุสาร แล้วนาไปหยดลงใน
ถาดหลุมพลาสติกแถว A จานวน 4 หลุมๆละ 20 หยด
2. ใช้ปิเปตต์พลาสติกอีกอันหนึ่งดูดสารละลาย ZnSO4 แล้วนาไป
หยดลงในถาดพลุมพลาสติก แถว B จานวน 4 หลุมๆละ 20 หยด
3. ใช้ปิเปตต์พลาสติกอีกอันหนึ่งดูดสารละลาย MgSO4 แล้วนาไป
หยดลงในถาดพลุมพลาสติก แถว C จานวน 4 หลุมๆละ 20 หยด
3. ใส่ชิ้นโลหะทองแดงลงในหลุม A1 , B1 , C1 หลุมละ 1 ชิ้น สังเกตการเปลี่ยนแปลง
4. ใส่ชิ้นโลหะสังกะสีลงในหลุม A2 , B2 , C2 หลุมละ 1 ชิ้น สังเกตการเปลี่ยนแปลง
5. ใส่ชิ้นโลหะแมกนีเซียมลงในหลุม A3 , B3 , C3 หลุมละ 1 ชิ้น สังเกตการเปลี่ยนแปลง
การทดลองปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน
คาถามการทดลอง
1. จงระบุไอออนที่มีในสารละลาย CuSO4(aq) , ZnSO4(aq) และ
MgSO4(aq)
2. จงระบุสาเหตุที่สารละลายแต่ละชนิดมีสีต่างกัน
3. เขียนสมการแสดงการแตกตัวเป็นไอออนของสารละลาย CuSO4
ZnSO4(aq) และ MgSO4(aq)
4. จะอธิบายผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการทดลองอย่างไร
ไอออนของโลหะในสารละลาย
CuSO4(aq) → Cu2+(aq) + SO4
2-(aq)
ZnSO4(aq) → Zn2+(aq) + SO4
2-(aq)
MgSO4(aq) → Mg2+(aq) + SO4
2-(aq)
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ กับ สารละลายของโลหะไอออน
การเขียนสัญลักษณ์ เมื่อทดลองจุ่มโลหะลงในสารละลาย
ของโลหะไอออน เช่น
จุ่มโลหะทองแดงลงในสารละลาย CuSO4
Cu(s)/CuSO4(aq)
Cu(s)/Cu2+(aq)
Cu/Cu2+
โลหะ กับ สารละลายของโลหะไอออน
Cu Zn Mg
CuSO4(aq) Cu/Cu2+ Zn/Cu2+ Mg/Cu2+
ZnSO4(aq) Cu/Zn2+ Zn/Zn2+ Mg/Zn2+
MgSO4(aq) Cu/Mg2+ Zn/Mg2+ Mg/Mg2+
การเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน
Cu(s) Zn(s) Mg(s)
CuSO4(aq)
ZnSO4(aq)
MgSO4(aq)
No
No
No
No yes
No no
YesYes
1 2 3
A
B
C
โลหะ กับ สารละลายของโลหะไอออน
Cu Zn Mg
CuSO4(aq) Cu/Cu2+ Zn/Cu2+ Mg/Cu2+
ZnSO4(aq) Cu/Zn2+ Zn/Zn2+ Mg/Zn2+
MgSO4(aq) Cu/Mg2+ Zn/Mg2+ Mg/Mg2+
บันทึกผลการทดลอง 9.1 ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน
โลหะ / สารละลายโลหะไอออน การเปลี่ยนแปลง
ชิ้นโลหะ สารละลาย
Zn/Cu2+ สังกะสีกร่อน สารละลายสีฟ้าจางลง มีตะกอนน้าตาลแดง
Mg/Cu2+ แมกนีเซียมกร่อน สารละลายสีฟ้าจางลง มีตะกอนน้าตาลแดง
Mg/Zn2+ แมกนีเซียมกร่อน สารละลายขุ่น
จะอธิบายผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการทดลองอย่างไร
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ กับ สารละลายของโลหะไอออน
Zn/Cu2+ Cu/Zn2+
Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
( Oxidation reaction)
Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s)
ปฏิกิริยารีดักชัน
( Reduction reaction)
Zn(s)+ Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu(s)
ปฏิกิริยารวม
Oxidation-Reduction reactions
(Redox), electrons are transferred.
Zn(s) + Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu(s)
โลหะ Zn ให้ e- เรียกว่าเป็นตัวรีดิวซ์ ( Reducing agent ) ให้ e- แก่ Cu2+
Cu2+ ไออนรับ e- เรียกว่าเป็นตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent) รับ e- จาก Zn
❖ โลหะ Zn เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn ถูกออกซิไดส์ (ไปเป็น Zn2+)
Cu2+ ถูกรีดิวซ์ (ไปเป็น Cu)❖ Cu2+ ไอออน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
LEOsayGER
Oxidation half reaction Reduction half reaction
Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s)
โลหะ Zn เป็นตัวรีดิวซ์ ( Reducing agent)
โลหะ Zn ถูกออกซิไดส์ ไปเป็น Zn2+
โลหะ Zn เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Cu2+ ไอออนเป็นตัวออกซิไดส์ (Oxidizing agent)
Cu2+ ไออน ถูกรีดิวซ์ ไปเป็น Cu
Cu2+ ไออน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
โลหะ Zn เสียอิเล็กตรอน Cu2+ ไออน รับอิเล็กตรอน
L = loss , E = electron , O = oxidation G = gain , E = electron , R = reduction
จงอธิบายการเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้
Mg/Cu2+ Mg/Zn+
การทาปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายไอออนของโลหะ
Mg/Cu2+
Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e-
Mg เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Mg/Zn+
Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e-
Mg เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s)
Cu2+ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน Zn2+ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
Mg(s) + Cu2+(aq) → Mg2+(aq) + Cu(s) Mg(s) + Zn2+(aq) → Mg2+(aq) + Zn(s)
โลหะ กับ สารละลายของโลหะไอออน
โลหะไม่ทาปฏิกิริยากับสารละลายที่มีไอออนของโลหะนั้น
ลาดับความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอน
โลหะ Zn จ่าย e- แก่ Cu2+ ได้ แต่ โลหะ Cu ไม่สามารถจ่าย e- ให้กับ Zn2+
โลหะ Zn เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่าโลหะ Cu
Cu2+ ไอออนเป็นตัวออกซิไดส์ที่ดีกว่า Zn2+ ไอออน
Cu2+ ไอออนชิง e- จากโลหะ Zn ได้ แต่ Zn2+ ไอออนชิง e- จากโลหะ Cu ไม่ได้
ลาดับความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอน
ความสามารถในการให้ e- ความสามารถในการรับ e-
Zn
Cu
ง่าย
ยาก
Zn2+
Cu2+
ง่าย
ยาก
Zn > Cu Cu2+ > Zn2+
ลาดับความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอน
ความสามารถในการให้ e- ความสามารถในการรับ e-
Mg
Zn
Cu
ง่าย
ยาก
Mg2+
Zn2+
Cu2+
ง่าย
ยาก
Mg > Zn > Cu Cu2+ > Zn2+ > Mg2+
ตัวอย่างข้อสอบ PAT2 (หลังเรียน)
1) ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน เป็นดังนี้
I : 2A(s) + B2+(aq) → 2A+(aq) + B(s)
II : B(s) + D3+(aq) →
III : C(s) + 2A+(aq) → C2+(aq) + 2A(s)
IV : D(s) + A+(aq) →
ข้อความใดถูกต้อง
1. โลหะ A ออกซิไดส์ B2+ ได้ 2. โลหะ C ถูกรีดิวซ์โดย D3+ ได้
3. โลหะ B ใช้ทาภาชนะบรรจุสารละลาย C2+ได้ 4. โลหะ D ถูกออกซิไดส์ได้ง่ายที่สุด
2) จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน และ
ปฏิกิริยารีดอกซ์จากข้อมูลต่อไปนี้
โลหะ A
B+
โลหะ B
A+
โลหะ A กร่อน
A(s) → A+(aq) + e-
B+(aq) + e- → B(s)
A(s) + B+(aq) → A+(aq) + B(s)
Oxidation Rx.
reduction Rx.
redox Rx.
การพิจารณาปฏิกิริยารีดอกซ์โดยการเปรียบเทียบเลขออกซิเดชัน
CaCl2(aq) + 2AgNO3(aq) → Ca(NO3)2(aq) + 2AgCl(s)
จงพิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ แล้วระบุว่าปฏิกิริยาเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ หรือไม่เป็นปฏิกิริยา
รีดอกซ์ ถ้าเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ให้ระบุตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์
Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2(g)
Cu2+(aq) + S2-(aq) → CuS(s)



ตัวออกซิไดส์ตัวรีดิวซ์
การเขียนสมการไอออนิกปฏิกิริยารีดอกซ์
Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2(g)
โลหะ Mg เป็นตัวรีดิวซ์ เปลี่ยนเลขออกซิเดชันจาก 0 เป็น +2 เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e-
กรดHCl เป็นตัวออกซิไดส์ H เปลี่ยนเลขออกซิเดชันจาก +1 เป็น 0 เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
H+(aq) + e- → H2(g)
Mg(s) + 2H+(aq) → Mg2+(aq) + H2(g)
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ปฏิกิริยารีดอกซ์
2 2
D) จงระบุตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์ของปฏิกิริยาต่อไปนี้
1. 4NH3 + 5O2 → 4NO + 6H2O
2. CrCl3 + Na2O2 + NaOH → Na2CrO4 + NaCl + H2O
3. HgCl2 + 2KI → HgI2 + KCl
ข้อสอบPAT2 (หลังเรียน)
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน เป็นดังนี้
I : 2A(s) + B2+(aq) → 2A+(aq) + B(s)
II : B(s) + D3+(aq) →
III : C(s) + 2A+(aq) → C2+(aq) + 2A(s)
IV : D(s) + A+(aq) →
ข้อความใดถูกต้อง
1. โลหะ A ออกซิไดส์ B2+ ได้ 2. โลหะ C ถูกรีดิวซ์โดย D3+ ได้
3. โลหะ B ใช้ทาภาชนะบรรจุสารละลาย C2+ได้ 4. โลหะ D ถูกออกซิไดส์ได้ง่ายที่สุด

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 

Mais procurados (20)

6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 

Semelhante a Echem 1 redox

สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีTutor Ferry
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 

Semelhante a Echem 1 redox (20)

Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 

Mais de Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionSaipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะSaipanya school
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด ASaipanya school
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 

Mais de Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 

Echem 1 redox