SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
Slide 1
คาบรรยาย

        เกษตรกรรายย่อยที่อยู่ในพื ้นที่ห่างไกลและขาดแคลนน ้า หรือในเขตพื ้นที่สง ฐานะยากจนมักประสบ
                                                                                  ู
ปั ญหาขาดแคลนอาหารโปรตีน ดังนันการเลี ้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อพลาสติก เป็ นทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมและ
                                    ้
พัฒนาครอบครัวที่ยากจนไม่ให้ ขาดแคลนอาหารโปรตีน
ในปั จจุบนปลาดุกบิ๊กอุยเป็ นที่นิยมเลี ้ยงของเกษตรกรเนื่องจากเลี ้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว อีกทังยัง
         ั                                                                                    ้
ทนทานต่อโรคและสภาพแวดล้ อม เป็ นที่นิยมบริโภคของประชาชนเนื่องจากรสชาติดี และราคาไม่แพง

Slide 2
คาบรรยาย



      การเลี ้ยงปลาดุก สามารถเลี ้ยงได้ ทงในบ่อดิน บ่อซีเมนต์ และบ่อพลาสติก ถ้ ามีพื ้นที่จากัด การเลี ้ยงใน
                                         ั้
บ่อพลาสติกก็เป็ นทางออกที่ดี และประหยัด โดยที่ในบ่อพลาสติกจะมีอายุการใช้ งานประมาณ 3-5 ปี

Slide 3
คาบรรยาย

        สาหรับวัตถุประสงค์ของการเลี ้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติกก็เพื่อ
        1. เป็ นการส่งเสริมให้ ประชาชนลดรายจ่ายในครัวเรือน โดยการเลี ้ยงปลา เพื่อเป็ นอาหาร
                   บริโภคเอง
        2. เป็ นการส่งเสริมและสนับสนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
        3. เป็ นการพัฒนาอาชีพการลี ้ยงปลาแบบพอเพียงไปสูระบบการเลี ้ยงปลาเชิงพาณิชย์
                                                          ่
        4. ให้ มีอาหารโปรตีนจากปลาบริโภคในครัวเรือนและในชุมชน
Slide 4
คาบรรยาย

        ข้ อดีของการเลี ้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อพลาสติกมีอยู่หลายประการด้ วยกันได้ แก่
        1. ใช้ พื ้นที่เลี ้ยงน้ อย และสามารถเลี ้ยงได้ ทกพื ้นที่
                                                         ุ
        2. การก่อสร้ างบ่อเลี ้ยงง่าย สะดวกและรวดเร็ว
        3. ใช้ ระยะเวลาในการเลี ้ยงสัน แต่ละรุ่นใช้ เวลาเลี ้ยงเพียง 90
                                          ้                              – 120 วัน
        4. ปลาดุกเป็ นปลาที่อดทนต่อสภาพน ้าได้ ดี
        5. ปลาดุกสามารถเลี ้ยงและดูแลรักษาได้ สะดวก นอกจากจับมาบริโภคในครัวเรือนแล้ ว ส่วนที่
       เหลือก็นาไป
                       ขายเป็ นรายได้ เสริมให้ กบครอบครัว
                                                ั

Slide 5
คาบรรยาย

        การเลือกสถานที่สร้ างบ่อ ควรจะพิจารณาถึงปั จจัยต่างๆดังนี ้
        1. บ่อควรอยู่ใกล้ บ้าน หรือที่ที่สามารถดูแลได้ สะดวก
        2. ควรอยู่ในที่ร่ม หรือมีหลังคาเพราะปลาดุกเป็ นปลาที่ไม่ชอบแสงแดดจัด และหลังคาจะช่วย
ปองกันเศษใบไม้ ร่วงลงสูบ่อปลา
 ้                       ่
        3. มีแหล่งน ้าสาหรับการเปลี่ยนถ่ายน ้าได้ สะดวกพอสมควร

Slide 6
คาบรรยาย

               การสร้ างบ่อ ทาได้ 2 วิธีตามความเหมาะสมของสภาพพื ้นที่
               วิธีที่ 1 เตรียมบ่อเลี ้ยงขนาด กว้ าง 1.5 เมตร ยาว 4 เมตร ขุดดินออกเพื่อทาบ่อ ลึกประมาณ
50 เซนติเมตร
Slide 7
คาบรรยาย

              วิธีที่ 2 ทาการยกคันบ่อขึ ้นสูงจากพื ้นดินประมาณ 50 -60 เซนติเมตร แทนการขุดลงไปในดิน
โดยอาจจะก่อคันบ่อด้ วยกระสอบทราย

Slide 8
คาบรรยาย

          หลังจากขุดดินออกตามวิธีที่ 1 ทาการปรับแต่งพื ้นก้ นบ่อให้ เรียบสม่าเสมอกัน โดยใช้ ทรายปู
รองพื ้น เพื่อปองกันการรั่วซึม
               ้

Slide 9
คาบรรยาย

และทาการปรับแต่งดินบริเวณข้ างบ่อและขอบบ่อให้ เรียบ โดยให้ มีความลาดชันของขอบบ่อ 1                   :2

Slide 10
คาบรรยาย

        หลักจากปรับพื ้นที่ก้นบ่อและขอบบ่อเสร็จเรียบร้ อยแล้ ว นาพลาสติก           PVC ขนาดกว้ าง
3.5 เมตร ยาว 6 เมตร หนา 0.25 มิลลิเมตร ปูพื ้นบ่อที่ขดเตรียมไว้
                                                     ุ
        เวลาปูพลาสติกต้ องระมัดระวังอย่าให้ พลาสติกขาดหรือมีรอยรั่ว
Slide 11
คาบรรยาย

        เมื่อปูพลาสติกเสร็จเรียบร้ อยแล้ วจะเหลือพื ้นที่บ่อเลี ้ยงขนาดกว้ างประมาณ 1.5 เมตร
ยาว 4 เมตร ลึก 50 เมตร เป็ นพื ้นที่ประมาณ 6 ตารางเมตร

Slide 12
คาบรรยาย

        การเตรียมน ้า
         สาหรับน ้าที่จะนามาใส่บ่อเพื่อเลี ้ยงปลาสามารถใช้ น ้าจากบ่อบาดาล น ้าบ่อ น ้าในแหล่งน ้าลา
คลองได้ ทนที
          ั
         หรือถ้ าใช้ น ้าประปา ควรพักน ้าไว้ ในบ่อพลาสติกอย่างน้ อย 3 -5 วัน เพื่อให้ ฤทธิ์คลอรีนระเหย
หมดไปก่อนนาปลามาปล่อยลงเลี ้ยง

Slide 13
คาบรรยาย

               - ลูกปลาดุกบิ๊กอุยที่จะนามาเลี ้ยงควรมีขนาด 1.5 นิ ้ว ขึ ้นไป
       - ในช่วงฤดูหนาวไม่ควรนาประหลาดุกบิ๊กอุยมาเลี ้ยงเพราะปลาจะมีความต้ านทานต่อโรคต่า
ปลามักจะเป็ นโรคตายได้ ง่าย
       - ปล่อยลูกปลาในอัตรา 50           – 70 ตัวต่อตารางเมตร บ่อขนาด 6 ตารางเมตรปล่อยลูกปลา
จานวน 300 – 400 ตัว
Slide 14
คาบรรยาย

                 การปล่อยลูกปลาลงเลี ้ยงจะต้ องปรับสภาพอุณหภูมิของน ้าในถุงลูกปลา และน ้าในบ่อเลี ้ยงให้
เท่าๆกันก่อน โดยการแช่ถงบรรจุลกปลาในน ้าประมาณ 30 นาที จึงค่อยปล่อยลูกปลาลงบ่อ และเวลาที่เหมาะ
                          ุ      ู
ในการปล่อยลุกปลาควรเป็ นตอนเย็น หรือ ตอนเช้ า
         การปล่อยปลาลงเลี ้ยงในช่วงแรกปลายังมีขนาดเล็กอยู่ ให้ เติมน ้าลงบ่อให้ ระดับน ้าสูง
ประมาณ 10 เซนติเมตร แล้ วค่อยๆเพิ่มระดับน ้าขึ ้นเรื่อยๆทุกๆสัปดาห์ ประมาณ 5 เซนติเมตร / สัปดาห์ จนมี
ระดับน ้าสูงสุด 30 -50 เซนติเมตร

Slide 15
คาบรรยาย

        ปลาดุกไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างกะทันหัน เช่น ฝนตก ปลาก็อาจตายได้ ควรสร้ างหลังคา
บังแดด บังฝน บนบ่อปลาประมาณครึ่งหนึ่งของบ่อปลาอย่าปิ ดหมด
 คอยหมันสังเกตตัวปลา ว่ามีอาการผิดปกติหรือไม่ เช่น ลอยหัว เป็ นแผลข้ างลาตัว เพื่อจะได้ แก้ ไขได้
        ่
โดยเร็ว

Slide 16
คาบรรยาย

           - ในวันที่ปล่อยลูกปลาไม่จาเป็ นต้ องให้ อาหาร ควรเริ่มให้ อาหารในวันรุ่งขึ ้น
           - ให้ อาหารเม็ดประมาณ 3              – 7 % ของน ้าหนักตัวปลา
           - เริ่มแรกให้ อาหารเม็ดเล็ก หากปลาขนาดเล็กมากให้ บบอาหารพอแตก แล้ วให้ ปลากิน
                                                                   ุ
           - อาหารสดพวก เศษเนื ้อทุกชนิดสับให้ ปลากินได้
           - ตัวปลวก และแมลงต่างๆ นาไปโปรยให้ ปลากินได้ เลย
           - ควรให้ อาหาร 2 มื ้อ เช้ าและเย็น และควรให้ เป็ นเวลา หากให้ อาหารปลาโดยพร่าเพรื่อจะทา
ให้ เสียเงินค่าอาหารปลาโดยเปล่าประโยชน์ อาหารที่เหลือจะทาให้ น ้าในบ่อเน่าเสียเร็วขึ ้น
Slide 17
คาบรรยาย

         การถ่ายเทน ้าเมื่อน ้าเริ่มเสีย และสังเกตดูวาน ้าเริ่มมีกลิ่นเหม็น จึงเปลี่ยนถ่ายน ้า โดยปกติ
                                                     ่
จะต้ องเปลี่ยนถ่ายน ้า สัปดาห์ละครังขึ ้นอยู่กบการให้ อาหารด้ วย
                                       ้       ั
         การเปลี่ยนถ่ายน ้าไม่ควรถ่ายน ้าเก่าออกทังหมดควรเหลือน ้าเก่าไว้ 2 ใน 3 เพื่อให้ ปลามี
                                                       ้
ความคุ้นเคยกับน ้าเก่าอยู่บ้าง และอย่าทาให้ ปลาตกใจปลาจะไม่กินอาหาร
         การถ่ายน ้าควนทาหลังจากให้ อาหารไปแล้ วไม่น้อยกว่า 3 ชัวโมง มิฉะนันปลาจะคายอาหาร
                                                                        ่            ้
ออกหมด และหลังเปลี่ยนน ้าใหม่ ๆ ไม่ควรให้ อาหารทันที
         น ้าที่ถ่ายออกจากบ่อปลาสามารถนาไปรดพืชผักสวนครัวหรือต้ นพืชได้ ซึ่งน ้าที่ถ่ายออกจาก
บ่อปลานี ้จะมีธาตุอาหารสาหรับพืชสูงด้ วย

Slide 18
คาบรรยาย

        พื ้นที่รอบๆบริเวณบ่อเลี ้ยงปลา สามารถใช้ ประโยชน์ในการปลูก พืชผักสวนครัว เช่น พริก
มะเขือ ตะไคร้ กะเพรา โหระพา มะละกอ ชะอม บวบ ฯลฯ เพื่อเป็ นอาหารได้

Slide 19
คาบรรยาย
         นอกจากนี ้ การปลูกพืชรอบ ๆ บริเวณบ่อยังให้ ความร่มรื่น บริเวณบ่อเลี ้ยงปลาด้ วย

Slide 20
คาบรรยาย
         ต้ นทุนค่าใช้ จ่ายในการเลี ้ยงปลาในบ่อพลาสติก หลักๆจะมีอยู่ 3 รายการคือ
                 - ค่าพลาสติกปูพื ้นก้ นบ่อ เป็ นพลาสติก PVC ขนาด 3.5 x 6 เมตร ราคาประมาณ 500 บาท
                 - ค่าอาหารเม็ดเลี ้ยงปลานาน 90 วัน ใช้ ประมาณ 30 กิโลกรัม เป็ นเงินประมาณ 500 บาท
                 - และค่าพันธุ์ปลาดุก 500 ตัวๆละ 1 บาท เป็ นเงิน 500 บาท
                 รวมทังสิ ้น 1,500 บาท
                         ้
Slide 21
คาบรรยาย
 (ไม่มีคาบรรยาย)

Slide 22
คาบรรยาย

          - ปลาดุกที่เลี ้ยงในบ่อพลาสติก นาน 3 -4 เดือนจะได้ ปลาโตขนาดตัวละประมาณ 100 – 200 กรัม
 - ถ้ าอัตรารอดประมาณ 80              – 90 % จะได้ ผลผลิตปลาประมาณ 30 – 50 กิโลกรัม ต่อบ่อ ปลาดุก
กิโลกรัมละ 30 บาท จะมีรายได้ ประมาณ 900 – 1,500 บาท ต่อรุ่น
          - เกษตรกรเลี ้ยงปลา 1 รุ่น ก็จะคุ้มทุนค่าลงทุนสร้ างบ่อ ซึ่งบ่อจะมีอายุการใช้ งาน 3-5 ปี ดังนัน
                                                                                                        ้
เกษตรกรสามารถใช้ บ่อในการเลี ้ยงปลาต่อไปได้ อีกหลายรุ่น

Slide 23
คาบรรยาย

พลาสติกมีหลายชนิด พลาสติก               PVC จะมีอายุการใช้ งานนาน 3 – 5 ปี ขึ ้นอยู่กบการดูแลรักษา
                                                                                       ั
พลาสติกทัวไป หรือ พลาสติก
             ่                         PE จะมีอายุใช้ งานไม่เกิน 6 -12 เดือน ดังนัน จึงควรเลือกใช้ พลาสติก
                                                                                  ้
PVC เท่านัน้
เมื่อบ่อมีรอยรั่วหรือฉีกขาดเป็ นรู ทาการซ่อมแซมรอยรั่วของพลาสติก             PVC ได้ โดยใช้ เศษเนื ้อพลาสติก
ด้ านขอบๆบ่อติดกาวปะจุดที่ขาด โดยใช้ กาวติด PVC หรือกาวปะยางจักรยาน

Slide 24
คาบรรยาย

โรคของปลาดุกมักเกิดจากปั ญหาคุณภาพน ้าในบ่อเลี ้ยงไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากการให้ อาหารมากเกินไป
จนอาหารเหลือเน่าเสีย เพราะปลาดุกมีนิสยกินอาหารที่ให้ ใหม่แล้ วสารอกอาหารเก่าทิ ้ง
                                       ั
ควรมีการเปลี่ยนถ่ายน ้าจากระดับก้ นบ่ออย่างสม่าเสมอในปริมาณ 20 -30           % ของน ้าในบ่อแล้ วนาน ้าที่
พักไว้ เติมลงไปให้ ได้ ระดับเดิม
Slide 25
คาบรรยาย

 เมื่อปลาเป็ นโรคแล้ วจะรักษาให้ หายได้ ยากและสิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่าย ดังนันวิธีที่ดีที่สดจึงควรปองกัน
                                                                          ้             ุ       ้
ไม่ให้ เกิดโรค โดยวิธีตางๆดังนี ้
                       ่
  1. ควรเตรียมบ่อและน ้าตามวิธีที่เหมาะสมก่อนการปล่อยลูกปลา
  2. ซื ้อพันธุ์ปลาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ ลูกปลาแข็งแรงปราศจากโรค
  3. ไม่ควรปล่อยลูกปลาลงเลี ้ยงหนาแน่นเกินไป

Slide 26
คาบรรยาย

 4. ควรหมันตรวจอาการของปลาอย่างสม่าเสมอ ถ้ าเห็นผิดปกติต้องรีบหาสาเหตุและแก้ ไข
            ่
โดยเร็ว
 5. เปลี่ยนถ่ายน ้าจากระดับก้ นบ่ออย่างสม่าเสมอ โดยเปลี่ยนถ่ายน ้าเก่าออกปริมาณ
20 – 30 % ของน ้าในบ่อ และนาน ้าที่พกไว้ เติมลงไปให้ ได้ ระดับเดิม
                                      ั
 6. อย่าให้ อาหารจนเหลือ ให้ ปริมาณพอดีในแต่ละมื ้อ และระวังอย่าให้ อาหารตกค้ างในบ่อ

Slide 27
คาบรรยาย

โรคที่เกิดกับปลาดุกมีอาการจากสาเหตุใหญ่ๆ 4 ประการ คือ
 1. อาการติดเชื ้อแบคทีเรีย                 อาการที่พบคือปลาจะตกเลือด มีแผลตามตัว ครีบกร่อน ตาขุน
                                                                                                ่
หนวดหงิก กกหูบวม ท้ องบวม กินอาหารน้ อย ลอยตัว
 2. อาการจากปรสิตเข้ าเกาะตัวปลา                     อาการที่พบคือ จะมีเมือกออกมาก มีแผลตามตัว ตกเลือด
ครีบเปื่ อย มีจดขาวตามตัว ตัวซีด หรือเข้ มผิดปกติ ทุรนทุราย ว่ายน ้าไม่ตรง หรอควงสว่าน
               ุ
Slide 28
คาบรรยาย

   3. อาการจากอาหารมีคณภาพไม่เหมาะสม การขาดวิตามินซีจะทาให้ ปลามีอาการกะโหลก
                         ุ
ร้ าวตกเลือดใต้ คาง ลาตัวคด กินอาหารน้ อย หากขาดวิตามินบี จะทาให้ ปลาว่ายน ้าตัวเกร็งและชักกระตุก
   4. อาการจากคุณภาพน ้าในบ่อไม่ดี               ปลามักจะว่านน ้าขึ ้นลงเร็วผิดปกติ ลอยหัว ครีบกร่อย
เปื่ อย หนวดหงิก เหงือกซีดและบวม ลาตัวซีด ไม่กินอาหาร

Slide 29
คาบรรยาย

           โรคเห็บระฆัง เกิดจากเชื ้อโปรโตซัว Trichodina sp.
           เป็ นปรสิตเซลเดียวรูปร่างกลมๆคล้ ายระฆังคว่า ปลาที่ถกเห็บชนิดนี ้เกาะอยู่จานวนมากจะทาให้
                                                                 ู
ผิวหนังเกิดบาดแผล ปลาจึงขับเมือกสีขาวขุนออกมามากคลุมตัวอยู่ การปองกัน คือตรวจปลาก่อนที่จะนามา
                                              ่                          ้
เลี ้ยงว่ามีปรสิตชนิดนี ้ติดมาด้ วยหรือไม่ ควรขังไว้ ประมาณ 2 -3 วัน จนแน่ใจจึงปล่อยลงเลี ้ยง

Slide 30
คาบรรยาย

                  โรคตัวด่ าง เกิดจากเชื ้อแบคทีเรีย Flexibacter colmnaris
         อาการ จะมีรอยด่างขาวตามลาตัวโรคนี ้มักเกิดหลังจากการลาเลียงขนลังปลา หรือ ช่วงที่
อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงจากสูงไปต่า ปลาดุกที่เป็ นโรคนี ้จะตายเป็ นจานวนมากอย่างรวดเร็ว
วิธีปองกันจะดีที่สด โดยปรับปรุงสภาพบ่อให้ เหมาะสม เช่น เพิ่มปริมาณออกซิเจน และลดอินทรีย์สารในบ่อลง
     ้             ุ
Slide 31
คาบรรยาย

        โรคท้ องบวม เกิดจากเชื ้อแบคทีเรีย Pseudomonas sp.
        อาการ ของโรคนี ้ท้ องจะบวมมาก และผิวหนังมีรอยช ้าตกเลือด
วิธีปองกัน ไม่ควรปล่อยปลาปริมาณหนาแน่นเกินไป และควรให้ อาหารอย่างเหมาะสม
     ้

Slide 32
คาบรรยาย

         โรคโมไทล์ แอโรโมแนส เกิดจากเชื ้อแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila
         อาการ ปลาที่เป็ นโรคนี ้จะว่ายน ้าเชื่องช้ าลง ว่ายมาออกันตรงผิวน ้า การทรงตัวไม่ดี มีแผลตามตัว มี
เลือดซึมออกมาจากแผล ครีบกร่อน
 วิธีปองกันโรค เช่นเดียวกับที่เกิดจากเชื ้อแบคทีเรียตัวอื่นๆ
      ้

Slide 33
คาบรรยาย

          โรคพยาธิปลิงใส เกิดจากพยาธิตวแบน Gyrodactylus sp.
                                        ั
 อาการ ปลาที่มีพยาธิชนิดนี ้มาเกาะจะทาให้ ปลามีอาการว่ายน ้าทุรนทุราย ลอยตัวผิวน ้า กระพุ้งแก้ ม
ปิ ดเปิ ดเร็วกว่าปกติ มีแผลขนาดเล็กกระจายทัวตัว ถ้ าเป็ นรุนแรงจะมองห็นเหมือนกับว่าปลามีขนสีขาวสันๆอยู่
                                           ่                                                     ้
ตามลาตัว

Slide 34
คาบรรยาย
                (ไม่มีคาบรรยาย)

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Howto

คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11melody_fai
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 
Coral reef-bleaching
Coral reef-bleachingCoral reef-bleaching
Coral reef-bleachingfirstyuppedu
 
โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}
โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}
โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}firstyuppedu
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaRn Tik Tok
 

Semelhante a Howto (11)

งานพี่มอส
งานพี่มอสงานพี่มอส
งานพี่มอส
 
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Coral reef-bleaching
Coral reef-bleachingCoral reef-bleaching
Coral reef-bleaching
 
โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}
โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}
โครงงานปะการังฟอกขาว (Coral Reef Bleaching){Test}
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 

Mais de juckit009

เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวกjuckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2juckit009
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1juckit009
 
ปลูกผัก
ปลูกผักปลูกผัก
ปลูกผักjuckit009
 
ปลูกผัก
ปลูกผักปลูกผัก
ปลูกผักjuckit009
 

Mais de juckit009 (13)

เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3
 
แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1
 
ปลูกผัก
ปลูกผักปลูกผัก
ปลูกผัก
 
ปลูกผัก
ปลูกผักปลูกผัก
ปลูกผัก
 

Howto

  • 1. Slide 1 คาบรรยาย เกษตรกรรายย่อยที่อยู่ในพื ้นที่ห่างไกลและขาดแคลนน ้า หรือในเขตพื ้นที่สง ฐานะยากจนมักประสบ ู ปั ญหาขาดแคลนอาหารโปรตีน ดังนันการเลี ้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อพลาสติก เป็ นทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมและ ้ พัฒนาครอบครัวที่ยากจนไม่ให้ ขาดแคลนอาหารโปรตีน ในปั จจุบนปลาดุกบิ๊กอุยเป็ นที่นิยมเลี ้ยงของเกษตรกรเนื่องจากเลี ้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว อีกทังยัง ั ้ ทนทานต่อโรคและสภาพแวดล้ อม เป็ นที่นิยมบริโภคของประชาชนเนื่องจากรสชาติดี และราคาไม่แพง Slide 2 คาบรรยาย การเลี ้ยงปลาดุก สามารถเลี ้ยงได้ ทงในบ่อดิน บ่อซีเมนต์ และบ่อพลาสติก ถ้ ามีพื ้นที่จากัด การเลี ้ยงใน ั้ บ่อพลาสติกก็เป็ นทางออกที่ดี และประหยัด โดยที่ในบ่อพลาสติกจะมีอายุการใช้ งานประมาณ 3-5 ปี Slide 3 คาบรรยาย สาหรับวัตถุประสงค์ของการเลี ้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติกก็เพื่อ 1. เป็ นการส่งเสริมให้ ประชาชนลดรายจ่ายในครัวเรือน โดยการเลี ้ยงปลา เพื่อเป็ นอาหาร บริโภคเอง 2. เป็ นการส่งเสริมและสนับสนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 3. เป็ นการพัฒนาอาชีพการลี ้ยงปลาแบบพอเพียงไปสูระบบการเลี ้ยงปลาเชิงพาณิชย์ ่ 4. ให้ มีอาหารโปรตีนจากปลาบริโภคในครัวเรือนและในชุมชน
  • 2. Slide 4 คาบรรยาย ข้ อดีของการเลี ้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อพลาสติกมีอยู่หลายประการด้ วยกันได้ แก่ 1. ใช้ พื ้นที่เลี ้ยงน้ อย และสามารถเลี ้ยงได้ ทกพื ้นที่ ุ 2. การก่อสร้ างบ่อเลี ้ยงง่าย สะดวกและรวดเร็ว 3. ใช้ ระยะเวลาในการเลี ้ยงสัน แต่ละรุ่นใช้ เวลาเลี ้ยงเพียง 90 ้ – 120 วัน 4. ปลาดุกเป็ นปลาที่อดทนต่อสภาพน ้าได้ ดี 5. ปลาดุกสามารถเลี ้ยงและดูแลรักษาได้ สะดวก นอกจากจับมาบริโภคในครัวเรือนแล้ ว ส่วนที่ เหลือก็นาไป ขายเป็ นรายได้ เสริมให้ กบครอบครัว ั Slide 5 คาบรรยาย การเลือกสถานที่สร้ างบ่อ ควรจะพิจารณาถึงปั จจัยต่างๆดังนี ้ 1. บ่อควรอยู่ใกล้ บ้าน หรือที่ที่สามารถดูแลได้ สะดวก 2. ควรอยู่ในที่ร่ม หรือมีหลังคาเพราะปลาดุกเป็ นปลาที่ไม่ชอบแสงแดดจัด และหลังคาจะช่วย ปองกันเศษใบไม้ ร่วงลงสูบ่อปลา ้ ่ 3. มีแหล่งน ้าสาหรับการเปลี่ยนถ่ายน ้าได้ สะดวกพอสมควร Slide 6 คาบรรยาย การสร้ างบ่อ ทาได้ 2 วิธีตามความเหมาะสมของสภาพพื ้นที่ วิธีที่ 1 เตรียมบ่อเลี ้ยงขนาด กว้ าง 1.5 เมตร ยาว 4 เมตร ขุดดินออกเพื่อทาบ่อ ลึกประมาณ 50 เซนติเมตร
  • 3. Slide 7 คาบรรยาย วิธีที่ 2 ทาการยกคันบ่อขึ ้นสูงจากพื ้นดินประมาณ 50 -60 เซนติเมตร แทนการขุดลงไปในดิน โดยอาจจะก่อคันบ่อด้ วยกระสอบทราย Slide 8 คาบรรยาย หลังจากขุดดินออกตามวิธีที่ 1 ทาการปรับแต่งพื ้นก้ นบ่อให้ เรียบสม่าเสมอกัน โดยใช้ ทรายปู รองพื ้น เพื่อปองกันการรั่วซึม ้ Slide 9 คาบรรยาย และทาการปรับแต่งดินบริเวณข้ างบ่อและขอบบ่อให้ เรียบ โดยให้ มีความลาดชันของขอบบ่อ 1 :2 Slide 10 คาบรรยาย หลักจากปรับพื ้นที่ก้นบ่อและขอบบ่อเสร็จเรียบร้ อยแล้ ว นาพลาสติก PVC ขนาดกว้ าง 3.5 เมตร ยาว 6 เมตร หนา 0.25 มิลลิเมตร ปูพื ้นบ่อที่ขดเตรียมไว้ ุ เวลาปูพลาสติกต้ องระมัดระวังอย่าให้ พลาสติกขาดหรือมีรอยรั่ว
  • 4. Slide 11 คาบรรยาย เมื่อปูพลาสติกเสร็จเรียบร้ อยแล้ วจะเหลือพื ้นที่บ่อเลี ้ยงขนาดกว้ างประมาณ 1.5 เมตร ยาว 4 เมตร ลึก 50 เมตร เป็ นพื ้นที่ประมาณ 6 ตารางเมตร Slide 12 คาบรรยาย การเตรียมน ้า สาหรับน ้าที่จะนามาใส่บ่อเพื่อเลี ้ยงปลาสามารถใช้ น ้าจากบ่อบาดาล น ้าบ่อ น ้าในแหล่งน ้าลา คลองได้ ทนที ั หรือถ้ าใช้ น ้าประปา ควรพักน ้าไว้ ในบ่อพลาสติกอย่างน้ อย 3 -5 วัน เพื่อให้ ฤทธิ์คลอรีนระเหย หมดไปก่อนนาปลามาปล่อยลงเลี ้ยง Slide 13 คาบรรยาย - ลูกปลาดุกบิ๊กอุยที่จะนามาเลี ้ยงควรมีขนาด 1.5 นิ ้ว ขึ ้นไป - ในช่วงฤดูหนาวไม่ควรนาประหลาดุกบิ๊กอุยมาเลี ้ยงเพราะปลาจะมีความต้ านทานต่อโรคต่า ปลามักจะเป็ นโรคตายได้ ง่าย - ปล่อยลูกปลาในอัตรา 50 – 70 ตัวต่อตารางเมตร บ่อขนาด 6 ตารางเมตรปล่อยลูกปลา จานวน 300 – 400 ตัว
  • 5. Slide 14 คาบรรยาย การปล่อยลูกปลาลงเลี ้ยงจะต้ องปรับสภาพอุณหภูมิของน ้าในถุงลูกปลา และน ้าในบ่อเลี ้ยงให้ เท่าๆกันก่อน โดยการแช่ถงบรรจุลกปลาในน ้าประมาณ 30 นาที จึงค่อยปล่อยลูกปลาลงบ่อ และเวลาที่เหมาะ ุ ู ในการปล่อยลุกปลาควรเป็ นตอนเย็น หรือ ตอนเช้ า การปล่อยปลาลงเลี ้ยงในช่วงแรกปลายังมีขนาดเล็กอยู่ ให้ เติมน ้าลงบ่อให้ ระดับน ้าสูง ประมาณ 10 เซนติเมตร แล้ วค่อยๆเพิ่มระดับน ้าขึ ้นเรื่อยๆทุกๆสัปดาห์ ประมาณ 5 เซนติเมตร / สัปดาห์ จนมี ระดับน ้าสูงสุด 30 -50 เซนติเมตร Slide 15 คาบรรยาย ปลาดุกไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างกะทันหัน เช่น ฝนตก ปลาก็อาจตายได้ ควรสร้ างหลังคา บังแดด บังฝน บนบ่อปลาประมาณครึ่งหนึ่งของบ่อปลาอย่าปิ ดหมด คอยหมันสังเกตตัวปลา ว่ามีอาการผิดปกติหรือไม่ เช่น ลอยหัว เป็ นแผลข้ างลาตัว เพื่อจะได้ แก้ ไขได้ ่ โดยเร็ว Slide 16 คาบรรยาย - ในวันที่ปล่อยลูกปลาไม่จาเป็ นต้ องให้ อาหาร ควรเริ่มให้ อาหารในวันรุ่งขึ ้น - ให้ อาหารเม็ดประมาณ 3 – 7 % ของน ้าหนักตัวปลา - เริ่มแรกให้ อาหารเม็ดเล็ก หากปลาขนาดเล็กมากให้ บบอาหารพอแตก แล้ วให้ ปลากิน ุ - อาหารสดพวก เศษเนื ้อทุกชนิดสับให้ ปลากินได้ - ตัวปลวก และแมลงต่างๆ นาไปโปรยให้ ปลากินได้ เลย - ควรให้ อาหาร 2 มื ้อ เช้ าและเย็น และควรให้ เป็ นเวลา หากให้ อาหารปลาโดยพร่าเพรื่อจะทา ให้ เสียเงินค่าอาหารปลาโดยเปล่าประโยชน์ อาหารที่เหลือจะทาให้ น ้าในบ่อเน่าเสียเร็วขึ ้น
  • 6. Slide 17 คาบรรยาย การถ่ายเทน ้าเมื่อน ้าเริ่มเสีย และสังเกตดูวาน ้าเริ่มมีกลิ่นเหม็น จึงเปลี่ยนถ่ายน ้า โดยปกติ ่ จะต้ องเปลี่ยนถ่ายน ้า สัปดาห์ละครังขึ ้นอยู่กบการให้ อาหารด้ วย ้ ั การเปลี่ยนถ่ายน ้าไม่ควรถ่ายน ้าเก่าออกทังหมดควรเหลือน ้าเก่าไว้ 2 ใน 3 เพื่อให้ ปลามี ้ ความคุ้นเคยกับน ้าเก่าอยู่บ้าง และอย่าทาให้ ปลาตกใจปลาจะไม่กินอาหาร การถ่ายน ้าควนทาหลังจากให้ อาหารไปแล้ วไม่น้อยกว่า 3 ชัวโมง มิฉะนันปลาจะคายอาหาร ่ ้ ออกหมด และหลังเปลี่ยนน ้าใหม่ ๆ ไม่ควรให้ อาหารทันที น ้าที่ถ่ายออกจากบ่อปลาสามารถนาไปรดพืชผักสวนครัวหรือต้ นพืชได้ ซึ่งน ้าที่ถ่ายออกจาก บ่อปลานี ้จะมีธาตุอาหารสาหรับพืชสูงด้ วย Slide 18 คาบรรยาย พื ้นที่รอบๆบริเวณบ่อเลี ้ยงปลา สามารถใช้ ประโยชน์ในการปลูก พืชผักสวนครัว เช่น พริก มะเขือ ตะไคร้ กะเพรา โหระพา มะละกอ ชะอม บวบ ฯลฯ เพื่อเป็ นอาหารได้ Slide 19 คาบรรยาย นอกจากนี ้ การปลูกพืชรอบ ๆ บริเวณบ่อยังให้ ความร่มรื่น บริเวณบ่อเลี ้ยงปลาด้ วย Slide 20 คาบรรยาย ต้ นทุนค่าใช้ จ่ายในการเลี ้ยงปลาในบ่อพลาสติก หลักๆจะมีอยู่ 3 รายการคือ - ค่าพลาสติกปูพื ้นก้ นบ่อ เป็ นพลาสติก PVC ขนาด 3.5 x 6 เมตร ราคาประมาณ 500 บาท - ค่าอาหารเม็ดเลี ้ยงปลานาน 90 วัน ใช้ ประมาณ 30 กิโลกรัม เป็ นเงินประมาณ 500 บาท - และค่าพันธุ์ปลาดุก 500 ตัวๆละ 1 บาท เป็ นเงิน 500 บาท รวมทังสิ ้น 1,500 บาท ้
  • 7. Slide 21 คาบรรยาย (ไม่มีคาบรรยาย) Slide 22 คาบรรยาย - ปลาดุกที่เลี ้ยงในบ่อพลาสติก นาน 3 -4 เดือนจะได้ ปลาโตขนาดตัวละประมาณ 100 – 200 กรัม - ถ้ าอัตรารอดประมาณ 80 – 90 % จะได้ ผลผลิตปลาประมาณ 30 – 50 กิโลกรัม ต่อบ่อ ปลาดุก กิโลกรัมละ 30 บาท จะมีรายได้ ประมาณ 900 – 1,500 บาท ต่อรุ่น - เกษตรกรเลี ้ยงปลา 1 รุ่น ก็จะคุ้มทุนค่าลงทุนสร้ างบ่อ ซึ่งบ่อจะมีอายุการใช้ งาน 3-5 ปี ดังนัน ้ เกษตรกรสามารถใช้ บ่อในการเลี ้ยงปลาต่อไปได้ อีกหลายรุ่น Slide 23 คาบรรยาย พลาสติกมีหลายชนิด พลาสติก PVC จะมีอายุการใช้ งานนาน 3 – 5 ปี ขึ ้นอยู่กบการดูแลรักษา ั พลาสติกทัวไป หรือ พลาสติก ่ PE จะมีอายุใช้ งานไม่เกิน 6 -12 เดือน ดังนัน จึงควรเลือกใช้ พลาสติก ้ PVC เท่านัน้ เมื่อบ่อมีรอยรั่วหรือฉีกขาดเป็ นรู ทาการซ่อมแซมรอยรั่วของพลาสติก PVC ได้ โดยใช้ เศษเนื ้อพลาสติก ด้ านขอบๆบ่อติดกาวปะจุดที่ขาด โดยใช้ กาวติด PVC หรือกาวปะยางจักรยาน Slide 24 คาบรรยาย โรคของปลาดุกมักเกิดจากปั ญหาคุณภาพน ้าในบ่อเลี ้ยงไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากการให้ อาหารมากเกินไป จนอาหารเหลือเน่าเสีย เพราะปลาดุกมีนิสยกินอาหารที่ให้ ใหม่แล้ วสารอกอาหารเก่าทิ ้ง ั ควรมีการเปลี่ยนถ่ายน ้าจากระดับก้ นบ่ออย่างสม่าเสมอในปริมาณ 20 -30 % ของน ้าในบ่อแล้ วนาน ้าที่ พักไว้ เติมลงไปให้ ได้ ระดับเดิม
  • 8. Slide 25 คาบรรยาย เมื่อปลาเป็ นโรคแล้ วจะรักษาให้ หายได้ ยากและสิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่าย ดังนันวิธีที่ดีที่สดจึงควรปองกัน ้ ุ ้ ไม่ให้ เกิดโรค โดยวิธีตางๆดังนี ้ ่ 1. ควรเตรียมบ่อและน ้าตามวิธีที่เหมาะสมก่อนการปล่อยลูกปลา 2. ซื ้อพันธุ์ปลาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ ลูกปลาแข็งแรงปราศจากโรค 3. ไม่ควรปล่อยลูกปลาลงเลี ้ยงหนาแน่นเกินไป Slide 26 คาบรรยาย 4. ควรหมันตรวจอาการของปลาอย่างสม่าเสมอ ถ้ าเห็นผิดปกติต้องรีบหาสาเหตุและแก้ ไข ่ โดยเร็ว 5. เปลี่ยนถ่ายน ้าจากระดับก้ นบ่ออย่างสม่าเสมอ โดยเปลี่ยนถ่ายน ้าเก่าออกปริมาณ 20 – 30 % ของน ้าในบ่อ และนาน ้าที่พกไว้ เติมลงไปให้ ได้ ระดับเดิม ั 6. อย่าให้ อาหารจนเหลือ ให้ ปริมาณพอดีในแต่ละมื ้อ และระวังอย่าให้ อาหารตกค้ างในบ่อ Slide 27 คาบรรยาย โรคที่เกิดกับปลาดุกมีอาการจากสาเหตุใหญ่ๆ 4 ประการ คือ 1. อาการติดเชื ้อแบคทีเรีย อาการที่พบคือปลาจะตกเลือด มีแผลตามตัว ครีบกร่อน ตาขุน ่ หนวดหงิก กกหูบวม ท้ องบวม กินอาหารน้ อย ลอยตัว 2. อาการจากปรสิตเข้ าเกาะตัวปลา อาการที่พบคือ จะมีเมือกออกมาก มีแผลตามตัว ตกเลือด ครีบเปื่ อย มีจดขาวตามตัว ตัวซีด หรือเข้ มผิดปกติ ทุรนทุราย ว่ายน ้าไม่ตรง หรอควงสว่าน ุ
  • 9. Slide 28 คาบรรยาย 3. อาการจากอาหารมีคณภาพไม่เหมาะสม การขาดวิตามินซีจะทาให้ ปลามีอาการกะโหลก ุ ร้ าวตกเลือดใต้ คาง ลาตัวคด กินอาหารน้ อย หากขาดวิตามินบี จะทาให้ ปลาว่ายน ้าตัวเกร็งและชักกระตุก 4. อาการจากคุณภาพน ้าในบ่อไม่ดี ปลามักจะว่านน ้าขึ ้นลงเร็วผิดปกติ ลอยหัว ครีบกร่อย เปื่ อย หนวดหงิก เหงือกซีดและบวม ลาตัวซีด ไม่กินอาหาร Slide 29 คาบรรยาย โรคเห็บระฆัง เกิดจากเชื ้อโปรโตซัว Trichodina sp. เป็ นปรสิตเซลเดียวรูปร่างกลมๆคล้ ายระฆังคว่า ปลาที่ถกเห็บชนิดนี ้เกาะอยู่จานวนมากจะทาให้ ู ผิวหนังเกิดบาดแผล ปลาจึงขับเมือกสีขาวขุนออกมามากคลุมตัวอยู่ การปองกัน คือตรวจปลาก่อนที่จะนามา ่ ้ เลี ้ยงว่ามีปรสิตชนิดนี ้ติดมาด้ วยหรือไม่ ควรขังไว้ ประมาณ 2 -3 วัน จนแน่ใจจึงปล่อยลงเลี ้ยง Slide 30 คาบรรยาย โรคตัวด่ าง เกิดจากเชื ้อแบคทีเรีย Flexibacter colmnaris อาการ จะมีรอยด่างขาวตามลาตัวโรคนี ้มักเกิดหลังจากการลาเลียงขนลังปลา หรือ ช่วงที่ อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงจากสูงไปต่า ปลาดุกที่เป็ นโรคนี ้จะตายเป็ นจานวนมากอย่างรวดเร็ว วิธีปองกันจะดีที่สด โดยปรับปรุงสภาพบ่อให้ เหมาะสม เช่น เพิ่มปริมาณออกซิเจน และลดอินทรีย์สารในบ่อลง ้ ุ
  • 10. Slide 31 คาบรรยาย โรคท้ องบวม เกิดจากเชื ้อแบคทีเรีย Pseudomonas sp. อาการ ของโรคนี ้ท้ องจะบวมมาก และผิวหนังมีรอยช ้าตกเลือด วิธีปองกัน ไม่ควรปล่อยปลาปริมาณหนาแน่นเกินไป และควรให้ อาหารอย่างเหมาะสม ้ Slide 32 คาบรรยาย โรคโมไทล์ แอโรโมแนส เกิดจากเชื ้อแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila อาการ ปลาที่เป็ นโรคนี ้จะว่ายน ้าเชื่องช้ าลง ว่ายมาออกันตรงผิวน ้า การทรงตัวไม่ดี มีแผลตามตัว มี เลือดซึมออกมาจากแผล ครีบกร่อน วิธีปองกันโรค เช่นเดียวกับที่เกิดจากเชื ้อแบคทีเรียตัวอื่นๆ ้ Slide 33 คาบรรยาย โรคพยาธิปลิงใส เกิดจากพยาธิตวแบน Gyrodactylus sp. ั อาการ ปลาที่มีพยาธิชนิดนี ้มาเกาะจะทาให้ ปลามีอาการว่ายน ้าทุรนทุราย ลอยตัวผิวน ้า กระพุ้งแก้ ม ปิ ดเปิ ดเร็วกว่าปกติ มีแผลขนาดเล็กกระจายทัวตัว ถ้ าเป็ นรุนแรงจะมองห็นเหมือนกับว่าปลามีขนสีขาวสันๆอยู่ ่ ้ ตามลาตัว Slide 34 คาบรรยาย (ไม่มีคาบรรยาย)